กรมพ ฒนาฝ ม อแรงงานสม ทรสาคร เป ดร บสม คร

สำนักงานแรงงานจังหวัดสมุทรสาคร

ศาลากลางจังหวัด ชั้น 2 ถ.เศรษฐกิจ 1 ต.มหาชัย

อ.เมือง จ.สมุทรสาคร 74000

โทรศัพท์ : 034-426758

โทรสาร : 034-426758

Email: samutsa@mol.mail.go.th

ดูแผนที่ขนาดใหญ่ขึ้น

Related Posts:

  • ส่วนตัว: WPForms Preview

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาการพัฒนารูปแบบอาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าว ปัจจัยทำนายด้านการรับรู้ การมีส่วนร่วมและคุณภาพชีวิตของแรงงานต่างด้าว จังหวัดสมุทรสาคร

วิธีการศึกษา: การวิจัยและพัฒนานี้ มีขั้นตอน 8 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การบริหารจัดการ 2) การจัดทำคู่มือการพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าว (อสต.) 3) ฝึกอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าว 4) กำหนดบทบาทผู้ที่ผ่านการอบรม 5) สร้างการมีส่วนร่วมและการรับรู้ของ อสต. 6) การทดลองใช้และการปรับปรุงรูปแบบ 7) การพัฒนากลุ่มเครือข่าย 8) การพัฒนานวัตกรรมหลักสูตรออนไลน์ ระหว่างเดือนมิถุนายนและกรกฎาคม 2566 กลุ่มตัวอย่าง 3 กลุ่ม ได้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าว จำนวน 142 คน เครือข่าย จำนวน 144 คน แรงงานต่างด้าว จำนวน 271 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม จำนวน 3 ชุด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน multiple linear regression และข้อมูลเชิงคุณภาพโดยสรุปเชิงเนื้อหา

ผลการศึกษา: รูปแบบอาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าว จังหวัดสมุทรสาคร ที่พัฒนาขึ้น มี 9 ด้าน ได้แก่ การเป็นจิตอาสา ความตั้งใจ การรับรู้บทบาท แรงสนับสนุนทางสังคม แรงจูงใจ การยอมรับนับถือ โอกาสก้าวหน้า ภาคีเครือข่าย และการพัฒนาคุณภาพชีวิต รับรู้บทบาทการปฏิบัติงานโดยรวมระดับสูง (mean = 3.75, SD = 0.30) ปัจจัยโดยรวมสามารถทำนายต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ร้อยละ 72 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (ค่าคงที่ B = 1.700, R2Adj. = 0.720, p < .001) เครือข่ายมีส่วนร่วมโดยรวมระดับสูง (mean = 3.11, SD = 0.99) แรงงานต่างด้าวส่วนใหญ่สัญชาติเมียนมา ร้อยละ 62.4 เป็นเพศชาย ร้อยละ 75.6 อายุ 30–39 ปี ร้อยละ 41.3 (mean = 36.04, SD = 7.13) ทำงานเกี่ยวกับอุตสาหกรรมประมง ร้อยละ 63.1 สิทธิการรักษาพยาบาลบัตรประกันสุขภาพของรัฐ ร้อยละ 48.7 อาการเจ็บป่วยคือ ทางเดินหายใจและปวดกล้ามเนื้อ ร้อยละ 70.8 คุณภาพชีวิตของแรงงานต่างด้าวโดยรวมระดับดี (mean = 2.79, SD = 7.11)

สรุป รูปแบบอาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าว จังหวัดสมุทรสาคร ที่พัฒนาขึ้นใหม่ ทำให้กลุ่มเครือข่ายมีส่วนร่วมในระบบบริการสาธารณสุขต่างด้าว ส่งผลทำให้กลุ่มแรงงานต่างด้าวมีคุณภาพชีวิตที่ดี

Downloads

Download data is not yet available.

References

สำนักงานแรงงานจังหวัดสมุทรสาคร. ข้อมูลแรงงานต่างด้าว จังหวัดสมุทรสาคร [อินเทอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 14 พฤษภาคม 2566]; เข้าถึงได้จาก URL: //samutsakhon.mol.go.th

กรมการจัดหางาน สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว. สถานการณ์แรงงานต่างด้าว [อินเทอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 14 พฤษภาคม 2566]. เข้าถึงได้จาก URL: //www.doe.go.th/prd

นฤมล วงษ์เดือน. สมรรถนะการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมเพื่อการบริการสุขภาพแรงงานข้ามชาติ [วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตร์บัณฑิต]. ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการสื่อสารและการพัฒนา, บัณฑิตวิทยาลัย. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล; 2558. doi: 10.14457/MU.the.2015.27.

เฉิด สารเรือน, นิทรา กิจธีระวุฒิวงษ์. การเข้าถึงบริการสุขภาพแรงงานต่างด้าวก่อนก้าวสู่เขตพัฒนาเศรษฐกิจและประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนชายแดน ไทย-เมียนมาร์ จังหวัดตาก. วารสารพยาบาลสาธารณสุข 2558; 29(3): 123-36.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรสาคร. สถานการณ์ผู้ป่วยเกี่ยวกับแรงงานต่างด้าว [อินเทอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 14 พฤษภาคม 2566]. เข้าถึงได้จาก URL: //skno.moph.go.th/

สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว กรมการจัดหางาน. สถิติจำนวนคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตทำงานคงเหลือทั่วราชอาณาจักร. กรุงเทพมหานคร: สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว กลุ่มงานพัฒนาระบบควบคุมการทำงานของคนต่างด้าว; 2560–5.

อรุณ จิรวัฒน์กุล. สถิติในงานวิจัย เลือกใช้อย่างไรให้เหมาะสม. กรุงเทพมหานคร: วิทยพัฒน์; 2557.

อรัญญา ศิริผล, เทพินทร พัชรานุรักษ์. บทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขต่างชาติกับการใช้ทรัพยากรร่วม (มนุษย์) พัฒนาสุขภาพเมืองชายแดน. วารสารรัฐศาสตรและรัฐประศาสนศาสตร 2564;12(2):23–46.

เทพินทร พัชรานุรักษ, พัชรีพรรณ ระหว่างบ้าน, ปาณิสรา แกวบุญธรรม. เครือข่ายสุขภาพชายแดนและบริการสุขภาพพื้นฐาน: การส่งเสริมความมั่นคงทางสุขภาพในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด (รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ). กรุงเทพ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกสว.); 2561.

ณิรดา โพธิ์ยิ้ม, ถาวร สกุลพาณิชย์, พัชนี ธรรมวันนา และคณะ. สถานการณ์การจัดระบบประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าวที่เข้ามาทำงาน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน: กรณีศึกษาจังหวัดตาก. วารสารวิชาการสาธารณสุข 2566;32(1):84–95.

นิติพัฒน์ ซื่อดี. การจัดการปกครองแบบร่วมมือ (Collaborative Governance) กับการนำนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิต ไปสู่การปฏิบัติในพื้นที่: กรณีศึกษาคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตอำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร [วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐศาสตร์มหาบัณฑิต]. ภาควิชาการเมืองการปกครอง, บัณฑิตวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; 2563. doi: 10.14457/TU.the.2020.1085.

ชุติมา พัฒนพงศ์. รายงานโครงการชีวิตและสุขภาพของเด็กต่างด้าวและการเข้าถึงบริการสาธารณสุข. นครปฐม: คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.); 2565.

ยุทธนา แยบคาย. รูปแบบการพัฒนาผลการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน[ วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรดุษฎีบัณฑิต]. สาธารณสุขศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร; 2564.

ศิริวรรณ อุทธา, ทวีวรรณ ศรีสุขคำ, ชลภัสสรณ์ มืดภา และคณะ. ประเมินผลการดำเนินงานมาตรการอาสาสมัครสาธารณสุขต่างชาติตามแนวชายแดนระหว่างประเทศไทยกับประเทศพม่า ลาว กัมพูชา. วารสารควบคุมโรค 2565;48(3):652–66.

ทัศนมินทร์ รัชตาธนรัชต์, วรนุช วงค์เจริญ. ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพการให้บริการสาธารณสุขแก่แรงงานต่างด้าวของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จังหวัดสมุทรสาคร. วารสารโรคและภัยสุขภาพ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์ 2563;14(2):5–15.

ภัคนี สิริปูชกะ, ศิมาลักษณ์ ดิถีสวัสดิ์เวทย์. การศึกษากระบวนการพัฒนาการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน ของแรงงานข้ามชาติ พ.ศ. 2561 – 2562. อุดรธานี: กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8; 2563.

พวงเพชร สุขประเสริฐ. คุณภาพชีวิตของแรงงานต่างด้าว กรณีศึกษาตลาดไท จังหวัดปทุมธานี. วารสารวิทยาการจัดการวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ 2565;3(2):51–63.

จรินทร์ ย่นพันธ์. กระบวนการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการเข้าถึงบริการสาธารณสุขของแรงงานต่างด้าว ในเขตสุขภาพที่ 8 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ประเทศไทย [วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาสาธารณสุขศาสตรดุษฎีบัณฑิต]. สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม; 2562.

How to Cite

License

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.

ลิขสิทธิ์บทความเป็นของผู้เขียนบทความ แต่หากผลงานของท่านได้รับการพิจารณาตีพิมพ์ลงวารสารแพทย์เขต 4-5 จะคงไว้ซึ่งสิทธิ์ในการตีพิมพ์ครั้งแรกด้วยเหตุที่บทความจะปรากฎในวารสารที่เข้าถึงได้ จึงอนุญาตให้นำบทความในวารสารไปใช้ประโยชน์ได้ในเชิงวิชาการโดยจำเป็นต้องมีการอ้างอิงถึงชื่อวารสารอย่างถูกต้อง แต่ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ในเชิงพาณิชย์

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง