บจก โรงพยาบาลว ม ตต อ นเตอร เนช นแนล

สิทธิพิเศษสำหรับผู้ถือกรมธรรม์ในการรับบริการค่ารักษาพยาบาลแบบผู้ป่วยใน และผู้ป่วยนอก เมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลในเครือข่ายกว่า 400 แห่งทั่วประเทศไทย โดยไม่ต้องสำรองจ่ายตามสิทธิและเงื่อนไขกรมธรรม์

เมื่อคุณเข้าชมเว็บไซต์ใดก็ตาม ไซต์นั้นอาจจัดเก็บหรือดึงข้อมูลจากเบราว์เซอร์ของคุณ ส่วนใหญ่แล้วอยู่ในรูปแบบของคุกกี้ ข้อมูลนี้อาจเกี่ยวกับคุณ การตั้งค่าของคุณ อุปกรณ์ของคุณ หรือเพื่อช่วยให้ไซต์ทำงานอย่างที่คุณต้องการ ซึ่งมักเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวตนของคุณได้โดยตรง แต่ช่วยให้คุณใช้งานเว็บตามความต้องการส่วนบุคคลได้มากยิ่งขึ้น ท่านสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายคุกกี้ (Cookie Policy) และ นโยบายความเป็นส่วนตัว (Privacy Policy)

การใช้งานเว็บไซต์นี้เป็นการยอมรับข้อกำหนดและยินยอมให้เราจัดเก็บคุกกี้ตามนโยบายที่แจ้งในเบื้องต้น

การตั้งค่าคุกกี้

โรคติดเชื้อฮิวแมนเมตะนิวโมไวรัส (hMPV) เป็นอีกหนึ่งไวรัสที่ก่ออาการในระบบทางเดินหายใจ และเป็นอีกหนึ่งสาเหตุที่ก่อให้เกิดปอดอักเสบในเด็กเล็ก ซึ่งการติดเชื้อนี้มักจะพบในเด็กเล็กอายุน้อยกว่า 5 ปี โรค hMPV คืออะไร? เชื้อ “ฮิวแมนเมตะนิวโมไวรัส” หรือ hMPV เป็นไวรัสชนิดหนึ่งซึ่งอยู่ในกลุ่มเดียวกับ RSV ทำให้เกิดอาการติดเชื้อในทางเดินหายใจแบบเฉียบพลัน ส่วนใหญ่จะพบในกลุ่มเด็กเล็ก และผู้สูงอายุ โดยสามารถติดต่อกันได้ผ่านทาง น้ำมูก น้ำลาย ไอ และ จาม อย่างไรก็ตาม ผู้ใหญ่หรือเด็กโตที่มีภูมิต้านทานดีหากติดเชื้อไปอาจมีอาการเหมือนเป็นไข้หวัดธรรมดา หรืออาจจะไม่มีอาการเลยก็ได้ แต่! เชื้อไวรัส hMPV มักจะเข้าไปในทางเดินหายใจส่วนล่างหลอดลมและปอดในคนสูงอายุที่มีโรคประจำตัว เช่น โรคหัวใจ ความดัน เบาหวาน หอบหืด โรคไต ทำให้เกิดอาการเหนื่อย จนต้องให้ออกซิเจน บางคนถึงขั้นระบบหายใจล้มเหลว เชื้อนี้ไม่มียาต้านไวรัสและไม่มีวัคซีนป้องกันให้รักษาตามอาการ การรักษาอาการจากโรคติดเชื้อ hMPV เนื่องจากปัจจุบันยังไม่มียาเฉพาะที่มีฤทธิ์ต้านไวรัสชนิดนี้ และเชื้อไวรัสชนิดนี้สามารถหายได้เองจากการสร้างภูมิคุ้มกันจากร่างกายของตัวเอง ดังนั้น การรักษาจึงใช้วิธีการรักษาตามอาการ เหมือนกับไข้หวัด เช่น การล้างจมูก การทานยาแก้ไข้ การพ่นยา โดยอาการจะค่อย ๆ […]

Read More

ฝึกซ้อมปฏิบัติการ “กู้ชีวิต”ประจำปี 2566

ฝึกซ้อมปฏิบัติการ “กู้ชีวิต”CODE BLUE ประจำปี 2566 เพื่อความพร้อมในสถานการณ์ฉุกเฉินในช่วยชีวิตผู้ป่วยให้รอดพ้นจากความเสี่ยงอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยภาวะวิกฤต โรงพยาบาลกระบี่นครินทร์ อินเตอร์เนชั่นแนลได้จัด “การฝึกซ้อมแผนปฏิบัติการ กู้ชีวิต code Blue” เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2566 เพื่อฝึกฝนเพิ่มพูนความรู้ การฝึกปฏิบัติ การซักซ้อมสถานการณ์จำลองที่เหมือนจริง การซักซ้อมสมรรถนะทางร่างกาย การทำงานเป็นทีม รูปแบบการประเมินผลการปฏิบัติอย่างเป็นระบบ การสร้างความเข้มแข็งและความสามัคคีภายในองค์กรของพยาบาล และเพื่อการรับมือเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นจริงในอนาคต • สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม/นัดหมาย • แผนกฉุกเฉิน 075-626-555 ต่อ 1140 • เปิดบริการตลอด 24 ชั่วโมง • โรงพยาบาลกระบี่นครินทร์อินเตอร์เนชั่นแนล

Read More

เรื่องสุดแสบของสาวอ๊อฟฟิต

อาการของกระเพาะปัสสาวะอักเสบและวิธีการรักษา ผู้ป่วยจะมีอาการขัดเบา คือ ถ่ายปัสสาวะกะปริดกระปรอย (ออกมาทีละน้อยแต่บ่อยครั้ง) รู้สึกปวดขัดหรือแสบร้อนเวลาถ่ายปัสสาวะ โดยเฉพาะตอนถ่ายปัสสาวะสุด มักต้องเข้าห้องน้ำทุกชั่วโมงหรือชั่วโมงละหลายครั้ง มีอาการคล้ายถ่ายปัสสาวะไม่สุดอยู่ตลอดเวลา ผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการปวดที่ท้องน้อยหรือบริเวณหัวหน่าวร่วมด้วย ปัสสาวะอาจมีกลิ่นเหม็น สีมักใส แต่บางรายปัสสาวะอาจมีสีขุ่นหรือมีเลือดปน มักไม่มีไข้ (ยกเว้นถ้ามีกรวยไตอักเสบร่วมด้วย ผู้ป่วยจะมีไข้สูง หนาวสั่น ปัสสาวะสีขุ่น และมีอาการปวดเอวร่วมด้วย) ส่วนในเด็กเล็กอาจมีอาการปัสสาวะรดที่นอน และอาจมีไข้ เบื่ออาหาร อาเจียนร่วมด้วย โดยอาการมักเกิดขึ้นหลังกลั้นปัสสาวะเป็นเวลานาน ๆ มีการสวนปัสสาวะ หรือหลังจากการร่วมเพศและเป็นโรคที่พบได้บ่อยในผู้หญิงมากกว่าผู้ชายหลายเท่า เนื่องจากท่อปัสสาวะของผู้หญิงจะสั้น และอยู่ใกล้ทวารหนักซึ่งเป็นแหล่งที่มีเชื้อโรคมาก เชื้อโรคจากบริเวณดังกล่าวจึงเข้าทางท่อปัสสาวะของผู้หญิงได้ง่าย วิธีรักษาโรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ การดูแลตนเองในเบื้องต้นเมื่อเป็นโรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ ผู้ป่วยควรปฏิบัติดังนี้ 1. ควรดื่มน้ำสะอาดให้มาก ๆ ประมาณวันละ 3-4 ลิตร เมื่อไม่มีโรคที่ต้องจำกัดน้ำดื่ม (เช่น โรคหัวใจล้มเหลว) ซึ่งการดื่มน้ำจะช่วยขับเชื้อโรคออกและลดอาการปวดแสบปวดร้อนเวลาปัสสาวะได้ 2. ควรถ่ายปัสสาวะทุกครั้งที่รู้สึกปวด ไม่กลั้นปัสสาวะ หลีกเลี่ยงสารอาหารที่ระคายเคืองต่อกระเพาะปัสสาวะ เช่น กาแฟ แอลกอฮอล์ น้ำอัดลม น้ำผลไม้ใส่น้ำตาล พยายามเคลื่อนไหวร่างกายเสมอ ไม่ควรนั่งแช่อยู่กับที่เป็นเวลานาน ๆ […]

Read More

“ไขมันพอกตับ” ทราบได้อย่างไร?

“ไขมันพอกตับ” ทราบได้อย่างไร? ไขมันพอกตับ เป็นโรคที่สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคน ไม่จำเป็นต้องเป็นคนอ้วนเท่านั้น โดยมีสาเหตุมาจากพฤติกรรมการใช้ชีวิต เช่น การดื่มแอลกอฮอล์ เป็นต้น แต่ผู้ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงสูงคือคนที่อ้วนลงพุง น้ำหนักตัวเกินมาตรฐาน ผู้ตรวจพบโรคเบาหวาน ภาวะไขมันในเลือดสูงและความดันโลหิตสูง ซึ่งมีความเสี่ยงสูงกว่าคนทั่วไปถึง 60% โดยส่วนใหญ่โรคไขมันพอกตับจะไม่ค่อยแสดงอาการ หรือผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการที่ไม่เฉพาะเจาะจง เช่น อ่อนเพลีย คลื่นไส้เล็กน้อย รู้สึกปวดหน่วงบริเวณใต้ชายโครงขวา ซึ่งหากแพทย์สงสัยจะมีการส่งตรวจเพื่อวินิจฉัยเพิ่มเติม ไขมันพอกตับมี 4 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1เป็นระยะที่มีไขมันสะสมอยู่ในเนื้อตับ ยังไม่มีอาการหรือการอักเสบเกิดขึ้นในตับ ระยะที่ 2เป็นระยะที่เริ่มมีอาการอักเสบของตับ หากไม่มีการรักษาและปล่อยให้การอักเสบเกินกว่า 6 เดือนอาจกลายเป็นตับอักเสบเรื้อรังได้ ระยะที่ 3การอักเสบรุนแรงต่อเนื่องจนเกิดพังผืด (fibrosis) สะสมในตับ ระยะนี้เซลล์ตับค่อยๆ ถูกทำลายลงและกลายเป็นพังผืด ระยะที่ 4เซลล์ตับถูกทำลายไปมาก ส่งผลให้ตับไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ เกิดภาวะตับแข็งและอาจนำมาสู่มะเร็งตับได้ ดูแลตนเองอย่างไรหากเป็นไขมันพอกตับ ปัจจุบันยังไม่มียารักษาโรคไขมันพอกตับโดยเฉพาะ ดังนั้นการปรับพฤติกรรมการรับประทานอาหารและการใช้ชีวิตประจำวันช่วยให้ไขมันพอกตับดีขึ้น เช่น 1.หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 2.ลดน้ำหนักให้ได้ 10% ของน้ำหนักตัวตั้งต้นจะช่วยลดปริมาณไขมันที่พอกตับได้ 3.หลีกเลี่ยงอาหารทอดมัน และของหวาน 4.รักษาโรคที่เป็นอยู่ […]

Read More

ออฟฟิศซินโดรม (Office Syndrome)

ออฟฟิศซินโดรม (Office Syndrome) ออฟฟิศซินโดรม มักพบได้บ่อยในคนทำงานออฟฟิศ เนื่องจากพฤติกรรมของคนทำงานส่วนใหญ่ ที่ต้องนั่งทำงานอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์อยู่เป็นเวลานาน โดยไม่ได้ขยับตัวเปลี่ยนอิริยาบถ ทำให้กล้ามเนื้อเกิดอาการตึง และกล้ามเนื้ออักเสบได้ ออฟฟิศซินโดรมนั้น คือ กลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืด (Myofascial Pain Syndrome) เนื่องมาจากรูปแบบการทำงานที่ใช้กล้ามเนื้อมัดเดิมซ้ำๆ เป็นระยะเวลานานต่อเนื่อง ซึ่งส่งผลให้เกิดอาการกล้ามเนื้ออักเสบและปวดเมื่อยตามอวัยวะต่างๆ โดยเฉพาะบริเวณ คอ หลัง ไหล่ บ่า แขน หรือข้อมือ ซึ่งอาการปวดดังกล่าวอาจลุกลามจนกลายเป็นอาการปวดเรื้อรัง อาการแบบไหน เสี่ยง! “ออฟฟิศซินโดรม” 1.ปวดกล้ามเนื้อเฉพาะส่วนใดส่วนหนึ่ง มักมีอาการปวดแบบกว้างๆ ไม่สามารถชี้จุดหรือระบุตำแหน่งที่ปวดได้อย่างชัดเจน เช่น คอ บ่า ไหล่ สะบัก 2.ปวดศีรษะเรื้อรัง หรือในบางครั้งมีอาการปวดหัวไมเกรนร่วมด้วย ซึ่งมีสาเหตุมาจากความเครียดหรือการที่ใช้สายตาเป็นระยะเวลานาน 3.ปวดหลังเรื้อรัง เป็นอาการที่พบบ่อยในผู้ป่วยโรคออฟฟิศซินโดรม เนื่องจากการนั่งอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์หลายชั่วโมง นั่งไม่ถูกท่า นั่งหลังค่อม อาจทำให้กล้ามเนื้อต้นคอ เมื่อย เกร็งอยู่ตลอด รวมถึงงานที่ต้องยืนนานๆ โดยเฉพาะคุณผู้หญิงที่ใส่ส้นสูง 4.ปวดตึงที่ขา หรือเหน็บชา อาการชาเกิดจากการนั่งนานๆ ทำให้เส้นเลือดดำถูกกดทับและส่งผลให้เลือดไหลเวียนผิดปกติ […]

Read More

ก่อนคลอดคุณแม่ต้องเตรียมอะไรบ้าง? ช่วงใกล้คลอดคุณแม่อาจไม่สะดวกในการออกไปเลือกซื้อของที่เหมาะกับตัวเอง จึงขอแนะนำให้เริ่มเตรียมตั้งแต่เดือนที่ 8 ของการตั้งครรภ์ หรือเพื่อให้มีเวลาเตรียมของล่วงหน้าก็ควรเริ่มตั้งแต่เดือนที่ 6-7 ของการตั้งครรภ์ หากนับง่ายๆ ก็คือช่วง 2-3 เดือนก่อนคลอดนั่นเอง มาดูกันว่าคุณแม่ต้องเตรียมอะไรกันบ้าง สิ่งที่ต้องเตรียมตัวก่อนคลอดสำหรับแม่ • ผ้าอนามัยใส่หลังคลอด • ชุดชั้นใน • ของใช้ส่วนตัวในห้องน้ำต่างๆ เช่น สบู่ ยาสีฟัน ครีม โลชั่น ทาผิว • เตรียมชุดแม่สำหรับใส่วันออกจากโรงพยาบาล • แผ่นซับน้ำนม • ชุดชั้นในให้นม • เตรียมกล้องและพร็อพถ่ายรูปเพื่อเก็บภาพลูกน้อยคลอด สิ่งที่ต้องเตรียมตัวก่อนคลอดสำหรับลูกน้อย เด็กแรกเกิดมีโอกาสติดเชื้อโรคได้ง่ายมาก ๆ ดังนั้นครอบครัวควรให้ความสำคัญกับเรื่องความสะอาดเป็นพิเศษ ของใช้ทุกอย่างควรทำความสะอาดด้วยน้ำยาซักผ้าหรือแอลกอฮอล์ก่อนเสมอ นอกเหนือจากความสะอาดแล้วสิ่งที่ต้องเตรียมตัวก่อนคลอดที่ต้องเตรียมคือ เสื้อผ้าเด็กทารก เช่น เสื้อ ชุดนอน ถึงมือ หมวกและถุงเท้า นอกจากนั้นหลายอย่างโรงพยาบาลเอกชนก็จะสามารถจัดหาให้ได้ แต่บางอย่างก็อาจจะไม่มีให้ เช่น • ผ้าห่อตัวลูก • ผ้าอ้อม 2-3 ผืม […]

ใครเป็นเจ้าของโรงพยาบาลเกษมราษฎร์

กันตพร หาญพาณิชย์ ทายาทรุ่น 2 กับภารกิจขยายธุรกิจกลุ่มโรงพยาบาลเกษมราษฎร์

โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ มีกี่สาขา

โดยเชื่อมั่นว่า การผสมผสานความชำนาญของคณาจารย์แพทย์ และบุคลากรทางการแพทย์จะช่วยส่งมอบสุขภาพ และความสุขให้แก่ผู้ป่วย และผู้ใช้บริการได้อย่างครบครัน ปัจจุบันเรามีโรงพยาบาลในกลุ่มโรงพยาบาลเกษมราษฎร์ ทั้งสิ้น 9 สาขา และคลินิกอีก 1 สาขา

โรงพยาบาลบางปะกอก 9 ใช้ประกันสังคมได้ไหม

โรงพยาบาลบางปะกอก 9 อินเตอร์เนชั่นแนล ร่วมกับ สำนักงานประกันสังคม รักษาโรคหัวใจและหลอดเลือด (โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายสำหรับผู้ประกันตน ในระบบประกันสังคม มาตรา 33 และ 39)

โรงพยาบาลในเครือ BDMS มีอะไรบ้าง

เครือข่าย BDMS ประกอบด้วย 6 กลุ่มโรงพยาบาลหลัก ได้แก่ กลุ่มโรงพยาบาลกรุงเทพ กลุ่มโรงพยาบาลสมิติเวช โรงพยาบาลบีเอ็นเอช กลุ่มโรงพยาบาลพญาไท กลุ่มโรงพยาบาลเปาโล กลุ่มโรงพยาบาลรอยัล และอีกหนึ่งคลินิก BDMS Wellness Clinic โดย BDMS นับเป็นเครือข่ายโรงพยาบาลเอกชนที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยและอยู่ใน 5 อันดับแรกของโลกด้วยมูลค่า ...

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง