ม.พ น.27 พล.ม.2 รอ ร อยเช อกรองเท า

- การคัดกรองพัฒนาการเด็ก หมายถึง ความครอบคลุมของการคัดกรองเด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน ณ ช่วงเวลาที่มีการคัดกรองโดยเป็นเด็กในพื้นที่ (Type1 มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ตัวอยู่จริงและType3 ที่อาศัยอยู่ในเขต แต่ทะเบียนบ้านอยู่นอกเขต)

- เด็กพัฒนาการสงสัยล่าช้า หมายถึง เด็กที่ได้รับตรวจคัดกรองพัฒนาการโดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(DSPM)และผลการตรวจคัดกรองพัฒนาการตามอายุของเด็กในการประเมินพัฒนาการครั้งแรกผ่านไม่ครบ 5ด้าน ทั้งเด็กที่ต้องแนะนำให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง ส่งเสริมพัฒนาการตามวัย 30 วัน (1B261) รวมกับเด็กที่สงสัยล่าช้า ส่งต่อทันที(1B262) (เด็กที่พัฒนาการล่าช้า/ความผิดปกติอย่างชัดเจน)

- เด็กพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการติดตาม หมายถึง เด็กที่ได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการตามอายุของเด็กในการประเมินพัฒนาการครั้งแรกผ่านไม่ครบ 5 ด้าน เฉพาะกลุ่มที่แนะนำให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง ส่งเสริมพัฒนาการตามวัย 30 วัน (1B261) แล้วติดตามกลับมาประเมินคัดกรองพัฒนาการครั้งที่ 2

- เด็กพัฒนาการสมวัย หมายถึง เด็กที่ได้รับตรวจคัดกรองพัฒนาการโดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(DSPM) แล้วผลการตรวจคัดกรอง ผ่านครบ 5 ด้าน ในการตรวจคัดกรองพัฒนาการครั้งแรก รวมกับเด็กที่พบพัฒนาการสงสัยล่าช้าและได้รับการติดตามให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ และประเมินซ้ำแล้วผลการประเมิน ผ่านครบ 5 ด้านภายใน 30 วัน(1B260)

- เด็กพัฒนาการล่าช้า หมายถึง เด็กที่ได้รับตรวจคัดกรองพัฒนาการโดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(DSPM) แล้วผลการตรวจคัดกรอง ไม่ผ่านครบ 5 ด้าน ในการตรวจคัดกรองพัฒนาการครั้งแรกและครั้งที่ 2 (1B202, 1B212, 1B222, 1B232, 1B242)

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ หน่วยของค่า Aคน นิยามของค่า Aจำนวนเด็ก 9, 18, 30 และ 42 เดือน ที่ได้รับตรวจคัดกรองพัฒนาการโดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(DSPM) แล้วผลการตรวจคัดกรอง ผ่านครบ 5 ด้าน ในการตรวจคัดกรองพัฒนาการครั้งแรก รวมกับเด็กที่พบพัฒนาการสงสัยล่าช้าและได้รับการติดตามให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ และประเมินซ้ำแล้วผลการประเมิน ผ่านครบ 5 ด้านภายใน 30 วัน(1B260) หน่วยของค่า Bคน นิยามของค่า Bจำนวนเด็กอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน ทั้งหมดในเขตรับผิดชอบที่ได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการจริง ในช่วงเวลาที่กำหนด หน่วยของค่า C นิยามของค่า C หน่วยของค่า D นิยามของค่า D หน่วยของค่า E นิยามของค่า E หน่วยของค่า F นิยามของค่า F สูตรคำนวนตัวชี้วัด((A+B)/C)*100 Operator>= เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 85 ของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ประชากรกลุ่มเป้าหมายเด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน ทั้งหมดในเขตรับผิดชอบที่ได้จากการสำรวจและมีเด็กอยู่จริง ค่าเป้าหมาย85.00 Max Value100.00 วิธีการจัดเก็บข้อมูล

สถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ นำข้อมูลการการประเมินพัฒนาการเด็ก บันทึกในโปรแกรมหลักของสถานบริการฯ เช่น JHCIS HosXP PCU เป็นต้น และส่งออกข้อมูลตามโครงสร้างมาตรฐาน 43 แฟ้ม

แหล่งข้อมูล

สถานบริการสาธารณสุขทุกแห่ง/ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงไม่ ตัวชี้วัดระดับเขตไม่ ตัวชี้วัดระดับจังหวัดใช่ ตัวชี้วัดสำคัญไม่ ตัวชี้วัด Area Baseไม่ Tags43 แฟ้ม ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 1, 2, 3 และ 4 (ไม่สะสม) ข้อมูล Baseline

ตัวชี้วัด

Baseline

data*

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2558

2559

2560

1.ร้อยละของเด็กอายุ 9,18, 30 และ 42 เดือน ที่ได้รับการคัดกรองพัฒนาการเด็ก (ความครอบคลุม) *(HDC 2560)

80.5

ร้อยละ

ไม่มีข้อมูล

ไม่มีข้อมูล

80.5

2.ร้อยละเด็กที่ได้รับการคัดกรองพัฒนาการและพบพัฒนาการสงสัยล่าช้า **(HDC 2560)

16.0

ร้อยละ

ไม่มีข้อมูล

12.0

16.0

3. ร้อยละของเด็กที่ได้รับการคัดกรองพัฒนาการพบพัฒนาการสงสัยล่าช้า และได้รับการติดตาม*(HDC 2560)

73.3

ร้อยละ

ไม่มีข้อมูล

57.0

73.3

4.ร้อยละของเด็กอายุ 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย*(HDC 2560)

95.8

ร้อยละ

ไม่มีข้อมูล

90.6

95.8

*ผลงาน HDC ตค 2559 – กย 2560 ณ. 12 พย.2560

หมายเหตุ : การตั้งค่าเป้าหมายปี 2561 ที่ร้อยละ 85 คิดจากข้อมูลทางวิชาการ พบว่า

1. เด็กที่มีโรคพัฒนาการล่าช้า (Developmental Disabilities) มีค่าประมาณอยู่ที่ ร้อยละ 3.5 - 24.0 (โดยเฉพาะประเทศสหรัฐอเมริกาพบที่ร้อยละ 13.9 และประเทศอิสราเอลพบที่ร้อยละ 8.9 )

2. มีรายงานการพบเด็กที่มีโรคพัฒนาการล่าช้า (Developmental Disabilities) เพิ่มขึ้นในระยะเวลา 12 ปี (1997-2008) ประเทศสหรัฐอเมริกาพบเพิ่มขึ้น ร้อยละ 17.1 ประเทศไต้หวันพบเพิ่มขึ้น ร้อยละ 20.0

ดังนั้นการตั้งค่าเป้าหมายเด็กที่มีพัฒนาการสมวัยที่ ร้อยละ 85 จึงเป็นค่าเฉลี่ยที่อ้างอิงจากข้อมูลดังกล่าว

เกณฑ์การประเมินผล

กำหนดค่าเป้าหมายที่จะทำให้สำเร็จ 4 ตัวชี้วัด ดังนี้

ตัวชึ้วัด : ร้อยละของเด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน ที่ได้รับการคัดกรองพัฒนาการพบพัฒนาการสงสัยล่าช้า (ตรวจครั้งแรก) และได้รับการติดตาม ภายใน 30 วัน ไม่น้อยกว่า

เผยแพร่: 29 ม.ค. 2553 13:20 โดย: MGR Online

ศูนย์ข่าวนครราชสีมา- กำลังพลกองทัพภาคที่ 2 และหน่วยขึ้นตรง แห่ตบเท้าแสดงพลังป้องสถาบันกองทัพพร้อมกันถึง 4 หน่วยหลัก รวมทั้งให้กำลังใจ “อนุพงษ์” ผบ.ทบ.และไม่เห็นด้วยกับทหารนอกแถว ไร้วินัยไม่เคารพผู้บังคับบัญชาสร้างความแตกแยกทำกองทัพเสื่อมเสีย ตะเพิด “เสธ.แดง” หยุดพฤติกรรมถ่อยเถื่อนทันที ลั่นยืนหยัดรักษาเกียรติทหารหาญปกป้องชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ตราบชีวิตหาไม่

วันนี้ (29 ม.ค.) ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ที่ จ.นครราชสีมา กำลังพลสังกัดกองทัพภาคที่ 2 และหน่วยขึ้นตรง ได้พร้อมใจกันรวมพลแสดงพลังปกป้องสถาบันกองทัพบก พร้อมให้กำลังใจ พล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา ผู้บัญชาการทหารบก (ผบ.ทบ.) และไม่เห็นด้วยกับทหารบางคนที่ไม่เคารพผู้บังคับบัญชาสร้างความแตกแยกให้กับกองทัพ พร้อมกันถึง 4 หน่วยหลัก

โดยเฉพาะที่สนามหน้ากองบัญชาการช่วยรบที่ 2 (บชร.2) ค่ายสุรนารี กองทัพภาคที่ 2 อ.เมือง จ.นครราชสีมา เวลา 09.30 น. พล.ต.พจน์ เหรียญมณี ผู้บัญชาการกองบัญชาการช่วยรบที่ 2 ได้นำกำลังพลสังกัด บชร.2 กว่า 1,200 นาย ทำพิธีรวมพลังปกป้องสถาบันทหารและปฏิญาณตนเป็นผู้ใต้บังคับบัญชาที่ดีมีระเบียบวินัย

ทั้งนี้ เนื่องจากปัจจุบันมีทหารบางนายไม่เคารพและปฏิบัติตามแบบธรรมเนียมของทหาร ทำให้กองทัพต้องเสื่อมเสียชื่อเสียง และทำให้เกิดการแตกแยกความสามัคคีในหมู่คณะ ซึ่งเป็นแบบอย่างที่ไม่สมควรอย่างยิ่งต่อกำลังพลในกองทัพ ซึ่งกำลังพลของกองบัญชาการช่วยรถที่ 2 ไม่เห็นด้วยกับการกระทำของทหารที่ไม่เคารพระบบอาวุโสและไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของผู้บังคับบัญชา ทหารผู้ใดที่กระทำการอันไม่สมควรต่อผู้บังคับบัญชา และกระทำที่ก่อให้เกิดความเสื่อมเสียต่อกองทัพขอให้ยุติการกระทำดังกล่าว เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับกำลังพลทุกนาย และเพื่อรักษาความสามัคคีในหมู่คณะของเหล่าทหารหาญ ที่รักและภูมิใจในอาชีพและเครื่องแบบที่สวมใส่

นอกจากนี้ กำลังพลของ บชร.2 ขอเป็นกำลังใจให้กับ พล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา ผู้บัญชาการทหารบก (ผบ.ทบ.) และผู้บังคับบัญชาทุกระดับในการที่จะต่อสู้และยืนหยัดเพื่อรักษาไว้ซึ่งเกียรติภูมิของเหล่าทหารหาญ และเป็นแบบอย่างที่ดีให้กำลังพลต่อไป และพร้อมเป็นแรงใจแรงกายที่จะปกป้องต่อสถาบันกองทัพ ชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์ตราบจนชีวิตจะหาไม่

และขอให้คำมั่นว่า “กำลังพลทุกนาย จักเป็นทหารที่ดี มีวินัยและปฏิบัติตามคำสั่งของผู้บังคับบัญชาอย่างเคร่งครัด และจักเคารพปฏิบัติตามแบบธรรมเนียมของทหารต่อไป”

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง