ประวัติศาสตร์ ชาติ ไทย ก ศ น ม ปลาย

ชดุ วิชา ประวตั ิศาสตรชาติไทย รหสั รายวชิ า สค32034 รายวชิ าเลอื กบงั คบั ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ตามหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาํ นักงานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สาํ นักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร

คํานาํ ชุดวิชา ประวัติศาสตรชาติไทย รายวิชา สค32034 รายวิชาเลือกบังคับ ระดับ มธั ยมศึกษาตอนปลาย ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชุดวชิ านี้ประกอบดวยเนื้อหาความรวู าดว ยเร่อื งความสําคญั เกยี่ วกบั ความภมู ิใจในความเปน ไทย การประยกุ ตใ ชว ธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร พระราชกรณยี กิจของพระมหากษตั รยิ ไ ทยสมยั รัตนโกสินทร มรดกไทยสมัยรัตนโกสินทร และการเปล่ียนแปลงของชาติไทยสมัยรัตนโกสินทร และชุดวิชาน้ี มวี ัตถปุ ระสงค เพอ่ื ใหผ ูเรียน กศน. มีความรู ความเขา ใจ และตระหนกั ถึงความเปน มาของชาติไทย ใน ดิ น แ ด น ที่ เป น ปร ะ เทศ ไทยที่ดํา ร งอ ยู อย า ง ต อเน่ือ งม า เ ป นเ วล า ยา วน า น ต ร า บจ น ป จจุ บั น ซ่ึงพระมหากษัตริยไทยและบรรพบุรุษในสมัยตาง ๆ ท่ีชวยลงหลักปกฐาน ปกปกรักษาถ่ินที่อยู และสรางสรรคอารยธรรมอันดสี ืบทอดแกช นรนุ หลัง สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอขอบคุณ ผูเชี่ยวชาญเน้ือหา ท่ีใหการสนับสนุนองคความรูประกอบการนําเสนอเน้ือหา รวมทั้งผูเก่ียวของ ในการจัดทําชุดวิชา หวังเปนอยางย่ิงวาชุดวิชาน้ีจะเกิดประโยชนตอผูเรียน กศน. และนําไปสู การปฏิบตั ิอยางเห็นคณุ คาตอไป สาํ นักงาน กศน. พฤษภาคม 2561

คําแนะนาํ การใชช ดุ วชิ า ประวตั ศิ าสตรชาติไทย ชุดวิชา ประวัติศาสตรชาติไทย รหสั รายวิชา สค32034 ใชสําหรับผูเรียนหลักสูตร การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย แบงออกเปน 2 สวนคือ สว นท่ี 1 โครงสรางของชดุ วิชา แบบทดสอบกอนเรียน โครงสรางของหนวยการเรยี นรู เนอ้ื หาสาระ กจิ กรรมเรยี งลาํ ดับตามหนวยการเรียนรู และแบบทดสอบหลังเรยี น สวนที่ 2 เฉลยแบบทดสอบ และกิจกรรมประกอบดว ย เฉลยแบบทดสอบกอ นเรยี น และหลังเรียน เฉลยกิจกรรมเรียงลําดบั ตามหนว ยการเรียนรู วิธกี ารใชชุดวชิ า ใหผ ูเรยี นดาํ เนินการตามขั้นตอน ดงั นี้ 1. ศกึ ษารายละเอียดโครงสรางชุดวิชาโดยละเอยี ด เพอื่ ใหทราบวา ผูเ รียนตองเรยี นรู เนอ้ื หาในเร่ืองใดบา งในรายวิชาน้ี 2. วางแผนเพอื่ กาํ หนดระยะเวลาและจดั เวลาท่ผี เู รยี นมคี วามพรอ มท่ีจะศึกษาชุดวิชา เพื่อใหส ามารถศึกษารายละเอียดของเนื้อหาไดครบทุกหนวยการเรียนรู พรอมทํากจิ กรรม ตามท่ี กําหนดใหทันกอนสอบปลายภาคเรยี น 3. ทําแบบทดสอบกอ นเรียนของชุดวชิ าตามทก่ี าํ หนด เพ่ือทราบพน้ื ฐานความรูเดิม ของผเู รยี น โดยใหท ําในสมุดบันทกึ การเรยี นรแู ละตรวจสอบคาํ ตอบจากเฉลยแบบทดสอบทายเลม 4. ศกึ ษาเนอื้ หาในชดุ วิชาในแตละหนว ยการเรยี นรูอยางละเอียดใหเขาใจ ทั้งในชดุ วชิ า และสื่อประกอบ (ถาม)ี และทํากจิ กรรมท่ีกําหนดไวใหค รบถว น 5. เมอื่ ทาํ กจิ กรรมเสร็จแตละกจิ กรรมแลวผูเ รยี นสามารถตรวจสอบคําตอบไดจาก แนวตอบ/เฉลยทา ยเลม หากผเู รยี นยงั ทํากิจกรรมไมถูกตองใหผูเรียนกลับไปทบทวนเนื้อหาสาระ ในเรอ่ื งน้ันซํ้าจนกวา จะเขาใจ 6. เมอื่ ศึกษาเน้ือหาสาระครบทกุ หนว ยการเรียนรูแลว ใหผูเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน และตรวจกระดาษคาํ ตอบจากเฉลยทา ยเลมวาผูเรียนสามารถทาํ แบบทดสอบไดถ กู ตอ งทกุ ขอ หรอื ไม หากขอ ใดยังไมถูกตองใหผ ูเรียนกลับไปทบทวนเนื้อหาสาระในเรื่องนั้นใหเขาใจอีกคร้ังหนึ่ง ผูเรียนควร ทาํ แบบทดสอบหลังเรียนใหไ ดค ะแนนมากกวา แบบทดสอบกอนเรยี น และควรไดค ะแนนไมน อ ยกวา รอ ยละ 60 ของแบบทดสอบทง้ั หมด เพอื่ ใหม ั่นใจวาจะสามารถสอบปลายภาคเรียนผา น

7. หากผูเ รยี นไดทาํ การศกึ ษาเน้อื หา และทาํ กจิ กรรมแลวยังไมเขา ใจ ผเู รยี นสามารถ สอบถามและขอคําแนะนําไดจากครหู รอื แหลง คน ควา เพ่มิ เตมิ อนื่ ๆ หมายเหตุ : การทาํ แบบทดสอบกอ นเรียน/หลงั เรยี น และทํากิจกรรมทายเรื่องใหทําและบันทึกลงใน สมุดบันทกึ กิจกรรมการเรียนรูประกอบชดุ วชิ า การศึกษาคน ควา เพ่มิ เตมิ ผูเรียนอาจศึกษาหาความรูเพ่มิ เตมิ ไดจากแหลงเรียนรอู น่ื ๆ ที่เผยแพรค วามรู ในเรอื่ ง ทเ่ี กย่ี วขอ งและศกึ ษาจากผูรู เปนตน การวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ผูเรียนตองวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ดังนี้ 1. ระหวางภาคเรยี น วดั ผลจากการทาํ กิจกรรมหรืองานที่ไดรับมอบหมายระหวางเรียน รายบคุ คล 2. ปลายภาคเรียน วัดผลจากการทาํ ขอสอบวัดผลสมั ฤทธิป์ ลายภาคเรียน

โครงสรางชุดวชิ า ประวตั ิศาสตรช าตไิ ทย สาระการพฒั นาสงั คม มาตรฐานการเรียนรรู ะดบั มคี วามรู ความเขาใจ ตระหนกั เก่ียวกับภมู ิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง การปกครองในโลก และนาํ มาปรบั ใชใ นการดําเนินชีวิต เพือ่ ความม่นั คงของชาติ ตวั ชว้ี ดั 1. อธิบายความหมาย ความสาํ คัญของสถาบนั หลักของชาติ 2. อธบิ ายความเปนมาของชนชาตไิ ทย 3. บอกพระปรชี าสามารถของพระมหากษัตริยไทยกบั การรวมชาติ 4. อธิบายความสําคญั ของสถาบนั ศาสนา 5. อธบิ ายความสําคญั ของสถาบนั พระมหากษตั รยิ  6. อธิบายและยกตวั อยา งทีแ่ สดงถึงความภาคภมู ิใจในความเปนไทย 7. บอกบุญคุณของพระมหากษตั รยิ ไทยตัง้ แตสมัยสโุ ขทยั อยธุ ยา ธนบุรี และรตั นโกสินทร 8. อธบิ ายความหมาย ความสาํ คัญ และประโยชนของวธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร 9. อธิบายวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร 10. ประยุกตใ ชว ธิ ีการทางประวตั ิศาสตรในการศกึ ษาเรอื่ งราวทางประวัตศิ าสตรท สี่ นใจ 11. อธบิ ายพระราชกรณียกจิ ของพระมหากษตั ริยไ ทยสมัยรตั นโกสนิ ทร 12. อธบิ ายคณุ ประโยชนข องบคุ คลสาํ คญั ท่มี ตี อการพฒั นาชาตไิ ทย 13. วิเคราะหคณุ ประโยชนข องบคุ คลสาํ คัญท่ีมีผลตอ การพฒั นาชาติไทย 14. เขยี นบรรยายคณุ คา ทไ่ี ดรบั จากการศกึ ษาประวตั ศิ าสตรช าตไิ ทย 15. อธิบายความหมายและความสาํ คญั ของมรดกไทย 16. ยกตวั อยา งมรดกไทยสมัยรตั นโกสินทรไดอยา งนอ ย 3 เร่ือง 17. วเิ คราะหม รดกไทยสมยั รตั นโกสินทรท่มี ีผลตอการพฒั นาชาติไทย 18. อธิบายความหมาย ความสําคัญของการอนุรกั ษม รดกไทย 19. ยกตัวอยา งการมสี ว นรวมในการอนรุ ักษมรดกไทย 20. วิเคราะหเ หตุการณส าํ คัญทางประวตั ิศาสตรท ีม่ ีผลตอการพฒั นาชาตไิ ทย 21. อภิปรายและนาํ เสนอเหตุการณส ําคัญทางประวัตศิ าสตรที่มผี ลตอ การพฒั นาชาติไทย

สาระสาํ คัญ การเรยี นรูประวตั ศิ าสตรช าติไทยกอใหเกดิ ความภาคภูมิใจในความเปนชาติไทย ไดเรียนรู ความหมาย ความเปนมา และความสําคญั ของสถาบันหลักของชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย ความเปนมาของชาติไทย เสรีภาพในการนับถือศาสนาของไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริยไทย ตั้งแตสมัยสุโขทยั อยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร ชุดวิชาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เรียนรู เกยี่ วกับพระมหากษัตริย บรรพบุรุษ วีรกรรมของบรรพบุรุษไทยในสมัยกรุงรัตนโกสินทร เรียนรู มรดกทางวัฒนธรรมสมัยกรุงรัตนโกสนิ ทร ตลอดจนแนวทางการสบื สานมรดกไทย ดานสถาปตยกรรม ประตมิ ากรรม จติ รกรรม วรรณกรรม ดนตรี นาฏศิลป ประเพณีความเช่ือ การแตงกาย และศึกษา เหตุการณทางประวัติศาสตร การสถาปนาอาณาจักรรัตนโกสินทร สนธิสัญญาตาง ๆ ตลอดจน พระราชกรณียกจิ ของพระมหากษตั รยิ ไทยในรัชกาลตาง ๆ ตั้งแต รัชกาลท่ี 1 ถงึ รชั กาลที่ 10 เพ่ือนาํ องคค วามรมู าปรบั ใชในการดาํ เนนิ ชีวติ เพ่ือความมนั่ คงของชาติ ขอบขายเนื้อหา หนวยการเรยี นรูที่ 1 ความภูมิใจในความเปน ชาตไิ ทย หนว ยการเรยี นรูที่ 2 การประยกุ ตใชว ธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร หนวยการเรียนรูที่ 3 บญุ คุณของแผน ดนิ หนว ยการเรยี นรทู ่ี 4 มรดกไทยสมยั รัตนโกสินทร หนว ยการเรียนรทู ี่ 5 การเปลี่ยนแปลงของชาติไทยสมัยรตั นโกสินทร ส่ือประกอบการเรียนรู 1. ชุดวิชา 2. สมุดบนั ทกึ กิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดวชิ า 3. ส่ือเสริมการเรียนรอู น่ื ๆ จาํ นวนหนวยกติ จํานวน 3 หนว ยกติ กิจกรรมการเรยี นรู 1. ทาํ แบบทดสอบกอ นเรียน ตรวจสอบคาํ ตอบจากเฉลยทา ยเลม 2. ศกึ ษาเน้อื หาสาระในหนวยการเรียนรูทกุ หนว ย 3. ทาํ กจิ กรรมตามที่กาํ หนด และตรวจสอบคําตอบจากเฉลยทายเลม 4. ทําแบบทดสอบหลงั เรียน และตรวจสอบคําตอบจากเฉลยทา ยเลม

การประเมนิ ผล 1. ทาํ แบบทดสอบกอนเรียน/หลงั เรยี น 2. ทาํ กิจกรรมในแตล ะหนว ยการเรยี นรู 3. เขารับการทดสอบปลายภาคเรียน

สารบัญ หนา คาํ นาํ 1 คาํ แนะนาํ การใชช ุดวชิ า 3 โครงสรา งชุดวิชา 22 สารบญั หนว ยการเรยี นรทู ่ี 1 ความภูมใิ จในความเปน ไทย 27 36 เรือ่ งท่ี 1 สถาบนั หลักของชาติ 38 เร่อื งท่ี 2 บทสรปุ สถาบนั พระมหากษตั รยิ เ ปนศนู ยร วมใจของคนในชาติ 39 เร่อื งท่ี 3 บุญคุณของพระมหากษตั รยิ ไ ทยตงั้ แตสมัยสโุ ขทัย อยธุ ยา ธนบุรี 48 50 และรตั นโกสนิ ทร 73 81 หนวยการเรยี นรทู ่ี 2 การประยกุ ตใ ชว ิธกี ารทางประวตั ิศาสตร 83 เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสําคญั และประโยชนของวิธกี ารทางประวตั ิศาสตร 85 เรอ่ื งท่ี 2 วิธกี ารทางประวัตศิ าสตร 119 121 หนว ยการเรยี นรทู ่ี 3 พระราชกรณียกจิ ของพระมหากษตั ริยไทยสมยั รตั นโกสินทร 122 เรอื่ งที่ 1 พระราชกรณียกจิ ของพระมหากษตั รยิ ไ ทยสมัยรัตนโกสนิ ทร เรอ่ื งที่ 2 คุณประโยชนของบคุ คลสาํ คัญ หนว ยการเรยี นรูท ี่ 4 มรดกไทยสมัยรตั นโกสนิ ทร เรอ่ื งที่ 1 ความหมาย และความสาํ คญั ของมรดกไทย เรอ่ื งที่ 2 มรดกไทยสมัยรตั นโกสนิ ทร เรือ่ งที่ 3 มรดกไทยทมี่ ีผลตอ การพฒั นาชาตไิ ทย เรื่องท่ี 4 การอนรุ ักษมรดกไทย เร่ืองท่ี 5 การมีสว นรว มในการอนรุ กั ษม รดกไทย

สารบัญ (ตอ) หนา 123 หนว ยการเรียนรูที่ 5 การเปลย่ี นแปลงของชาตไิ ทยสมัยรัตนโกสนิ ทร 124 เรอื่ งที่ 1 เหตุการณส าํ คญั ทางประวตั ศิ าสตรท ่มี ผี ลตอ การพัฒนาชาตไิ ทย เรอ่ื งท่ี 2 ตวั อยา งการวเิ คราะห และอภปิ รายเหตกุ ารณสาํ คญั ทางประวัติศาสตร 148 ท่ีมีผลตอการพฒั นาชาตไิ ทย 149 156 บรรณานกุ รม คณะผจู ดั ทํา

1 หนวยการเรียนรูที่ 1 ความภูมใิ จในความเปน ไทย สาระสาํ คญั “ความภูมิใจในความเปนไทย” วลีนี้เปนส่ิงที่รัฐบาล องคกรปกครอง พยายามให เกดิ ขึน้ กับประชาชนภายในประเทศมาตลอดในหลายยุคหลายสมยั เพราะความภูมิใจในความเปน คนไทยในความเปนชาติไทยน้ัน จะเปนการสรางแรงผลักดันท่ีสําคัญตอการดําเนินชีวิตของผูคน และการพัฒนาชาตใิ หมคี วามเจริญรุง เรือง มัน่ คง และเขมแขง็ ประเทศไทยมีประวัติความเปนมาที่ยาวนาน ผานการเปนที่ต้ังของมนุษยและ การรวมตัวของชุมชนมาตัง้ แตย ุคกอ นประวัติศาสตร กอ กําเนดิ เปนความเช่อื วิถชี ีวิต ประเพณี และ วัฒนธรรมที่สืบตอมาอยางยาวนาน มหี ลายเหตุการณ หลายอปุ สรรคท่ผี ูคนและเหลาบรรพบุรุษได รว มกัน “สรางบา นแปงเมือง” จนกระท่ังมชี นชาตไิ ทยและประเทศไทยอันนาภาคภูมิใจปรากฏอยู ในทุกวันน้ี และการที่จะเขาใจถึงความเปนชาติไทยนั้น จะเกิดขึ้นไมไดถาผูเรียนไมไดเร่ิมตนจาก การศกึ ษาประวัติความเปน มาของความเปนชาตไิ ทยเสียกอ น ตัวชี้วัด 1. อธบิ ายความหมาย และความสาํ คัญของสถาบนั หลกั ของชาติ 2. อธบิ ายความเปนมาของชนชาตไิ ทย 3. บอกพระปรีชาสามารถของพระมหากษัตริยไ ทยกบั การรวมชาติ 4. อธิบายความสาํ คัญของสถาบนั ศาสนา 5. อธิบายความสาํ คญั ของสถาบนั พระมหากษตั รยิ  6. อธบิ ายและยกตวั อยา งที่แสดงถงึ ความภาคภมู ิใจในความเปน ไทย 7. บอกบุญคุณของพระมหากษัตริยไทยตั้งแตสมัยสุโขทัย อยุธยา ธนบุรี และ รัตนโกสินทร ขอบขา ยเนอื้ หา เรื่องที่ 1 สถาบนั หลกั ของชาติ 1. ชาติ 1.1 ความหมาย ความสาํ คญั ของชาติ 1.2 ความเปนมาของชนชาตไิ ทย

2 1.3 การรวมไทยเปน ปก แผน 1.4 พระมหากษตั ริยกบั การรวมชาติ 2. ศาสนา 2.1 ศาสนาพุทธ 2.2 ศาสนาคริสต 2.3 ศาสนาอสิ ลาม 2.4 ศาสนาซิกข 2.5 ศาสนาฮินดู 3. พระมหากษัตรยิ  3.1 องคอปุ ถมั ภของศาสนา 3.2 การปกครอง 3.3 การเสยี สละ 3.4 พระปรีชาสามารถ เร่ืองที่ 2 บทสรุปสถาบันพระมหากษตั รยิ เ ปนศูนยร วมใจของคนในชาติ เรื่องท่ี 3 บุญคุณของพระมหากษัตริยไทยตั้งแตสมัยสุโขทัย อยุธยา ธนบุรี และ รัตนโกสินทร 3.1 สมัยสุโขทยั 3.2 สมัยอยุธยา 3.3 สมยั ธนบุรี 3.4 สมยั รัตนโกสนิ ทร ส่อื การเรยี นรู 1. ชดุ วิชาประวัติศาสตรชาติไทย รหัสรายวิชา สค32034 2. สมดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรูประกอบชุดวิชา เวลาทใี่ ชใ นการศึกษา 15 ช่วั โมง

3 เร่อื งท่ี 1 สถาบันหลักของชาติ สถาบันหลักของชาติ ประกอบดวย ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย ซึ่งเปน สถาบันที่อยูกับสังคมไทยมาชานาน โดยเฉพาะอยางยิ่งสถาบันพระมหากษัตริยซึ่งเปนเสาหลัก ในการสรางชาตใิ หเ ปนปกแผน เปนศนู ยรวมจติ ใจของปวงชน เปน บอเกดิ ของความรกั ความสามคั คี นําพาประเทศชาติใหผานพนภัยนานาประการ ไมวาจะเปนภัยรุกรานของประเทศอ่ืน ภัยจาก การลาอาณานคิ มและการแผขยายลัทธกิ ารปกครอง อกี ทงั้ สถาบันพระมหากษัตรยิ มบี ทบาทสําคัญ ในการพัฒนาความเปนอยูของประชาชนในทั่วทุกภูมิภาค โดยเฉพาะอยางยิ่งในทองถ่ินท่ีหางไกล สงผลใหมีการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในทุกมิติ และเปนรากฐานใหประเทศชาติ มีความมัน่ คงสบื มาจนถึงปจจุบัน ชนชาติไทยในอดีต จึงถือวาสถาบันพระมหากษัตริย เปนสถาบันสูงสุดของชาติ ทม่ี ีบทบาทสําคญั ในการเปน ผูน าํ รวมประเทศชาตใิ หเ ปนปกแผน และพระมหากษัตรยิ ทุกพระองค ปกครอง ดูแลและบริหารประเทศชาติโดยใชห ลักธรรม ที่เปนคําสอนของศาสนา ดว ยความเขมแขง็ ของสถาบันพระมหากษตั ริย ทม่ี ีความศรทั ธาเลอื่ มใสในสถาบันศาสนา ที่เปน เสมอื นเครอื่ งยดึ เหนย่ี ว ทางจติ ใจใหค นในชาตปิ ระพฤตปิ ฏบิ ัติในทางที่ดีงาม เพราะทุกศาสนาลวนแตสอนใหคนประพฤติ และคอยประคับประคองจิตใจใหดีงาม มีความศรัทธาในการบําเพ็ญตนตามรอยพระศาสดาของ แตล ะศาสนา และเมื่อพระมหากษัตริยเปนผูที่ประพฤติตนอยูในธรรม และปกครองแผนดินโดย ธรรมแลว ไพรฟาประชาราษฎรต างอยดู วยความรมเยน็ เปนสขุ จงึ ทําใหสถาบนั ชาติ ท่ีเปนสัญลักษณ เปรยี บเสมอื นอาณาเขตผืนแผนดินท่ีเราอยูอาศัย มีความม่ันคง พัฒนาและยืนหยัดไดอยางเทาเทียม อารยประเทศ ดงั นน้ั สถาบนั ชาติ สถาบันศาสนา และสถาบนั พระมหากษัตริย จึงเปนสถาบันหลักของ ชาติไทย ท่ีไมสามารถแยกจากกันได สามารถยึดเหน่ียวจิตใจของปวงชนชาวไทยและคนในชาติ มาจวบจนทกุ วันนี้ “ชนชาติไทย” เปน ชนชาตทิ ม่ี รี ากเหงาทางประวัตศิ าสตรและความเปน มาท่ียาวนาน ไมแพช าติใดในโลก เรามีแผนดินไทยท่ีอุดมสมบูรณ ในนํ้ามีปลา ในนามีขาว มีพืชพันธุธัญญาหาร ที่อุดมสมบูรณ มีภูมิอากาศ และภูมิประเทศท่ีเปนชัยภูมิ อากาศไมรอนมาก ไมหนาวมาก มีความหลากหลายของแหลงทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ มีท่ีราบลุมแมน้ําที่อุดมสมบูรณ เหมาะแกการเพาะปลูก มีภูเขา มีทะเลท่ีมีความสมดุลและสมบูรณเพียบพรอมเปนท่ีหมายปอง ของนานาประเทศ นอกจากนี้ ชนชาติไทยยังมีขนมธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรมที่ดีงาม หลากหลาย งดงาม เปนเอกลักษณของชาติที่โดดเดน ซึ่งสิ่งเหลาน้ีลูกหลานไทยทุกคนควรมี ความภาคภูมิใจที่ไดเกิดมาเปน คนไทย ในแผนดนิ ไทย แตกอ นท่ีจะสามารถรวมชนชาติไทยใหเปน ปกแผน ทําใหลูกหลานไทยไดม ีแผนดินอาศัยอยูอยางรมเย็นเปนสุขหลายชั่วอายุคนมาจวบจน

4 ทุกวันนี้ บรรพบุรุษของชนชาติไทยในอดีต ทานไดสละชีพเพื่อชาติ ใชเลือดทาแผนดิน ตอสูเพื่อ ปกปองดินแดนไทย กอบกูเอกราชดวยหวังไววา ลูกหลานไทยตองมีแผนดินอยู ไมตองไปเปนทาส ของชนชาตอิ ื่น ซง่ึ การรวมตวั มาเปนชนชาติไทยที่มีท้ังคนไทยและแผนดินไทยของบรรพบุรุษไทย ในอดีต กไ็ มใชเ รือ่ งที่สามารถทําไดโดยงาย ตอ งอาศัยความรัก ความสามัคคี ความกลาหาญ ความเสียสละ อดทน และส่งิ ท่ีสาํ คัญ คือ ตอ งมศี นู ยร วมใจท่ีเปนเสมอื นพลังในการตอ สแู ละผูนาํ ทมี่ คี วามชาญฉลาด ดานการปกครองและการรบ คอื สถาบันพระมหากษตั ริยที่อยูค คู นไทยมาชานาน และหากลูกหลานไทย และคนไทยทกุ คนไดศึกษาพงศาวดารและประวตั ิศาสตรชาติไทย ก็จะเห็นวา ดวยเดชะพระบารมี และพระปรชี าสามารถของบูรพมหากษตั ริยของไทยในอดตี ทเ่ี ปนผนู าํ สามารถรวบรวมชนชาติไทย ใหเ ปนปกแผน แมวา เราจะเคยเสยี เอกราชและดินแดนมามากหมายหลายคร้ัง บรู พมหากษตั รยิ ไ ทย ก็สามารถกอบกูเอกราชและรวบรวมชนชาวไทยใหเปนปกแผนไดเสมอมา และเหนือส่ิงอื่นใด พระมหากษัตรยิ ไ ทยทุกพระองค เปนพระมหากษัตริยทีป่ กครองประเทศชาติดวยพระบารมีและ ทศพิธราชธรรม ใชธรรมะและคําสัง่ สอนของพระพทุ ธองคม าเปนแนวในการปกครอง ทาํ ใหคนในชาติ อยูร ว มกนั อยา งรม เยน็ เปนสุข สมกับคําทวี่ า “ประเทศไทย เปนประเทศแผน ดินธรรมแผนดนิ ทอง” แผน ดินธรรม หมายถึง แผน ดนิ ท่มี ีผปู ฏิบัตธิ รรม และการปฏบิ ัตธิ รรมนัน้ หมายถึง การปฏบิ ัตหิ นาท่ีอยางถูกตอ ง แผนดินทอง หมายถึง แผนดินท่ีประชาชนไดรับประโยชน และความสุขอยางทั่วถึง ตามควรแกอ ตั ภาพ 1.1 ชาติ การจะรบั รูค วามเขาใจในความเปน ชาตหิ รอื ความรูสึกท่ีหวงแหนความเปนชาตไิ ดน นั้ ผูเรียนมคี วามจาํ เปน ทีจ่ ะตอ งเขา ใจบริบทของความเปนชาติเสยี กอ น ดังน้ี 1.1.1 ความหมาย ความสาํ คัญของชาติ ชาติ หมายถึง กลุมคนที่มีภาษา วัฒนธรรม และเช้ือชาติ ประวัติศาสตร เดยี วกัน หรอื ใกลเคยี งกัน มีแผนดิน อาณาเขตการปกครอง ท่ีเปนระบบ เปนสัดสวน มีผูนําหรือ รัฐบาลทใ่ี ชอ าํ นาจ หรือมอี ํานาจอธปิ ไตยทนี่ ํามาใชในการปกครองประชาชน ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน กลาววา ชาติ หมายถึง ประเทศ ประชาชนทเ่ี ปน พลเมอื งของประเทศ กลมุ ชนท่มี คี วามรูสึกในเรื่องเชื้อชาติ ศาสนา ภาษา ประวัติ ความเปนมา ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมอยางเดียวกันหรืออยูในปกครองรัฐบาล เดยี วกนั

5 “ความจงรกั ภักดตี อ ชาตนิ น้ั คอื ความสาํ นกึ ตระหนกั ในคุณของแผน ดนิ อันเปน ท่ีเกดิ ทอี่ าศัย ซง่ึ ทาํ ใหบ คุ คลเกดิ ความภูมใิ จในชาตกิ ําเนดิ และมุง มนั่ ทจ่ี ะธาํ รงรกั ษาประเทศชาติไว ใหเปนอสิ ระมน่ั คงตลอดไป” พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว (รัชกาลท่ี 9) ในพิธีถวาย สัตยปฏิญาณและสวนสนามของทหารรักษาพระองค ณ ลานพระราชวังดสุ ิต 3 ธนั วาคม พ.ศ. 2529 เม่อื พิจารณาคําทีม่ คี วามหมายใกลเคียงกันนัน้ ก็จะพบวา คําวา “ชาต”ิ น้ัน ใกลเคยี งกบั คาํ วา “ประเทศ” หรือคําวา “รัฐ” อยูไมน อ ย คอื หมายถึง ชุมนุมแหงมนุษยซ่ึงตง้ั อยูในดินแดนท่มี ีอาณาเขต แนน อน มอี าํ นาจอธปิ ไตยทจี่ ะใชไ ดอ ยา งอสิ ระ และมีการปกครองอยางเปน ระเบียบเพ่ือประโยชน ของบรรดามนุษยท ่อี ยรู วมกัน 1.1.2 ความเปนมาของชนชาตไิ ทย เปน สิง่ ทต่ี องทําความเขาใจกอ นทเี่ ก่ียวขอ งกับความเปน มาของชนชาติไทยนั้น ยังไมมีการสรุปเปนประเด็นที่สามารถยืนยันไดชัดเจน เพราะการพิจารณาความเปนมาของ ชนชาตไิ ทยนั้น ตอ งพจิ ารณาจากหลกั ฐานหรอื งานวิจยั การคนควาทางวิชาการที่หลากหลายจาก นักวิชาการไทยและตางประเทศ อีกท้ังยังตองพิจารณามิติทางเอกสาร โบราณคดี เช้ือชาติหรือ ชาตพิ นั ธุ ภาษา และวฒั นธรรม ดงั น้ี 1) สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ขอมูลท่ีปรากฏ ในพระนิพนธเร่ือง “แสดงบรรยายพงศาวดารสยาม และลักษณะการปกครองสยามแตโบราณ” เปนการนําขอ มลู ของนักวิชาการตะวนั ตกมาประกอบ สรุปวา ถิ่นดัง้ เดมิ ของชนชาตไิ ทยอยูทางตอนใต ของจนี แถบมณฑลยูนนาน กวา งโจว กวางสี จนกระทง่ั จีนแผอทิ ธพิ ลทางการปกครองลงมา จนทําให ผูค นในบริเวณน้ันตองอพยพลงมาถงึ บรเิ วณลุมแมนาํ้ เจาพระยาตอนบน 2) หลวงวิจิตรวาทการ ขอมูลท่ีเสนอผานผลงานเรื่อง “งานคนควาเร่ือง ชนชาติไทย” ไดอธิบายวาถิ่นเดิมของชนชาติไทยอยูบริเวณตอนกลางของจีนแถบมณฑลเสฉวน ต้ังถน่ิ ฐานกระจดั กระจายตั้งแตแ นวแมน ้าํ พรหมบุตรไปจนถึงทะเลจีนใตแ ถบอา วตังเก๋ีย 3) ขอ มูลของจติ ร ภูมิศกั ดิ์ ผานผลงานเร่ือง “ความเปนมาของคําสยามไทย ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชือ่ ชนชาติ” ไดศึกษาผา นการวิเคราะหภาษา และตาํ นาน ทองถ่ินของภาคเหนอื ไดสรปุ วา ถิ่นกําเนิดของคนไทยน้ันครอบคลุมบริเวณกวางใหญทางตอนใต ของจีน เวียดนาม ลาว เขมร ภาคเหนือของไทย พมา ไปจนถึงรฐั อสั สมั ของอินเดีย เนอ่ื งจากมีพื้นฐาน ทางนริ กุ ตศิ าสตรท ่ีคลายคลงึ กัน

6 4) ขอ มูลของศาสตราจารย ดร.ประเสริฐ ณ นคร นักวิชาการคนสําคัญของ ประเทศไทย ทานไดศึกษาวิเคราะหจากหลักฐานของชาวตะวันตกทั้งทางดานภาษาศาสตร ประวัติศาสตร โบราณคดี และมานษุ ยวทิ ยา รวมไปถงึ การลงพืน้ ที่ดว ยตนเอง ไดสรุปไววา ถ่ินเดิม ของคนไทยนาจะอยบู รเิ วณมณฑลกวางสี ทางใตข องจีน เนอื่ งจากในเขตดังกลาวเปนพ้ืนที่กลุมชน ทม่ี ีความหลากหลายทั้งทางวัฒนธรรมและประเพณี ขอ มูลประวัติความเปน มาสวนใหญจะอธบิ ายใกลเคยี งกนั ในลกั ษณะของการอพยพ ลงใตจากจีน แลว แผข ยายลงหลกั ปก ฐานอยใู นบรเิ วณกวางทางภาคเหนอื ของไทยเกิดเปน เมืองและ เมืองขนาดใหญท ีข่ ยายตัวเปนอาณาจกั รตามมา กลาวอีกนัยหน่ึง ตั้งแตท่ีสมัยไทยอพยพลงมาน้ัน ดินแดนแหลมทองเปนที่อยูของชนชาติมอญ ละวาของขอม พวกมอญอยูทางตะวันตกของ ลุมแมน ํ้าเจา พระยาไปจรดมหาสมทุ รอินเดีย พวกละวามีอาณาเขตอยูในบริเวณภาคกลาง มีเมือง นครปฐมเปนเมอื งสําคัญพอถึงพุทธศตวรรษท่ี 14 ขอมซ่งึ อยูทางตะวันออกมีอํานาจมากข้ึนเขายึด เอาดินแดนพวกละวาไปไวในอาํ นาจ แลว แบงการปกครองเปน 2 สว น คือ สวนภาคเหนือ และสว น ภาคใต ตอมาในพุทธศตวรรษท่ี 16 สมดุลอํานาจในการแยงชิงพ้ืนท่ีไดเปลี่ยนแปลงไป มอญกับ ขอมสูรบกันจนเส่ือมอํานาจลง และในชวงเวลาน้ันสุโขทัยไดปรากฏขึ้นมาอยางชัดเจนในหนา ประวัตศิ าสตรไ ทย จากรองรอยหลักฐานทางเอกสารทางประวัติศาสตรตาง ๆ มีการยืนยันและเช่ือวา ประวัติศาสตรข องชนชาตไิ ทยในแหลมทอง (Golden Khersonese) เร่มิ ตนเม่ือประมาณ พ.ศ. 800 (พทุ ธศตวรรษที่ 8 - 12) เปนตนมา โดยมีดินแดนของอาณาจักรและแควนตาง ๆ เชน อาณาจักร ฟูนัน ตง้ั อยูบริเวณทางทศิ ตะวันตกและชายทะเลของอาวไทย และมีอาณาจักรหริภุญชัยทางเหนือ อาณาจกั รศรวี ชิ ยั ทางใต และมอี าณาจักรทวารวดี (พุทธศตวรรษที่ 12) บริเวณลุมแมนํ้าเจาพระยา ตอนลาง เปนตน และไดร วมตวั เปน ปกแผน มีพระมหากษตั รยิ ไ ดส ถาปนาอาณาจกั รสุโขทัยเปนราชธานี แหงแรกของชนชาติไทย ราวป พ.ศ. 1762 โดยพอ ขุนศรีนาวนาํ ถม พระราชบิดาของพอขุนผาเมือง เปนผูปกครองอาณาจักรจากหลกั ฐานและขอ มูลขา งตน นี้ รวมถงึ สมมตฐิ านของแหลงอารยธรรมตา ง ๆ ของโลก ซง่ึ สว นใหญแหลง กาํ เนดิ ของชนชาติกลุมในอดตี จะอยูบริเวณลมุ แมน ้าํ อาทิ แหลง อารยธรรม เมโสโปเตเมยี ตง้ั อยบู รเิ วณที่ราบลุมระหวา งแมน าํ้ ไทกรสิ (Tigris) ทางตะวนั ออก และแมน าํ้ ยเู ฟรตสิ (Euphrates) ทางตะวันตกหรอื อารยธรรมอนิ เดียโบราณหรอื อารยธรรมลุม แมน้าํ สินธุ ต้ังอยูบรเิ วณ ลุมแมนํ้า เปนตน ดังนั้น จึงมีความเปนไปไดที่ชนกลุมตาง ๆ ที่เคยอาศัยในลุมแมน้ําเจาพระยา หรือบริเวณรอบอาวไทย มีการรวมตัวกันเปนปกแผน มีการพัฒนาเปนชุมชน สังคม และเมือง จนกลายมาเปนอาณาจักรตาง ๆ ของชนชาติไทยตามพงศาวดาร

7 1.1.3 การรวมไทยเปน ปก แผน ภายหลงั การลมสลายของอาณาจักรอยุธยา ใน พ.ศ. 2310 สมเด็จพระเจา กรุงธนบุรีไดพยายามกอบกูเอกราชและศักด์ิศรีของอาณาจักรกลับคืนมา หลังจากการสถาปนา อาณาจักรธนบุรีข้ึน ตองเผชิญกับสงครามภายนอกจากกองทัพพมา และสงครามภายใน คือ การปราบชมุ นมุ ทีแ่ ยงชงิ ความเปนใหญแตกกันเปนกกเปน เหลา ชวงเวลาผานไปจนถึง พ.ศ. 2325 อาณาจักรรัตนโกสินทรเปนแผนดินไทยท่ีพอจะเรียกไดวา “เปนปกแผน” ข้ึนมาบาง ถึงแมวาใน เวลาตอ มาจะเกิดสงครามเกาทพั ทเ่ี ปน ศึกใหญในสมยั รัตนโกสนิ ทร แตก็ถือวาเปนชวงแหงสันติสุข มาไดย าวนาน ความเปนปก แผน ของความม่นั คงของสยามเดน ชดั มากขน้ึ ในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เปน นายกรฐั มนตรี มีการเปลี่ยนช่ือประเทศจากสยาม เปน “ไทย” กลาวอีกนัยหน่ึง “การสรา งชาต”ิ ไดเกิดข้นึ อยางสมบูรณใ นยุคสมัยนี้ คือ มีครบท้ังอาณาเขต ดินแดน ประชากร อํานาจ อธิปไตย รัฐบาล ไปจนถึงสัญลักษณของชาติท่ีแสดงถึงเอกลักษณวัฒนธรรมไทย เชน ภาษาไทย และ ธงชาตไิ ทย เปนสง่ิ สําคัญทผี่ คู นในยคุ ปจจุบันจะตอ งอนรุ กั ษห วงแหนใหส ามารถดาํ รงสบื ไปในอนาคต แหลงกาํ เนิดของชนชาติไทย จะอพยพมาจากท่ีใด จะมีการพิสูจนหรือไดรับ การยอมรับหรือไม คงไมใ ชประเด็นสําคัญท่ีจะตองพิสูจนหาความจริง คงปลอยใหเปนเรื่องของ นักประวัติศาสตรหรือนักวิชาการ แตค วามสําคัญอยูท่ีลูกหลานคนไทยทุกคนที่อาศัยอยูบนพื้น แผนดินไทย ตอ งไดเ รียนรูและตองยอมรบั วา การรวมชนชาติไทยใหเปนปกแผน และอยูสุขสบาย จนถึงปจจุบันน้ี คนไทยและลูกหลานไทยทุกคนตองตระหนักถึงบุญคุณของบรรพบุรุษไทยและ พระปรีชาสามารถของบูรพมหากษัตริยไทยในอดีตท่ีสามารถรวบรวมชนชาวไทย ปกปองรักษา เอกราชและรวบรวมชาตไิ ทยใหเปนปกแผน จึงเปนพระราชกรณียกิจที่สําคัญของพระมหากษัตริยไทย ในอดีต ซ่ึงหากจะยอนรอยไปศึกษาพงศาวดารฉบับตาง ๆ รวมถึงประวัติศาสตรชาติไทย ต้ังแต ยุคกอ นการสถาปนากรงุ สุโขทัย ใหเ ปนราชธานแี หง แรกของชนชาวไทยแลว การสถาปนาราชธานี ทกุ ยุคทกุ สมัยไมว า จะเปน การสถาปนากรุงศรอี ยธุ ยา กรงุ ธนบุรี กรุงรตั นโกสินทร รวมไปถงึ การกอบกู เอกราชหลังจากการเสียกรุงศรีอยุธยาทั้ง 2 คร้ัง ลวนเปนวีรกรรมและบทบาทอันสําคัญของ พระมหากษตั ริยไทยทัง้ สนิ้ 1.1.4 พระมหากษัตรยิ ไทยกบั การรวมชาติ การรวมชาติไทยใหเปนปกแผน เปนบทบาทที่สําคัญของพระมหากษัตริยไทย ในอดตี หากรัฐใดแควน ใด ไมมีผนู าํ หรือพระมหากษตั ริยท่ีเขม แข็ง มีพระปรีชาสามารถท้งั ดา นการรบ การปกครองรวมถึงดา นการคา เศรษฐกิจการคลัง รัฐน้ันหรือแควนนั้น ยอมมีการเสื่อมอํานาจลง และถูกยดึ ครองไปเปนเมอื งขึน้ หรอื ประเทศราชภายใตก ารปกครองของชนชาติอนื่ การถกู ยึดครอง หรือไปเปนเมืองข้ึนภายใตการปกครองของอาณาจักรอื่นในอดีต สามารถทําไดหลายกรณี อาทิ

8 การยอมสโิ รราบโดยดี โดยการเจริญไมตรแี ละสงบรรณาการถวาย โดยไมม ีศึกสงครามและการเสีย เลือดเน้ือ สถาบันพระมหากษตั รยิ  ไดม ีบทบาทสาํ คญั ในการรวมชาตใิ หเ ปนปกแผน รวมถึงการปกปอ ง ประเทศชาติและมาตุภมู สิ บื ไวใ หล กู หลานไทยไดม ีแผนดินอยู ซึ่งหากชนชาติไทยในอดีต ไมมีผูนําหรือ กษตั รยิ ท ่ีมีพระปรชี าสามารถ ในวันน้ีอาจไมมีชาติไทยหลงเหลืออยูในแผนท่ีโลก หรือชนชาติไทย อาจตอ งตกไปอยูภายใตการปกครองของชาตใิ ดชาตหิ น่ึง บทบาทของพระมหากษตั รยิ ไทยในการรวมชาติ บทบาทของพระมหากษัตริยไทยในการรวมชาติ ในสมัยรัชกาลที่ 1 ถึง รัชกาลที่ 3 หรอื ในสมัยรัตนโกสนิ ทรต อนตน นน้ั ความเปนปกแผนม่ันคงของอาณาจักรเกิดขึ้นจากการปรับปรุง การปกครอง ประมวลกฎหมายการบรู ณปฏิสังขรณวัดวาอาราม ทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา เกิดเปน ยุคทองของการฟนฟูวรรณคดี นาฏศิลป ดนตรีไทย การคาและความสัมพันธระหวางประเทศ มคี วามเจริญรงุ เรอื งโดยเฉพาะกบั จีน เกดิ เปน “เงินถงุ แดง” ท่ีนาํ มาใชในชว งวกิ ฤตของประเทศ ภายหลังความพายแพของอาณาจักรพมา และราชวงศชิงของจีนในการทําศึกกับ องั กฤษ พระมหากษตั ริยไ ทยในชว งเวลานั้นไดตระหนักถงึ ภยั ของ “ลทั ธลิ า อาณานคิ ม” เปน อยา งดี และทรงตระหนกั วาสยามนตี้ อ งมีการปรับตวั และพฒั นาตนเองใหร อดพน จากภยั รา ยจากการคกุ คาม ของชาติตะวันตกที่เดนชัดเร่ิมตนเมื่ออังกฤษเขามาขอทําสนธิสัญญาเบาวริงกับสยาม ในสมัย รชั กาลที่ 4 ตอมาเกดิ วกิ ฤต ร.ศ. 112 ในสมยั รัชกาลที่ 5 พระเจา นโปเลยี นท่ี 3 แหง ฝรัง่ เศสนาํ เรอื ปน เขา มาถงึ แมน้ําเจาพระยาใกลพ ระบรมมหาราชวัง บบี บงั คบั ใหส ยามยกดินแดนฝงซายของแมน าํ้ โขง ใหอยูใ ตอ าณตั ิของฝร่งั เศส พรอ มท้งั เรียกรอ งคา เสียหายดว ยจํานวนเงนิ กวา 2 ลา นฟรังก เปนอีกครง้ั ท่อี ิสรภาพของสยามอยใู นจุดท่ีอาจตกเปน เมืองข้ึนหรืออาณานิคมของมหาอาํ นาจตะวันตก ในชวงเวลาดังกลาวแมวาจะมีภัยรอบดาน อริราชศัตรูเกาอยางพมา หรือญวน พา ยแพแกชาติตะวนั ตกไปแลว ถึงกระน้ันสยามกลับมีความเปน “ปกแผน” อยางท่ีไมเคยมีมากอน ผา นการเปน “สมบูรณาญาสิทธริ าชย” ของพระมหากษัตรยิ โ ดยเฉพาะในสมัยรชั กาลที่ 5 ท่ีอาํ นาจ ของกษัตรยิ ช วยดลบนั ดาลใหเกิดความผาสุกของราษฎร เกิดเปน การ “เลกิ ระบบไพรทาส” ในสมัยรชั กาลท่ี 6 ความเปนชาติไดเดนชัดขึ้น ชื่อของประเทศสยามไดร บั การยอมรบั วาทัดเทียมกับหลายชาติตะวันตก เม่ือทรงสงทหารอาสาชาวสยามเขารวมสงครามโลก ครั้งที่ 1 ในภาคพื้นยุโรป สถาบันหลักของประเทศ คือ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ  ก็เกิดขึ้นในสมัยน้ี สญั ลกั ษณข องชาติ เชน ธงไตรรงคก็เกิดข้ึนเพือ่ เปนตวั แทนของชาติสยามในโอกาสตา ง ๆ

9 การเปลีย่ นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ที่เปลี่ยนระบอบการปกครองของสยาม จากสมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข เปนเหตุการณส าํ คัญของประวัตศิ าสตรไทย รชั กาลที่ 7 ทรงพระราชทานรัฐธรรมนญู ฉบบั แรกของ สยามตามคาํ รอ งขอของคณะราษฎร หลังสมัยรัชกาลท่ี 7 จนถึงปจ จบุ นั บทบาทของพระมหากษัตริยไทยถึงแมวาจะถูก เปลยี่ นแปลงไปตามท่ีกาํ หนดไวในรฐั ธรรมนูญ ก็ยังทรงมีบทบาทในการเปน ศูนยก ลางการยึดเหนย่ี ว จิตใจใหกบั ปวงชนชาวไทย ผานพระราชกรณยี กจิ ในการยกระดบั คุณภาพชีวติ ของราษฎร “การรวมชาต”ิ ในบริบทปจจุบันจึงไมใชความมั่งคงของดินแดนอีกตอไป แตเปน “ศูนยรวมจิตใจของปวงชน” ทพ่ี ระมหากษัตรยิ ไ ทยทรงเปน เสมอมาตงั้ แตอ ดตี จนถงึ ปจจบุ ัน 1.2 ศาสนา ศาสนา เปนลัทธิความเช่ือของมนุษย เกีย่ วกบั การกําเนิดและสิ้นสุดของโลก หลักศีลธรรม ตลอดจนลัทธิพิธีที่กระทําตามความเชื่อนั้น ๆ จะเห็นไดวาแตละประเทศน้ันจะยึดคําส่ังสอนของ ศาสนาเปนหลักในการปกครองประเทศ และมกี ารกําหนดศาสนาเปนศาสนาประจําชาติ นอกจาก ศาสนาจะมอี ทิ ธิพลตอ การปกครองของประเทศแลวยังมีอิทธิพลตอวัฒนธรรมของแตละประเทศ เชน ประเทศไทยมกี ารหลอ พระพุทธรูปเปนงานศิลปะ วัฒนธรรมการไหว การเผาศพ วัฒนธรรม เหลา นไี้ ดร บั อิทธพิ ลมาจากศาสนาเหมอื นกัน ดังน้ัน ศาสนาจึงเปน สถาบันทสี่ ําคญั ตอประเทศมาก 1.2.1 ศาสนาพุทธ ศาสนาพุทธ ไดเผยแผเขามาในดินแดนประเทศไทยเปนคร้ังแรก โดยพระเถระ ชาวอินเดีย เม่ือประมาณ พ.ศ. 236 โดยการอุปถัมภของพระเจาอโศกมหาราช แหงอินเดีย ซึ่งในขณะนั้นประเทศไทยรวมอยูในดินแดนที่เรียกวา สวุ รรณภูมิ มีอาณาเขตกวา งขวาง มีหลาย ประเทศรวมกนั ในดินแดนสวนนี้ มีจํานวน 7 ประเทศ ไดแก ประเทศไทย พมา ศรีลังกา ญวน กัมพูชา ลาว และมาเลเซีย ซ่ึงพระพุทธศาสนาท่ีเขามาในคร้ังนั้น เปนนิกายหินยานหรือเถรวาทแบบดั้งเดิม มพี ทุ ธศาสนกิ ชนเล่อื มใสศรทั ธาไดบวชเปน พระภิกษุเปนจํานวนมาก และไดสรางวัด สถูปเจดียไว สกั การะบชู า ตอ มาภายหลัง กษตั ริยใ นสมัยศรีวชิ ยั ทรงนบั ถอื พระพทุ ธศาสนาแบบมหายาน จึงทําให ศาสนาพุทธนิกายมหายานเผยแผเขามาสูดินแดนประเทศไทยทางตอนใต ซ่ึงไดมีการรับ พระพุทธศาสนาทั้งแบบเถระวาท แบบมหายาน และศาสนาพราหมณที่เขามาใหม จึงทําให ประเทศไทยมีผูนับถือพระพุทธศาสนาทั้ง 2 แบบ มีพระสงฆทั้ง 2 ฝาย ไดแก นิกายเถรวาท และ มหายาน

10 จากพงศาวดารและหลักฐานทางประวัติศาสตร พระพุทธศาสนา เปนศาสนาท่ี สังคมไทยสวนใหญนบั ถือมาตงั้ แตใ นอดตี และสบื ทอดกันมาเปน ชา นาน ดงั น้ัน พระพุทธศาสนาจึง มีบทบาทสําคัญของวิถีชีวิตคนไทย รวมถึงวัฒนธรรมและประเพณี จนประเทศไทยไดชื่อวาเปน ศนู ยกลางของพระพุทธศาสนาของโลกโดยมี “พทุ ธมณฑล” เปนศูนยกลางแหงพุทธศาสนาโลก ตามมตขิ องการประชุมองคก ารสหประชาชาติ เมอื่ วนั ท่ี 20 พ.ค. 2548 ในสมัยรัตนโกสินทร พระมหากษัตริยทุกพระองคทรงมีพระมหากรุณาธิคุณ ตอสถาบนั ศาสนา มาเปนลําดบั อาทิ เม่อื วันที่ 14 สงิ หาคม พ.ศ. 2489 รัชกาลท่ี 9 เสด็จข้ึนครองราชย พระองคไดทรง แสดงพระองคเ ปน พทุ ธมามกะตอหนา สงั ฆมณฑล ณ พระอุโบสถวดั พระศรีรัตนศาสดาราม โดยมี สมเด็จพระสังฆราชเปน ประธาน เมื่อวันท่ี 22 ตุลาคม พ.ศ. 2494 รัชกาลที่ 9 ทรงปฏิบัติตามโบราณราชประเพณี ดวยการเสดจ็ ทรงออกผนวช ณ พระอโุ บสถวดั พระศรีรตั นศาสดาราม พระองคทรงรบั การบรรพชา เปน พระภิกษใุ นพทุ ธศาสนา ไดร ับสมณนามจากพระอุปชฌายจ ารวา “ภมู พิ โลภกิ ขุ” จากนั้นเสด็จ ประทับ ณ พระตาํ หนักปน หยา วดั บวรนิเวศ โดยพระองคทรงปฏบิ ัตพิ ระธรรมวินัย ตามแบบอยาง พระภิกษุโดยเครงครัด รัชกาลที่ 9 ทรงอุปสมบทนาคหลวงมาตลอด โดยเร่ิมปแรกเม่ือวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2489 ไดเสด็จฯ พระราชดําเนินไปในพระราชพิธีทรงบําเพ็ญพระราชกุศล ณ พระอุโบสถ วัดพระศรีรตั นศาสดาราม มหี มอ มเจาสุนทรากร วรวรรณ หมอมเจาอาชวดิศดศิ กลุ หมอมราชวงศ ยันตเทพ เทวกลุ และ นายเสมอ จติ รพันธ เปน นาคหลวง นอกจากนน้ั รชั กาลท่ี 9 ยงั เสด็จฯ พระราชดําเนินไปในงานพิธที างศาสนา ทป่ี ระชาชน และทางราชการจัดข้ึนในที่ตาง ๆ มิไดขาด อีกท้ังยังทรงสรางพระพุทธรูปขึ้น ในโอกาสสําคัญเปน จาํ นวนมาก หลังจากท่รี ชั กาลท่ี 10 ไดทรงขึ้นครองราชยเปนพระมหากษัตริยลําดับท่ี 10 แหง ราชวงศจักรี พระองคทรงเสด็จพระราชดําเนินไปปฏิบัติพระราชกิจทางพระพุทธศาสนาอยาง สมํา่ เสมอ เชน เสดจ็ พระราชดาํ เนินเปล่ยี นเครอ่ื งทรงพระพุทธมหามณรี ตั นปฏมิ ากร ณ วัดพระศรี รัตนศาสดาราม ตามฤดูกาล เสด็จพระราชดําเนินไปทรงบําเพ็ญพระราชกุศลในวันสําคัญทาง พระพุทธศาสนา เชน วนั วิสาขบูชา วันอาสาฬหบชู า วันเขาพรรษา และการถวายผาพระกฐินหลวง ตามวดั ตาง ๆ เปน ตน

11 1.2.2 ศาสนาคริสต ศาสนาคริสตเ ปน ศาสนาที่พฒั นาหรือปฏิรปู มาจากศาสนายดู าห ซึ่งมีประวัตศิ าสตร มาตั้งแตประมาณ 2,000 ป กอนคริสตกาล ชนเผาหน่ึงเปนบรรพบุรุษของชาวยิว ต้ังถิ่นฐานอยู ณ ดินแดนเมโสโปเตเมีย มีหัวหนาเผาช่ือ “อับราฮัม” (อับราฮัม เปนศาสดาของศาสนายูดาห) ไดอางตนวา ไดรับโองการจากพระเจาใหอพยพชนเผาไปอยูในดินแดนท่ีเรียกวา แผนดินคานาอัน (บริเวณประเทศอสิ ราเอลในปจ จบุ นั ) โดยอับราฮัมกลาววา พระเจากําหนดและสัญญาใหชนเผาน้ี เปน ชนชาติท่ยี ง่ิ ใหญตอ ไป การท่ีพระเจาสญั ญาจงึ กอ ใหเกิดพนั ธสญั ญาระหวา งพระเจา กบั ชนชาวยวิ ดงั น้นั ในเวลาตอ มาจึงเรยี กคัมภีรของศาสนายดู าหแ ละศาสนาครสิ ตวา “พันธสัญญา” ศาสนาคริสตเ ขามาในประเทศไทยยคุ เดียวกับการลา อาณานคิ มของลทั ธจิ กั รวรรดนิ ยิ ม โดยเฉพาะอยางย่ิงชาวโปรตุเกส ชาวสเปน และชาวดัตช ที่กําลังบุกเบิกเอเชียตะวันออกเฉียงใต ซ่งึ นอกจากกลมุ ที่มีจุดประสงค คอื ลา เมืองขนึ้ และเผยแพรศ าสนาพรอมกัน เชน จักรวรรดอิ าณานคิ ม ฝรั่งเศส มาไดเมืองขึ้นในอินโดจีน เชน ประเทศเวียดนาม กัมพูชา ลาว โดยลักษณะเดียวกับ โปรตเุ กสและสเปน ในขณะทีป่ ระเทศไทยรอดพน จากการเปน เมอื งขนึ้ สว นหนึง่ อาจเพราะการเปด เสรี ในการเผยแพรศาสนา ทาํ ใหลดความรนุ แรงทางการเมืองลง ศาสนาครสิ ตท่เี ผยแพรใ นไทยเปน ครง้ั แรก เปนนิกายโรมันคาทอลิก ปรากฏหลกั ฐานวาในป พ.ศ. 2110 (ค.ศ. 1567) มีมชิ ชันนารี คณะดอมินิกัน 2 คน เขาสอนศาสนาใหชาวโปรตเุ กส รวมถงึ ชาวพ้ืนเมืองท่เี ปน ภรรยา ศาสนาคริสตไดรับพระราชทานพระบรมราชูปถัมภเชนเดียวกับศาสนาอื่น โดย รชั กาลท่ี 9 ทรงอดุ หนนุ กิจการของศาสนาครสิ ตต ามวาระโอกาสตาง ๆ อยเู สมอ สามารถสรางโรงเรยี น โรงพยาบาล โบสถและประกอบศาสนกิจไดท่ัวทกุ ภาคของประเทศ ไดเสด็จพระราชดําเนินไปใน งานพธิ ีสําคัญ ๆ ของศาสนาครสิ ตเ ปน ประจํา ที่สาํ คัญที่สุด คือ เสด็จพระราชดําเนินเยือนนครรัฐ วาติกัน เม่ือครัง้ เสดจ็ พระราชดาํ เนนิ เยอื นทวปี ยุโรปเม่อื 1 ตลุ าคม พ.ศ. 2503 เพอ่ื กระชับพระราชไมตรี ระหวางประเทศไทยกับครสิ ตจกั ร ณ กรุงวาติกัน เม่ือพระสันตะปาปา จอหน ปอล ท่ี 2 ประมุขแหงครสิ ตจกั รโรมันคาธอลกิ เสด็จเยอื น ประเทศไทยอยา งเปน ทางการในฐานะพระราชอาคันตกุ ะ เม่ือวนั ท่ี 10 - 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2527 ครง้ั นน้ั นับวาเปนกรณีพเิ ศษอยางย่ิง เพราะไมเ คยปรากฏมากอนวา ประมุขคริสตจักรโรมันคาทอลกิ จะเสดจ็ มาเยอื นประเทศไทยเชน น้ี ไดเสด็จออกทรงรบั ณ พระทน่ี ั่งจกั รีมหาปราสาทอยางสมพระเกยี รติ สําหรบั รัชกาลท่ี 10 พระองคเ สด็จพระราชดาํ เนนิ แทนพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร- มหาภมู ิพลอดุลยเดช ไปเปนองคป ระธานในพธิ ีเปด อาคารครสิ ตจกั ร ใจสมาน เม่ือวันท่ี 30 เมษายน พ.ศ. 2522 เสด็จพระราชดาํ เนนิ แทนพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช ไปรบั เสดจ็ พระสนั ตะปาปา จอหน ปอล ท่ี 2 ในโอกาสเสดจ็ เยือนประเทศไทยอยา งเปนทางการ ณ ทาอากาศยาน กองบญั ชาการกองทัพอากาศ

12 1.2.3 ศาสนาอสิ ลาม ศาสนาอิสลาม เขามาเผยแพรในประเทศไทยต้ังแตยุคสมัยสุโขทัย และชวง กรุงศรีอยุธยาเร่ือยมา โดยกลุมพอคาชาวมุสลิมในคาบสมุทรเปอรเซียที่เขามาคาขายในแหลม มลายู (อินโดนีเซียและมาเลเซีย) ไดนําศาสนาอิสลามเขามา ภายหลังคนพ้ืนเมืองจึงไดเปล่ียนมา นบั ถอื ศาสนาอสิ ลาม และบางคนเปน ถึงขนุ นางในราชสาํ นกั ในชว งตนกรุงรัตนโกสินทรม ีชาวมสุ ลมิ อพยพมาจากมลายแู ละเปล่ียนสญั ชาตเิ ปน ไทย นอกจากน้ียังมีชาวมุสลิมอินเดียที่เขามาตั้งรกราก รวมถงึ ชาวมสุ ลมิ ยนู นานท่ีหนีภัยการเบียดเบียนศาสนาหลังการปฏิวัติคอมมิวนิสตในประเทศจีน ศาสนาอิสลามในประเทศไทย จึงเติบโตอยางรวดเร็ว โดยสถิติระบุวาประชากรมุสลิมมีจํานวน ประมาณ 2.2 ลา นคน ถึง 7.4 ลา นคน กอนป พ.ศ. 2505 กงศลุ แหง ประเทศซาอดุ ิอาระเบีย ไดเขาเฝารัชกาลที่ 9 เพ่ือถวาย คมั ภรี อลั กุรอาน ฉบับทม่ี ีความหมายเปน ภาษาองั กฤษ โดยรชั กาลที่ 9 ทรงมพี ระราชดาํ ริวา ควรจะมี คัมภีรอัลกุรอานฉบับความหมายภาษาไทย ใหปรากฏเปนศรีสงาแกประเทศชาติ เม่ือนายตวน สุวรรณศาสน จุฬาราชมนตรีในสมัยนั้น เปนผูนําผูแทนองคการสมาคม และกรรมการอิสลาม เขาเฝาถวายพระพรในนามของชาวไทยมุสลิมในวันเฉลิมพระชนมพรรษาปน้ัน รัชกาลที่ 9 ทรงมี พระกระแสรับส่ังใหจุฬาราชมนตรี แปลความหมายของพระมหาคัมภีรอัลกุรอานจากคัมภีร ฉบับภาษาอาหรับโดยตรง ส่ิงน้ีเปนพระมหากรุณาธิคุณที่ทรงมีตอศาสนาอิสลาม และทรงเปน องคอัครศาสนปู ถัมภกอยางแทจรงิ ในชวงเวลาที่จุฬาราชมนตรีแปลพระมหาคัมภีรถวาย ทุกครั้งที่เขาเฝา รัชกาลที่ 9 จะทรงแสดงความหวงใยตรัสถามถงึ ความคบื หนา อปุ สรรค ปญ หาทเ่ี กดิ ขนึ้ และทรงมพี ระราชประสงค ท่ีจะใหพิมพเผยแพร ในป พ.ศ. 2511 อันเปนปครบ 14 ศตวรรษแหงอัลกุรอาน ประเทศมุสลิม ทุกประเทศตางก็จัดงานเฉลมิ ฉลองกันอยางสมเกยี รติ ประเทศไทยแมจะไมใชป ระเทศมสุ ลมิ แตไ ดม ี การจัดงานเฉลิมฉลอง 14 ศตวรรษแหง อลั กุรอานข้ึน ณ สนามกีฬากติ ติขจร เมื่อวันท่ี 16 มีนาคม พ.ศ. 2511 เปนวันเดียวกันกบั การจัดงานเมาลิดกลาง ในปนั้นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช พรอมดวยสมเดจ็ พระนางเจาสิริกิต์ิ พระบรมราชนิ ีนาถเสด็จเปนองคประธานในพิธี และ ในวันน้ันเปนวันเร่ิมแรกท่ีพระมหาคัมภีรอัลกุรอาน ฉบับความหมายภาษาไทย ไดพิมพถวาย ตามพระราชดํารแิ ละไดพระราชทานแกมสั ยิดตาง ๆ ทว่ั ประเทศ โดนเนน ยา้ํ ดงั นี้

13 1. การแปลพระคมั ภีรอัลกรอุ านเปน ภาษาไทย ขอใหแ ปลอยา งถกู ตอ ง 2. ขอใหใชสํานวนเปน ภาษาไทยท่สี ามญั ชนทวั่ ไปอานเขา ใจได นอกจากนี้ในงานไดมกี ารพระราชทานรางวัลโลเกียรติคุณ และเงินรางวัลแกผูนํา ศาสนาอสิ ลามประจํามสั ยดิ ตา ง ๆ และทรงมีพระราชดําริใหมกี ารสนับสนุนการจัดสรางมัสยิดกลาง ประจําจังหวัดข้ึน โดยใหรฐั บาลจัดสรรงบประมาณแผนดินสําหรับจัดสราง ขณะน้ีไดสรางเสร็จ เรยี บรอยแลวใน 4 จังหวดั ภาคใต ซ่ึงรัชกาลท่ี 9 ทรงเสด็จพระราชดําเนินไปเปนองคประธานในพิธี ดวยพระองคเ อง รชั กาลท่ี 10 หรอื “สมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราช เจา ฟา มหาวชริ าลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร” ในขณะนน้ั ไดทรงเคยปฏิบัตพิ ระราชกรณยี กจิ ทง้ั เสดจ็ พระราชดําเนนิ ในฐานะผูแทนพระองค และในฐานะ ของพระองคเ อง ไดแก ทรงเปน ผูแทนพระองคเปดงานเมาลิดกลางแหงประเทศไทย เสดจ็ พระราชดาํ เนิน เยือนมัสยดิ กลางจังหวัดปตตานี เพ่อื พระราชทานถวยรางวัลการทดสอบการอัญเชิญพระมหาคัมภีร อัลกุรอาน และโดยเสด็จรัชกาลที่ 9 ไปจังหวัดนราธิวาส และพระราชทานพระคัมภีรอัลกุรอาน และคําแปลเปน ภาษาไทยแกค ณะกรรมการอสิ ลาม 1.2.4 ศาสนาซิกข ชาวซิกขสวนมากยึดอาชีพคาขายอิสระ บางก็แยกยายถ่ินฐานทาํ มาหากินไปอยู ตา งประเทศบาง และเดนิ ทางไปมาระหวางประเทศ ในบรรดาชาวซิกขดังกลาว มีพอคาชาวซิกข ผูหน่ึงช่ือ นายกิรปาราม มาคาน ไดเดินทางไปประเทศอัฟกานิสถาน เพื่อหาซื้อสินคาแลวนําไป จําหนายยังบานเกิด สินคาที่ซื้อคร้ังหนึ่ง มีมาพันธุดีรวมอยูดวยหน่ึงตัว เมื่อขายสินคาหมดแลว ไดเดนิ ทางมาแวะที่ประเทศสยาม โดยนาํ มา ตัวดังกลา วมาดว ย และมาอาศัยอยูในพระบรมโพธสิ มภาร ของพระมหากษัตริยสยาม ไดรับความอบอุนใจเปนอยางยิ่ง ดังนั้น เมื่อเขามีโอกาสเขาเฝา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 5) เขาจึงไดกราบบังคมทูลนอมเกลาฯ ถวายมาตัวโปรดของเขาแดพระองค ดวยความสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณ พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว จึงเห็นในความจงรักภักดีของเขา พระองคจึงไดพระราชทานชาง ใหเขาหน่ึงเชือก ตลอดจนขาวของเคร่ืองใชที่จําเปน ในระหวา งเดนิ ทางกลับอินเดีย เมื่อเขาเดินทางกลับมาถึงอินเดียแลวเห็นวา ของที่เขาไดรับพระราชทานมานั้น สงู คาอยา งยงิ่ ควรท่ีจะเกบ็ รักษาใหสมพระเกียรตยิ ศแหงพระเจา กรงุ สยาม จึงไดนําชางเชือกนั้นไปถวาย พระราชาแหงแควนแคชเมียร พรอมท้ังเลาเร่ืองที่ตนไดเดินทางไปประเทศสยาม ไดรับความสุข ความสบายจากพน่ี องประชาชนชาวสยาม ซ่ึงมีพระเจา แผน ดนิ ปกครองดวยทศพิธราชธรรมเปนที่ ยกยอ งสรรเสริญของประชาชน ถวายการขนานนามของพระองคว า พระปยมหาราช

14 พระราชาแหงแควนแคชเมียรไดฟงเรื่องราวแลวมีความพอพระทัยอยางย่ิง ทรงรับชางเชือกดังกลาวเอาไวแลวขึ้นระวางเปนราชพาหนะ พรอมกับมอบแกวแหวนเงินทอง ใหนายกิรปารามมาดาม เปนรางวัล จากน้ันไดเดินทางกลับบานเกิด ณ แควนปญจาป แตครั้งน้ี เขาไดรวบรวมเงินทอง พรอมทั้งชักชวนเพื่อน ใหไปต้ังถิ่นฐานอาศัยอยูใตรมพระบรมโพธิสมภาร พระเจา กรุงสยามตลอดไป รชั กาลท่ี 9 เสด็จพระราชดําเนินทรงเปนองคประธานในงานฉลองครบรอบ 500 ป แหงศาสนาซิกข ตามคําอัญเชิญของสมาคมศรีคุรุสิงหสภา โดยในป พ.ศ. 2550 มีศาสนิกชน ชาวซกิ ขอยใู นประเทศไทยประมาณสามหม่นื คน ทกุ คนตา งมงุ ประกอบสัมมาอาชพี ภายใตพระบรม โพธิสมภารแหง พระมหากษัตรยิ ไทย ดวยความม่งั คัง่ สุขสงบท้ังกายและใจ โดยท่ัวหนา 1.2.5 ศาสนาพราหมณ - ฮินดู ศาสนาพราหมณ - ฮนิ ดู ถอื เปน อกี ศาสนาหน่งึ ทม่ี คี วามเกาแก และอยคู ปู ระเทศไทย มาเปนระยะเวลายาวนาน เขา ไปมสี วนในพธิ สี ําคัญ ๆ โดยเฉพาะพระราชพธิ ตี า ง ๆ เชน พระราชพิธี บรมราชาภิเษก ท่ีเปนพระราชพิธีสถาปนาพระมหากษัตริยข้ึนเปนสมมติเทพปกครองแผนดิน เปนใหญในทิศทั้งแปด และเปนการประกาศใหประชาชนทราบโดยทั่วกัน ตามคติพราหมณจะ ประกอบพิธีอญั เชิญพระเปนเจา เพ่อื ทาํ การสถาปนาใหพ ระมหากษัตริยเปน สมมติเทพ ดํารงธรรม สบิ ประการ ปกครองประเทศดวยความรมเยน็ เปน สุข ดว ยเหตุนพี้ ระมหากษตั ริยท กุ พระองคจ ึงทรง มีพระมหากรุณาธิคณุ ในการสงเสรมิ และอุปถมั ภกจิ การของศาสนาพราหมณ - ฮินดูในประเทศไทย ดว ยดีเสมอมา ในสมัยรัชกาลท่ี 9 ทรงใหการสนับสนุนกิจการตาง ๆ ของศาสนิกชนในศาสนา พราหมณ - ฮินดู ท่ีเขามาอยูใตเบื้องพระบรมโพธิสมภารในประเทศไทยอีกดวย ดังเห็นไดจาก การเสด็จพระราชดําเนินไปทรงรวมกิจกรรมท่ีจัดขึ้นโดยศาสนิกชนชาวอินเดียที่นบั ถือศาสนา พราหมณ - ฮนิ ดู รวมทงั้ การเสด็จพระราชดําเนินไปทรงวางศิลาฤกษและเปด ศาสนสถานในศาสนา พราหมณ - ฮนิ ดู ทสี่ าํ คญั เชน เมอ่ื วนั ท่ี 11 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2512 พระองคแ ละสมเด็จพระนางเจาสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดําเนนิ จากพระท่นี ั่งอัมพรสถาน พระราชวงั ดสุ ิต ไปทรงเปนประธาน ในการเปด อาคาร “เทพมณเฑียร” ณ สมาคมฮนิ ดสู มาชถนนศิรพิ งษ แขวงเสาชงิ ชา กรุงเทพมหานคร รชั กาลที่ 10 หรือ “สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช เจา ฟา มหาวชิราลงกรณ สยามมกฎุ ราชกุมาร” ในขณะนั้น ไดเคยเสดจ็ ฯ แทนรชั กาลท่ี 9 ไปทรงเจิมเทวรูปพระอิศวร พระอุมา พระคเณศร พระนารายณ พระพรหม และพระราชทานเงินใหแ กห ัวหนา คณะพราหมณ ผูเ ปน ประธานในการประกอบพระราชพธิ ี ตรยี มั ปวาย - ตรีปวาย ณ พระท่นี ั่งอมั พรสถาน พระราชวงั ดสุ ิต

15 1.3 พระมหากษตั รยิ  ประเทศไทยมีพระมหากษตั ริยป กครองประเทศสืบเน่ืองมากวา 700 ป ตั้งแตสมัย สโุ ขทยั อยธุ ยา ธนบรุ ี และรตั นโกสนิ ทร การปกครองโดยระบบกษัตริยเปนวัฒนธรรมที่ไทยรับมา จากอนิ เดยี พรอมกับการรับวัฒนธรรมความเชือ่ ทางศาสนา โดยไดผ สมผสานแนวคิดหลัก 3 ประการ เขาดวยกัน คอื แนวคดิ ในศาสนาพราหมณ - ฮินดู ท่ีเช่ือวากษัตริยทรงเปนสมมุติเทพ แนวคิดใน พุทธศาสนาทว่ี า พระมหากษตั รยิ ทรงมสี ถานะเปรียบประดุจพระพุทธเจา ทรงเปน จักรพรรดิราช หรือธรรมราชา ท่ีกอปรดวยราชธรรมหลายประการ อาทิ ทศพิธราชธรรม และจักรวรรดิวัตร 12 ประการ แนวคดิ ทง้ั สองประการดงั กลาวนี้ อยบู นพืน้ ฐานของแนวคิดประการที่สาม คือ การปกครอง แบบพอ ปกครองลกู ดังปรากฏมาตงั้ แตส มัยสโุ ขทัย ดว ยเหตุนจี้ ึงทําใหการปกครองโดยระบบกษตั รยิ  ของไทย มคี วามเปนเอกลกั ษณเฉพาะตวั แตกตา งจากประเทศอ่ืน (มลู นิธสิ มเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ าร,ี 2554 : พระราชนิพนธค ํานาํ ) ตามอนุสัญญามอนเตวิเดโอวาดวยสิทธิและหนาท่ีของรัฐ (The Montevideo Convention on the Rights and Duties of State) ค.ศ. 1393 มาตรา 1 ไดกลา วถงึ องคป ระกอบของรัฐ เพอื่ วัตถปุ ระสงคในกฎหมายระหวา งประเทศวา รฐั ประกอบดวย ประชากรทอี่ ยูร วมกันอยางถาวร ดินแดนที่กําหนดไดอยางแนชัด ความสามารถที่สถาปนาความสัมพันธกับตางรัฐได (อํานาจ อธิปไตย) และมรี ฐั บาล ซง่ึ ในการปกครองประเทศไมว าจะเปน ระบอบใดกต็ าม เพ่ือใหการปกครอง เปนไปดวยความสงบเรยี บรอ ย จะตองมผี ูนาํ เปนผูบริหารปกครองประเทศ โดยที่ผูนําหรือประมุข สูงสดุ ในการปกครองประเทศของนานาอารยประเทศน้นั จะมคี วามแตกตา งกนั ไป ทง้ั นอี้ าจขนึ้ อยกู บั ระบบการปกครองประเพณนี ิยมและธรรมเนียมปฏิบัติทส่ี บื ทอดกนั มาหรือบางประเทศเกดิ การเปลยี่ นแปลง จากรูปแบบการปกครองของประเทศน้ัน ๆ เชน มีพระมหากษัตริยเปนประมุขสูงสุด หรือมี ประธานาธิบดีเปนผูปกครองประเทศหรือรัฐ สาํ หรับประเทศไทยเราน้ันมีพระมหากษัตริยเปน ประมขุ สงู สุดในการปกครองประเทศมาตัง้ แตอดีตกาล ความหมายของคาํ วา พระมหากษตั รยิ  พระมหากษัตริย คอื ประมุขหรือผปู กครองสงู สดุ ของประเทศ จะเหน็ ไดว า ประเทศไทย ต้งั แตอ ดีตจนถงึ ปจจบุ นั มพี ระมหากษัตริยเปนประมุขปกครองประเทศ อันเกิดจากแนวความคิด ท่วี า แตเดิมมนษุ ยย งั มนี อยดํารงชีพแบบเรยี บงา ยอยูกับธรรมชาติ และเม่อื มนุษยขยายพนั ธุม ากข้ึน ธรรมชาติตา ง ๆ เร่มิ หมดไป เกิดการแกง แยงกันทํามาหากิน เกดิ ปญหาสังคมขน้ึ จงึ ตอ งหาทางแกไ ข คนในสงั คมจึงคดิ วาตอ งพจิ ารณาคัดเลือกใหบุคคลทเ่ี หมาะสมและมคี วามเฉลยี วฉลาด ไดร บั การแตง ตงั้ ใหเ ปนผูพิจารณาตดั สิน เมอื่ เกิดกรณปี ญหาตาง ๆ ซึ่งตองปฏิบัติหนาท่ีดวยความบริสุทธิ์ยุติธรรม ทําใหคนในสงั คมพอใจ และยินดี ประชาชนท้ังหลายจึงเปลง อทุ านวา “ระชะ” หรือ “รชั ชะ” หรือ ราชา แปลวา ผูเปนท่ีพอใจประชาชนยินดี ตอมาเลยเรียกวา พระราชา ดวยเหตุท่ีวาการกระทํา

16 หนา ทีด่ ังกลาวไมมีเวลาไปประกอบอาชีพ ประชาชนท้ังหลายพากันบริจาคยกที่ดินให จึงเปนผูมี ท่ีดินมากข้นึ ตามลําดบั คนท้ังหลายจึงเรยี กวา เขตตะ แปลวา ผูมีท่ีดินมาก และเขียนในรูปภาษา สนั สกฤษวา เกษตตะ หรือ เกษตร ในท่สี ดุ เขยี นเปนพระมหากษัตรยิ  แปลวา ผูที่มีทีด่ ินมาก ดังนั้น คําวา พระมหากษัตริย ความหมายโดยรวม ก็คือ ผูท่ียึดครอง หวงแหนและขยายผืนแผนดินไว ใหแกประชาชนหรอื อาณาประชาราษฎร ท่ีพระองคทรงเสียสละเลือดเนื้อและชีวิตกอบกูเอกราช บานเมืองไวใหชนรุนหลัง อยางเชนประเทศไทยของเรานี้ ถาไมมีพระมหากษัตริยทรงยึดถือ ครอบครองผืนแผนดินไทยไว คนไทยทุกคนจะมีผืนแผนดินไทยอยูทุกวันนี้ไดอยางไร อน่ึง พระมหากษัตริยในนานาอารยประเทศท่ีเปนประมขุ ของรฐั ทไ่ี ดรับตําแหนง โดยการสบื สนั ตตวิ งศน น้ั อาจจาํ แนกประเภทโดยอาศยั พระราชอํานาจ และพระราชสถานะเปน 3 ประการ คือ 1. พระมหากษตั ริยในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย (Absolute Monarchy) พระมหากษัตรยิ ท รงเปน ประมขุ ของรฐั มพี ระราชอาํ นาจและพระบรมเดชานภุ าพเดด็ ขาด และลน พน แตพ ระองคเ ดียว และในอดตี ประเทศไทยเคยใชอยูกอ นการเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 2. พระมหากษัตริยในระบอบปรมิตาญาสิทธริ าชย (Limited Monarchy) คือ พระมหากษัตริยทรงมพี ระราชอํานาจทกุ ประการ เวนแตจะถกู จาํ กดั โดยบทบญั ญตั ขิ องรัฐธรรมนญู เชน ประเทศซาอดุ อิ าระเบีย เปน ตน 3. พระมหากษตั รยิ ภายใตรฐั ธรรมนูญ (Constitutional Monarchy) คือ ในระบอบนี้ มพี ระมหากษัตรยิ เ ปน ประมุข แตในการใชพระราชอาํ นาจดา นการปกครองน้ัน ถูกโอนมาเปนของ รัฐบาล พลเรือน และทหาร พระมหากษัตริยจึงทรงใชพระราชอํานาจผานฝายนติ ิบัญญัติ ฝาย บริหาร และฝายตลุ าการ พระองคม ไิ ดใ ชพระราชอํานาจ แตม ีองคก รหรือหนวยงานรับผิดชอบตาง ๆ กันไป เชน ประเทศไทย อังกฤษ และญี่ปุนในปจจบุ ัน เปน ตน พระมหากษตั รยิ ข องไทย หากนบั ยอ นอดตี ประวัติศาสตรไ ทยต้งั แตสมัยโบราณ คําวา ”กษัตริย” หรือนักรบ ผูย ่งิ ใหญ ศกึ ษาไดจากในสมัยกรุงสุโขทัยมีการปกครองแบบพอปกครองลูก จะมีความใกลชิดกับ ประชาชนมาก เชน ในสมัยราชวงศพระรวง กษัตริยจะมีพระนามข้ึนตนวา “พอขุน” เรียกวา พอขุนศรีอินทราทิตย พอขุนรามคําแหง ในสมัยกรุงศรีอยุธยาไดรับคติพราหมณมาจากขอม เรียกวา เทวราชา หรือ สมมติเทพ หมายถึง พระมหากษัตริยทรงเปนเทพมาอวตารเพ่ือปกครอง มวลมนุษย ทําใหชนชั้นกษัตริยมีสิทธิอํานาจมากท่ีสุดในอาณาจักร และหางเหินจากชนช้ัน ประชาชนมาก ในสมยั ราชวงศอ ูทอง จึงมีพระนามขนึ้ ตน วา “สมเด็จ” เรียกวา สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี 1 (พระเจา อูท อง) สมเด็จพระราเมศวร หรอื ในสมยั รัตนโกสนิ ทร แหงมหาจักรีบรมราชวงศ เริ่มดวย รชั กาลที่ 1 ถงึ รชั กาลปจจุบนั คือรชั กาลที่ 10 ซึ่งเปนการยกยองเทดิ ทลู สถาบนั องคพระมหากษัตรยิ 

17 จงึ มพี ระนามขึน้ ตนวา พระบาทสมเด็จ เชน พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลท่ี 5) พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช (รัชกาลที่ 9) ดังนนั้ คาํ วา “พระมหากษตั ริยของไทย” อาจมคี าํ เรียกที่แตกตา งกนั ตามประเพณีนยิ ม หรอื ธรรมเนียมทเี่ คยปฏบิ ัติสบื ตอ กนั มา เชน เรียกวา พระราชา เจามหาชีวิต เจาฟา เจาแผนดิน พอ เมอื ง พระเจา แผน ดิน พระเจา อยูหัว หรือในหลวง ฯลฯ และพระมหากษตั รยิ เ ปน ไดดว ยการสืบ สันตติวงศ หรือโดยการยึดอํานาจจากพระมหากษัตริยพระองคเดิมแลวปราบดาภิเษกตนเองขึ้น เปน พระมหากษตั ริย ท้ังน้ี ในการสืบสันตติวงศตอกันมาโดยเช้ือพระวงศ เรียกวา พระราชวงศ เม่ือ สิ้นสุดการสบื ทอดโดยเชอื้ พระวงศ ดวยเหตุอ่ืนใดก็ตาม พระมหากษัตริยพระองคใหม จะเปนตน พระราชวงศใ หมหรอื เปนผูสถาปนาพระราชวงศ พระมหากษตั รยิ ไทยกบั รฐั ธรรมนูญ ในอดีตพระมหากษัตริยทรงเปน เจาของชวี ิตและเจา แผนดนิ กลา วคือ ทรงพระบรม เดชานุภาพเปน ลน พน โดยหลกั แลว จะโปรดเกลาฯ ใหผูใ ดสน้ิ ชีวติ ก็ยอมกระทําได และทรงเปน เจา ชวี ติ ของท่ีดินตลอดท่ัวราชอาณาจักร แตเมื่อภายหลังมีการเปล่ียนแปลงการปกครองเม่ือวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ระบบการปกครองจากระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธิราชยเปนระบอบประชาธิปไตย ซึ่งมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ทําใหพระราชสถานะของพระมหากษัตริยไดเปลี่ยนแปลง ไปดวยคือ ทรงเปล่ียนฐานะเปนพระมหากษัตริยในระบอบประชาธิปไตยท่ีมีรัฐธรรมนูญเปน กฎหมายแมบ ทในการใชพระราชอาํ นาจทงั้ ปวง พระราชสถานะและพระราชอาํ นาจของพระมหากษตั ริย รปู แบบของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ไดกําหนดไวในรัฐธรรมนูญไทย ทกุ ฉบับอนั เปนกฎหมายแมบ ทสูงสดุ ในการปกครองประเทศ จะตอ งกลาวถึงสถาบันพระมหากษัตริย ไวในรัฐธรรมนูญ เพราะรปู แบบประมขุ ของประเทศไทย คอื พระมหากษตั ริยท่สี ืบเนื่องกนั มาอยาง ยาวนาน ตามประเพณกี ารปกครองไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข และตามรัฐธรรมนูญพระมหากษัตรยิ จ ะมีพระราชสถานะและตําแหนง หนาทต่ี าง ๆ มี 2 ประการ คือ 1) พระราชสถานะและพระราชอาํ นาจของพระมหากษัตรยิ ท บ่ี ญั ญตั ไิ วใ นรฐั ธรรมนญู เปนการกลา วถึงพระมหากษตั รยิ ต ามบทบญั ญัติของรัฐธรรมนูญแตละฉบับ เชน พระมหากษัตริย เปน องคพระประมุข หรอื พระมหากษัตรยิ เ ปนอัครศาสนูปถัมภก รวมท้งั ทรงดาํ รงตาํ แหนง จอมทพั ไทย ดังปรากฎในพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผนดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 (พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาประชาธิปก พระปกเกลาเจาอยหู ัว) หมวด 2 กษัตริย มาตรา 3 กลาววา “กษัตริยเ ปนประมขุ สูงสดุ ของประเทศ พระราชบัญญตั กิ ็ดี คําวนิ ิจฉยั ของศาลกด็ ี การอน่ื ๆ ซงึ่ จะมีบางกฎหมายระบไุ วโ ดยเฉพาะก็ดี จะตองกระทาํ ในนามของกษัตริย” และรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2540 (สมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช สยามนิ ทราธิราช

18 บรมนาถบพติ ร) หมวดที่ 2 พระมหากษัตรยิ  มาตรา 8 กลาววา “องคพ ระมหากษตั ริยท รงดาํ รงอยู ในฐานะอันเปน ที่เคารพสักการะ ผูใดจะละเมิดมิได ผูใดจะกลาวหาหรือฟองรองพระมหากษัตริย ในทางใด ๆ มไิ ด” ซึ่งบทบัญญัติเร่ืองน้ีไดรับอิทธิพลมาจากรัฐธรรมนูญของญ่ีปุน ที่สอดคลองกับ ความคดิ ความเชื่อของคนไทย ท้ังนี้ดวยมีความประสงคที่จะสําแดงพระราชสถานะอันสูงสุดของ พระมหากษัตริยใหประจักษ คติการปกครองประชาธิปไตยพระมหากษัตริยทรงอยูเหนือความ รบั ผิดชอบทางการเมือง จนเปนเหตใุ หเกิดหลกั กฎหมายรฐั ธรรมนูญที่วา “พระมหากษัตริยไมทรง กระทาํ ผิด” (The King can do no wrong) ซึง่ หมายถงึ ผูใดจะฟอ งรอ งหรือกลาวหาพระมหากษัตริย ในทางใด ๆ ไมไ ด ไมวาจะเปนในทางคดีแพงหรอื คดอี าญากต็ าม 2) พระราชสถานะและพระราชอํานาจของพระมหากษตั ริยตามประเพณีการปกครอง ตามหลกั ท่ัวไป พระมหากษตั รยิ ม ีพระราชอํานาจนอกเหนอื จากทก่ี ลาวขา งตน คือ แตเดิมพระมหากษัตริย มอี าํ นาจสิทธขิ าดในทกุ ๆ เรือ่ ง และทกุ ๆ กรณีแตผูเดียว ตอมาเมื่อมีรัฐธรรมนูญเปนลายลักษณ อักษรจํากัดพระราชอํานาจของพระมหากษัตริย ถากรณีใดไมมีบทบัญญัติไวในรัฐธรรมนูญหรือ ก ฎ ห ม า ย กํ า ห น ด ข อ บ เ ข ต ห รื อ เ ง่ื อ น ไ ข ข อ ง ก า ร ใ ช พ ร ะ ร า ช อํ า น า จ ข อ ง พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ริ ย ไ ว พระมหากษัตริยก จ็ ะยังคงมพี ระราชอาํ นาจเชนนนั้ อยูโ ดยผลของธรรมเนียมปฏิบัติ (Convention) ซ่ึงมีคาบังคับเปนรัฐธรรมนูญเชนเดียวกัน เชน พระราชอํานาจในภาวะวิกฤต กลาวคือ เมื่อเกิด วิกฤตรายแรงทางการเมอื งถึงการเผชญิ หนา ระหวา งฝายตา ง ๆ ไมวาจะเปนเหตุการณ 14 ตุลาคม 2516 หรือ 17 - 20 พฤษภาคม 2535 กด็ ี จะเห็นวา พระมหากษตั รยิ ทรงเขามาระงบั เหตรุ อนใหส งบ เย็นลงไดอยางอัศจรรย เปนตน หรือกรณีพระราชอํานาจในการยับย้ังรางกฎหมาย กรณีของ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 โดยหลักแลว รางกฎหมายไมวาจะราง รัฐธรรมนูญแกไขเพิ่มเติม รางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ เมื่อ ไดรับความเห็นชอบจากรัฐสภาแลว นายกรัฐมนตรีตองนําทูลเกลาทลู กระหมอม ภายใน 20 วัน เพ่ือพระมหากษตั รยิ ทรงลงพระปรมาภไิ ธย และเมอื่ ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแลวบงั คบั ใชเปน กฎหมายได และในกรณีท่ีพระมหากษัตริยไมทรงเห็นชอบดวยและพระราชทานคืนมายังรัฐสภา หรอื เมอ่ื พน 90 วนั แลวมไิ ดพระราชทานคนื มา รัฐสภาจะตองปรึกษารางรฐั ธรรมนญู แกไขเพิ่มเติม ถารฐั สภามมี ติยืนยนั ตามเดมิ ดว ยคะแนนเสยี งไมนอ ยกวา 2 ใน 3 ของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาท่ี มีอยูของทงั้ สองสภาแลว นายกรัฐมนตรีตองนํารา งกฎหมายนั้นข้ึนทูลเกลาถวายอีกคร้ังหน่ึง เม่ือ พระมหากษตั รยิ มไิ ดท รงลงพระปรมาภิไธยพระราชทานคนื มาภายใน 30 วนั นายกรฐั มนตรีตองนาํ รัฐธรรมนูญแกไขเพ่ิมเติม หรือพระราชบัญญัติ หรือพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญน้ัน ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาใชบงั คับเปน กฎหมายได เสมอื นหนงึ่ วาพระมหากษตั ริยไ ดทรงลงพระ ปรมาภไิ ธยแลว (มาตรา 94) เปน ตน

19 สถาบันพระมหากษัตริยก อ ใหเ กดิ คณุ ประโยชนอยา งมากมายมหาศาลตอประเทศชาติ มาต้ังแตโบราณจวบจนปจจุบันน้ี ทั้งในฐานะที่กอใหเกิดการสรางชาติ การกูเอกราชของชาติ การรักษาและพัฒนาชาติ มสี าระสําคัญท่ีควรแกการนํามาศกึ ษา คอื 1) พระมหากษัตริยทรงเปนศูนยรวมจิตใจของประชาชน พระมหากษัตริยทรง ทําใหเกิดความสํานึกเปนอันหน่ึงอันเดียวกัน แมวาสถาบันการเมืองการปกครองจะแยกสถาบัน นิติบญั ญตั ิ บรหิ าร ตุลาการ แตต องใหอํานาจของตนภายใตพระปรมาภิไธย ทําใหทุกสถาบันมีจุด รวมกัน อาํ นาจทีไ่ ดม าจากแหลงเดยี วกัน คอื พระมหากษตั ริย นอกจากน้ีพระมหากษัตริยยังทําให เกิดความสํานึกเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ระหวางหมูชนภายในชาติ โดยที่ตางเคารพสักการะและ จงรักภักดีตอพระมหากษัตริยรวมกัน แมจะมีความแตกตางกันในดานเชื้อชาติ เผา พันธุ ศาสนา ก็มีความสมานสามัคคกี ลมเกลยี วกันในปวงชนทงั้ หลาย ทาํ ใหเ กดิ ความเปนปกแผนและเปนพลังท่ี สาํ คญั ย่ิงของชาติ กลา วไดวา พระมหากษัตริยเปนศูนยรวมของชาติเปนศูนยรวมจิตใจ กอใหเกิด ความสมานสามัคคี และเปนอันหนึ่งอันเดียวกันของคนในชาติ เกิดเอกภาพทั้งในทางการเมือง การปกครองในหมูประชาชนอยางดีย่ิง พระมหากษัตริยทรงรักใครหวงใยประชาชนอยางย่ิง ทรงโปรดประชาชนและทรงใหเ ขาเฝาฯ อยา งใกลชิด ทําใหเกดิ ความจงรกั ภกั ดแี นน แฟน มากข้ึนไม เส่ือมคลายพระองคเ สด็จพระราชดาํ เนินไปทกุ แหง ไมวา จะเปนถิ่นทุรกันดารหรือมอี นั ตรายเพียงไร เพ่ือทรงทราบถึงทกุ ขสุขของประชาชน และพระราชทานพระบรมราชานุเคราะหอยางกวางขวาง โดยไมจํากัด ฐานะ เพศ วัย ประชาชนก็มีความผูกพันกับพระมหากษัตริยอยางลึกซึ้งกวางขวาง แนน แฟนมั่นคง จนยากท่ีจะมอี าํ นาจใดมาทําใหสัน่ คลอนได 2) พระมหากษตั รยิ ท รงเปน สญั ลกั ษณแ หง ความตอ เนือ่ งของชาติ สถาบนั พระมหากษตั รยิ เปน สถาบนั ประมขุ ของชาตสิ บื ตอกันมาโดยไมขาดสายขาดตอนตลอดเวลา ไมวา รัฐบาลจะเปล่ยี นแปลงไปก่ีชุดก่ีสมัยก็ตาม แตสถาบันพระมหากษัตริยยังคงอยูเปนความตอเนื่อง ของประเทศชาติ ชวยใหก ารปกครองไมมีชองวางแตมีความตอเนอ่ื งตลอดเวลา เพราะสาเหตุท่ีมี พระมหากษัตริยเ ปน ประมุขอยมู ิไดเปล่ียนแปลงไปตามรัฐบาลดวย 3) พระมหากษตั ริยไทยทรงเปนพุทธมามกะและอคั รศาสนปู ถมั ภก ทําใหเกิด ความสัมพันธแนน แฟนระหวา งคนในชาติแมจะมีศาสนาตางกนั เพราะพระมหากษตั รยิ ทรงอปุ ถมั ภ ทกุ ศาสนาแมวาพระองคจะทรงเปน พทุ ธมามกะ จงึ กอใหเกดิ พลังความสามัคคใี นชาติ ไมบ าดหมาง กันดว ยการมีศาสนาตา งกัน 4) พระมหากษตั ริยท รงเปน พลงั ในการสรา งขวญั และกาํ ลังใจของประชาชน พระมหากษัตริยท รงเปนทีม่ าแหงเกยี รติยศทงั้ ปวง กอใหเ กดิ ความภาคภมู ิ ปต ยิ ินดี และเกิดกําลังใจ ในหมปู ระชาชนท่ัวไปท่จี ะรักษาคุณงามความดี มานะพยายามกระทําความดี โดยเฉพาะอยางยิ่ง เมื่อพระองคทรงไวซ่ึงความดีงามตลอดเวลา ทําใหประชาชนผูปฏิบัติดีปฏิบัติชอบมีกําลังใจที่จะ

20 ทํางานเสยี สละตอไป จึงเสมือนแรงดลใจผลักดันใหผูมีเจตนาดี ประกอบคุณงามความดีมุงม่ันใน การปฏบิ ตั ิอยางเขมแข็ง ทงั้ ในสว นประชาชน สว นราชการหรือรัฐบาล 5) พระมหากษตั รยิ ทรงมสี วนสําคญั ในการรกั ษาผลประโยชนของประชาชนและ ทําใหก ารบริหารงานประเทศเปนไปดวยดี พระมหากษตั ริยท รงขึ้นครองราชยดวยความเห็นชอบ ยอมรบั ของประชาชน โดยมรี ฐั สภาทาํ หนาที่แทนพระองคจ ึงไดร ับการเทดิ ทูนยกยองเสมือนผูแทน อนั อยูใ นฐานะเปนท่ีเคารพสกั การะของประชาชนดวย การทพี่ ระมหากษัตริยทรงมีพระราชอาํ นาจ ท่ีจะยบั ยัง้ พระราชบัญญัติ หรือพระราชทานคําแนะนําตักเตือน คําปรึกษา และการสนับสนุนใน กจิ การตา ง ๆ ทัง้ ของรัฐบาล รัฐสภา และศาล ตามรัฐธรรมนูญจัดไดวาพระองคทรงมีสวนรวมอัน สําคญั ในการรักษาผลประโยชนข องประชาชนและกอใหเกดิ ผลดใี นการบริหารการปกครองประเทศ อยา งนอยก็ชวยใหฝา ยปฏิบตั หิ นาท่ที งั้ หลายเกิดความสํานกึ เกิดความระมดั ระวัง รอบคอบมิใหเกิด ความเสียหายตอสวนรวมมากพอสมควร พระมหากษัตริยทรงเปนประมุขและทรงเปนกลางทาง การเมืองการกําหนดหลกั การสืบสนั ตตวิ งศไ วอ ยางชดั เจนโดยกฎมณเฑียรบาลและรัฐธรรมนญู เปน เครื่องประกันวาจะทรงเปนกลางทางการเมืองไดอยางแทจริง และทําใหสามารถยับย้ัง ทวงติง ใหก ารปกครองประเทศเปนไปโดยสจุ รติ ยตุ ธิ รรมเพอ่ื ประชาชนโดยสว นรวม ซ่งึ ตา งจากประมุขของ ประเทศทม่ี าจากการเลอื กตั้งทจ่ี ะตองยึดนโยบายของกลุมหรือพรรคการเมอื งเปนหลกั 6) พระมหากษตั ริยท รงแกไขวกิ ฤตการณ สถาบันพระมหากษัตรยิ เ ปนกลไกสาํ คญั ในการยับยั้งแกไขวิกฤตการณทีร่ า ยแรงในประเทศได ไมทําใหเกิดความแตกแยกภายในชาติอยาง รุนแรงจนถึงตองตอสูกันเปนสงครามกลางเมือง หรือแบงแยกกันเปนประเทศเล็กประเทศนอย ขจัดปด เปา มิใหเ หตุการณลกุ ลามและทาํ ใหประเทศเขา สูภ าวะปกตไิ ด เพราะพระมหากษตั รยิ เปนท่ี ยอมรับของทุกฝายไมวาจะเปนดานประชาชน รัฐบาล หนวยราชการ กองทัพ นิสิต - นักศึกษา ปญญาชนท้ังหลาย หรือกลุมตาง ๆ แมกระท่ังชนกลุมนอยในประเทศ อันไดแก ชาวไทยภูเขา ชาวไทยมสุ ลมิ เปนตน 7) พระมหากษตั รยิ ทรงสง เสรมิ ความมนั่ คงของประเทศ โดยการยึดเหนี่ยวจิตใจ ของประชาชนและกองทพั พระมหากษัตรยิ ท รงดํารงตาํ แหนง จอมทัพไทยจึงทรงใสพระทัยในการ พฒั นากองทัพทัง้ ทางวัตถุและจติ ใจ ทรงเยยี่ มเยยี นปลอบขวัญทหาร พระราชทานของใชท่ีจําเปน ทรงชว ยเหลืออนเุ คราะห ผเู สียสละเพ่อื ชาติ ทาํ ใหเกิดขวญั และกําลังใจแกท หาร ขาราชการอยา งดี ยงิ่ พรอมที่จะรกั ษาความมัน่ คงและเอกราชของชาตอิ ยา งแนนแฟน 8) พระมหากษตั รยิ ท รงมีสวนเสริมสรา งสมั พันธไมตรรี ะหวางประเทศ พระมหากษัตริย ในอดตี ไดทรงดําเนนิ วิเทโศบายไดอยา งดจี นสามารถรกั ษาเอกราชไวไ ด โดยเฉพาะสมัยการลา เมืองข้ึน ในรชั กาลท่ี 4 และรัชกาลที่ 5 แหง กรงุ รัตนโกสนิ ทร สาํ หรับพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาล ปจจุบันก็ทรงดําเนินการใหเกิดความเขาใจอันดี ความสัมพันธอนั ดีระหวางประเทศตาง ๆ กับ

21 ประเทศไทย โดยเสด็จพระราชดาํ เนินเปน ทูตสันถวไมตรีกับประเทศตาง ๆ ไมนอยกวา 31 ประเทศ ทําใหน โยบายตางประเทศดาํ เนนิ ไปอยางสะดวกและราบร่ืน นอกจากน้ันยังทรงเปนผูแทนประเทศไทย ตอนรบั ประมุขประเทศ ผูนาํ ประเทศ เอกอัครราชทตู และทูตสันถวไมตรีจากตา งประเทศอีกดวย 9) พระมหากษตั ริยทรงเปน ผนู าํ ในการพฒั นาและปฏิรปู เพือ่ ประโยชนของ ประเทศชาติ การพฒั นาและการปฏริ ูปทสี่ ําคัญ ๆ ของชาตสิ ว นใหญพระมหากษัตริยทรงเปนผูนํา พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลาเจาอยูหัวทรงปูพื้นฐานประชาธิปไตย โดยการจดั ตงั้ กระทรวงตา ง ๆ ทรงสงเสริมการศึกษาและเลิกทาส ปจจุบันพระมหากษัตริยทรงเกื้อหนุนวิทยาการสาขาตาง ๆ ทรงสนับสนุนการศึกษาและศิลปวัฒนาธรรม ทรงริเริ่มกิจการอันเปนการแกปญหาหลักทาง เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยจะเห็นวา โครงการตามพระราชดําริสวนใหญมงุ แกปญหาหลกั ทางเกษตรกรรมเพ่อื ชาวนา ชาวไร และประชาชนผยู ากไรและดอยโอกาสอันเปนชนสวนใหญของ ประเทศ เชน โครงการฝนหลวง ชลประทาน พัฒนาทด่ี ิน พัฒนาชาวเขา เปนตน 10) พระมหากษตั ริยทรงมสี ว นเกอื้ หนนุ ระบอบประชาธิปไตย บทบาทของ พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ริ ย มี ส ว น ช ว ยเ ป น อ ย า ง ม า ก ที่ ทํ า ให ปร ะ ช า ช น บั ง เ กิ ด ค ว า ม เ ชื่ อมั่ น ใ น ร ะ บ อ บ ประชาธิปไตย เพราะการที่ประชาชนเกิดความจงรักภักดีและเช่ือม่ันในสถาบันพระมหากษัตริย จึ งมี ผ ล ส งให ปร ะ ช า ช น เกิ ด ค วา ม ศ รั ทธา ใ น ร ะ บอบปร ะ ช า ธิ ปไต ยอั น มี พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ริ ย เ ป น ประมขุ ดวย เน่ืองจากเห็นวาเปนระบอบท่ีเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริยอันเปนท่ีเคารพสักการะ ของประชาชนนั่นเอง กิจกรรมทา ยเร่อื งท่ี 1 สถาบนั หลกั ของชาติ (ใหผ เู รยี นไปทาํ กจิ กรรมทา ยเรอ่ื งที่ 1 ทส่ี มดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วิชา)

22 เร่อื งท่ี 2 บทสรุปสถาบนั พระมหากษตั ริยเปน ศูนยร วมใจของคนในชาติ สถาบนั พระมหากษตั ริยม ีความสําคญั และผูกพนั กับสงั คมไทย และคนไทยมาตลอด ประวัติศาสตรข องประเทศ ในฐานะทีเ่ ปน ปจ จัยแหง ความม่ันคงทที่ รงนาํ พาประเทศชาติใหอยูรอด ปลอดภยั ตลอดมา เปน ศนู ยรวมความรกั ความสามคั คขี องคนในชาติมาจนถึงปจจุบัน โดยประเทศไทย มีสถาบันพระมหากษัตริยเปนสัญลักษณของการดํารงอยูของชาติไทยมาตอเน่ือง สังคมไทย ใหความสาํ คญั กบั สถาบันพระมหากษัตริย ต้ังแตสมัยสุโขทัยจนถึงสมัยรัตนโกสินทร เปนสถาบัน ทางสงั คม ท่เี ขมแขง็ ยนื ยง ทาํ ใหป ระเทศไทยสามารถรักษาความเปน ไทยภายใตพ ระบรมโพธสิ มภาร มาจนถงึ ปจจุบนั สถาบันพระมหากษตั ริยเ ปนเสาหลักท่ีสําคญั ของสงั คมไทย ในทกุ ๆ ดาน เปน สมบัติ ล้ํ า ค า ท่ี ช า ว ไ ท ย ทุ ก ค น จ ะ ต อ ง ร ว ม กั น ป ก ป อ ง ใ ห ส ถ า บั น พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ริ ย ค ง อ ยู ต ล อ ด ไ ป พระมหากษตั ริยไทยทรงครองราชยปอ งเมือง ทาํ นบุ าํ รงุ บานเมอื ง ทํานุบาํ รุงสุข ศาสนา และสังคม มาจนถึงทุกวันนี้ แมวาประเทศไทยจะมีรูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตย แตสถาบัน พระมหากษัตริยกลับเปนที่เคารพสักการะจากประชาชนมากเชนเดิม ไมมีเปล่ียนแปลงจนถึง ปจจุบนั จนถงึ สมเดจ็ พระเจา อยหู วั มหาวชิราลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกูร รัชกาลท่ี 10 ก็ยังคงมี ความเปนหวงราษฎรในทุกเรื่อง โดยเฉพาะดานการศึกษา ทรงมีพระราชกระแสรับสั่ง ในดาน การศึกษาโดยเนนใหการศึกษา ตองมุงสรางพ้ืนฐานใหแกผูเรียน การสรางทัศนคติท่ีถูกตอง (อุปนิสยั ) ท่มี ัน่ คงเขมแขง็ การสอนใหม ีอาชีพ มงี านทาํ รวมถงึ การทาํ ใหเยาวชนมคี วามสนใจ และ เขาใจในเรื่องของสถาบันพระมหากษัตรยิ แ ละประวตั ศิ าสตรชาตไิ ทยไดอ ยางถูกตอง สถาบันพระมหากษัตริยในประเทศไทยเปนศูนยรวมใจชาวไทยท่ีสืบทอดมา ยาวนานหลายศตวรรษ เปนวัฒนธรรมการปกครองที่มีความสําคัญ บงบอกถึงแนวคิด ความเชื่อ และความหมายของสัญลักษณตาง ๆ ท่ีหลอมรวมจิตใจชาวไทยใหเปนอันหน่ึงอันเดียวกันและ สรางสรรคใ หเกิดความผาสกุ ของสงั คมโดยรวมได วฒั นธรรมการปกครองระบบกษตั รยิ ข องประเทศ ไทยจงึ มีความผกู พันอยางแนบแนน ตอ สังคมไทยมาแตอดตี จนปจ จุบัน แนวคดิ ที่วา พระมหากษัตรยิ  ทรงเปนผูปกครองที่มีคุณลักษณะพิเศษนั้นสืบเน่ืองมาจากวัฒนธรรมความเช่ือทางศาสนา ซึ่ง พัฒนาและผสมผสานมาจากแนวคดิ หลกั ตาง ๆ 3 ประการ คอื ประการแรก เปน แนวคดิ พราหมณ ฮินดซู ่งึ ถอื วาผทู ่ดี าํ รงตําแหนง กษัตริยคือองคอ วตารของพระผเู ปนเจาในศาสนาพราหมณฮินดูซึ่งมี หนา ที่หลกั ในการธาํ รงไวซ ่ึงความผาสกุ ของโลกมนุษย เปน แนวคิดเบื้องตน เมือ่ ชาวไทยรับคติความ เช่อื พราหมณฮนิ ดูเขามา ประการทีส่ อง เปนแนวคดิ ของพระพทุ ธศาสนา ซึ่งนอกจากความเช่ือเร่ือง บุญกรรมที่สงใหเปนผูมีบารมีแลว ยังมีความเช่ือวาองคพระมหากษัตริยทรงมีสถานะเปน พระพทุ ธเจาและเปน เทพ แนวคดิ เรอ่ื งเทพทางพระพทุ ธศาสนานแี้ ตกตางจากศาสนาพราหมณฮ นิ ดู ในคัมภีรจักรวาฬทปี นีซ่ึง เขียนขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2063 อธิบายวา “พระราชา พระเทวี พระกุมาร ชื่อ วาสมมตเิ ทพ, เทพท่ีอยู ณ ภาคพ้นื ดนิ และท่ีสงู กวานน้ั ชอื่ วาอปุ บัติเทพ, พระพุทธเจา พระปจเจก

23 พทุ ธเจาและพระขีณาสพช่ือวา “พระวิสทุ ธิเทพ” พระมหากษัตริยในสังคมไทยทรงมีลักษณะของ เทพ 3 ประเภทนี้ คือ สมมติเทพ อปุ บัติเทพ และวิสุทธิเทพอยูในองคเดียว ทั้งนี้ไดรวมเอาเทพ ชั้นสูงในศาสนาพราหมณฮินดูเขาไวดวย ดังท่ีสะทอนใหเห็นจากแนวคิดเร่ืองสมมติเทพหรือ สมมติเทวดา และในบริบทแวดลอมอื่น ๆ นอกจากน้ัน พระมหากษัตรยิ ไ ทยยังทรงเปนมหาสมมตริ าช ขัตติยะ และราชา ดังปรากฏคําอธิบายในหนังสือไตรภูมิพระรวงของพระเจาลิไทซ่ึงแตงข้ึนใน สมยั สโุ ขทัยวา “อันเรียกช่ือมหา สมมติราชนั้นไซร เพราะวา คนทั้งหลายยอมต้ังทานเปนใหญแล อันเรียกชื่อขัตติยะนั้นไซร เพราะวาคนทั้งหลายใหแบงปนไรนาเขานํ้าแกคนท้ังหลายแล อันเรียกช่ือวาราชาน้ัน เพราะทานน้ันถูกเน้ือ พึงใจคนท้ังหลายแล” สวนในโลกทีปสารแตงโดย พระสงั ฆราชเมธังกร ซ่ึงเปนครขู องพระเจาลิไทยกลาววา “นามราชา เพราะปกครองบุคคลอื่น ๆ โดยธรรม โดยเทยี่ งธรรม” ประการท่ีสาม แนวคิดความสัมพันธระหวา งบิดา - บตุ ร อนั เปน แนวคดิ พืน้ เมืองดัง้ เดิมที่เนน ความสมั พันธใกลชดิ ระหวา งผปู กครองกบั ผใู ตป กครอง ซึง่ ตา งไปจากสังคมทม่ี ี วรรณะ นบั ไดว าเปนความเขมแข็งของวัฒนธรรมการปกครองในระบบกษัตริยของไทยทส่ี ามารถ ดํารงสืบตอมาไดจนปจจุบัน แนวคิดท้ัง 3 ประการนี้แสดงคติความเชื่อเร่ืองสถานะขององค พระมหากษัตริยที่ผสมผสานกนั พระมหากษัตรยิ ไทยนบั แตอดีตมิไดทรงดํารงพระองคเปนเฉพาะ องคอวตารแหงพระผเู ปนเจา ของศาสนาพราหมณฮนิ ดูหรอื เปนผูบําเพ็ญบุญบารมีเฉพาะพระองค แตยังทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจ เชนเดียวกับบิดาผูดูแลบุตรดวย พระราชภาระหลักของ พระมหากษัตริยอันเปนพ้ืนฐานตามคติพราหมณฮินดูมี 4 ประการ คือ 1) พระราชทานความ ยตุ ธิ รรมอนั เปนระเบียบสากลของผูปกครองหรือผูนําท่ีจะตองสรางหรือออกกฎหมายเพื่อใหเกิด ความยุติธรรม 2) ทรงรักษาความยุติธรรมน้ัน ๆ อยางเครงครัด 3) ทรงรักษาพระศาสนาและ ประชาชน 4) ทรงสรางความผาสุกแกประชาชน นอกจากนัน้ พระมหากษัตริยยังทรงดํารงหลัก ราชธรรมในพระพุทธศาสนา ไดแก ทศพิธราชธรรม 10 ประการ สังคหวัตถุ 4 ประการ และ จักรวรรดิวตั ร 12 ประการ เมื่อประสานกับลักษณะวัฒนธรรมการปกครองแบบบิดา - บุตรแลว จงึ เปน เหตใุ หพระมหากษัตรยิ ใ นประเทศไทยมพี ระราชสถานะอนั สงู สงควรแกการยกยองสรรเสรญิ ยงิ่ ในสมัยกรุงสุโขทัย ความสัมพันธระหวางพระมหากษัตริยกับประชาชนมีความใกลชิดกันมาก พระมหากษัตริยทรงดูแลทุกขสขุ ของประชาชนดงั บิดาดแู ลบตุ ร ดังปรากฏบนั ทึกในศลิ าจารึกหลัก ท่ี 1 ของพอขุนรามคําแหงมหาราช ที่สําคัญมากก็คือวัฒนธรรมการปกครองในระบบกษัตริยนั้น เปนการปกครองโดยมีมนษุ ยธรรม จารึกสโุ ขทยั หลักท่ี 38 วัดพระมหาธาตุ - วัดสระศรีพุทธศักราช 1940 วา พระมหากษตั ริยแ หงกรุงสโุ ขทยั “จักใครข ัดพระราชสีมานดี้ งั มนษุ ยธรรม (อยา ง) พระยา รามราช” คือ กษัตริยในกรุงสุโขทัยไดปกครองประชาชนอยางมีมนุษยธรรมเชนเดียวกับพอ ขุน รามคาํ แหง กษตั รยิ แ หงกรงุ สโุ ขทัยเอาพระราชหฤทัยใสไพรฟาขาแผนดินของพระองคดังปรากฏ หลักมนุษยธรรมในไตรภูมิ พระรวงวา “รูจักผิดแลชอบ แลรูจักท่ีอันเปนบาปแลบุญ แลรูจัก

24 ประโยชนใ นช่ัวนช้ี ัว่ หนา แลรจู ักกลวั แกบ าปแลละอายแกบ าป รูจักวายากวา งาย แลรรู กั พีร่ ักนอ ง แลรเู อ็นดกู รุณาตอผูเขญ็ ใจ แลรูยาํ เกรง พอ แม ผูเถา ผแู ก สมณพราหมณาจารยอ ันอยูในสิกขาบท ของพระพุทธเจาทุกเมอื่ และรูจักคุณแกว 3 ประการ” อนั แสดงใหเ ห็นความผูกพนั ระหวางกษัตรยิ  ในฐานะของบิดา - บตุ ร ในการสอนใหท ําความดี ใหรจู ักบาปบญุ และหลักธรรมตาง ๆ ในสมัยอยุธยา พระราชสถานะของพระมหากษตั ริยเปลี่ยนแปลงไปบาง เม่ือมีคติความคิดเก่ียวกับสมมติเทวราช มาผสมผสาน พระมหากษัตริยทรงเปนเสมือนเทพเจา ดังปรากฏพระนามของ พระมหากษัตริย สมัยอยุธยา เชน สมเด็จพระรามาธิบดี สมเด็จพระรามราชา สมเด็จพระอินทรราชา สมเด็จ พระเอกาทศรถ สมเด็จพระนารายณม หาราช เปนตน ซึ่งลวนแตเปนท้ังพระนามของเทพเจาของ พราหมณฮินดูและเทพเจาในความเชื่อพ้ืนถ่ินท้ังสิ้น นอกจากนั้นพระราชกรณียกิจทั้งปวงของ พระเจา แผนดินดงั ทป่ี รากฏในพระราชพิธี 12 เดอื น หรือทต่ี ราไวในกฎมณเฑียรบาลกด็ ีลว นเปนไป เพ่อื ประโยชนสขุ ของประชาชน อาจกลาวไดว า วฒั นธรรมการปกครองในระบบกษัตริยของอยุธยานั้น ยังคงสบื ทอดมาจากแบบฉบับของกรุงสโุ ขทัยทเี่ นนความสัมพันธร ะหวางบิดา - บตุ ร แมบ ันทึกของ ชาวตา งชาติ เชน ลาลูแบรหรอื แชรแวสก็ยังระบุวา การลงโทษขนุ นางในราชสาํ นักน้ัน “เสมอดวย บิดากระทําแกบุตร และมิไดทรงลงอาญาอยางตระลาการท่ีใจเห้ียมหรือเจาขุนมูลนายท่ีเอาแต โทสจรติ ไดกระทําแกทาส” ตอมาในสมยั กรงุ ธนบุรีและกรงุ รัตนโกสนิ ทรว ัฒนธรรมการปกครองใน ระบบเดิมยังสืบทอด และธํารงไวไดเปนอยางดีในการสรางความเปนปกแผนของบานเมืองและ การสรา งขวัญกําลังใจใหเ กิดขึ้นในหมูประชาชน ดังแนวพระราชดําริในพระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟาจฬุ าโลกมหาราชวา “ตัง้ ใจจะอปุ ถมั ภก ยอยกวรพทุ ธศาสนา ปอ งกนั ขอบขณั ฑเสมา รักษา ประชาชนแลมนตรี” หรือคติ “พระมหาสมมุติราช” ซ่ึงรวมความเปนพระราชามหากษัตริยก็ได ปรากฏชัดเจนในประกาศพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก มหาราชใน พ.ศ. 2328 วา “พรรณพฤกษาชลธี แลส่ิงของในแผนดินทั่วเขตพระนคร ซ่ึงหาผูหวง แหนมไิ ดน้นั ตามแตส มณชพี ราหมณาจารยราษฎร ปรารถนาเถดิ ” แนวคิดดงั กลาวยังไดสืบตอมา จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว สวนท่ีไดปรับเปล่ียนเปนสากลก็คือ พระมหากษัตริยทรงสงั เกตเห็นความเปลย่ี นแปลงของสังคมโลก ทรงเรียนรู ศิลปวิทยาตางๆ และ ทรงเขา ถงึ ประชาชนมากข้นึ อนึ่ง ตงั้ แตในรชั กาลที่ 4 เร่มิ มแี นวคดิ ในการเปลี่ยนแปลงและยอมรับ ฐานะแหง “มหาชนนิกรสโมสรสมมติ”มากขึ้น และพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวทรง เหน็ วาความสัมพันธร ะหวา งประชาชนกบั พระมหากษตั ริยเ ปนส่งิ จําเปน ดังเชน ความตอนหนึ่งใน ประกาศเร่ืองดาวหางประกาตรศี กวา “พระเจา แผน ดินคนทั้งปวงยกยองไวเ ปน ท่พี งึ่ ใครมที ุกขรอ น ถอยความประการใดก็ยอมมารองใหชวย ดังหนึ่งทารกเมื่อมีเหตุแลว ก็มารองหาบิดามารดา เพราะฉะน้ันพระเจาแผนดนิ ช่อื วาคนทั้งปวงยกยองใหเปนบิดามารดาของตัว แลวก็มีความกรุณา แกค นทง้ั ปวง ดังหนึง่ บดิ ามารดากรุณาแกบุตรจริง ๆ โดยสุจรติ ”

25 นอกจากนัน้ การที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวทรงพระผนวช ไดเสด็จ ธุดงคตามหวั เมอื งตา ง ๆ กย็ ิง่ เปน การสรางความผูกพนั ระหวา งพระมหากษตั รยิ ก บั ประชาชนอกี ดว ย เพราะไดท รงรจู กั วิถีชีวติ ของราษฎรอยา งแทจริง ในรัชกาลตอมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจา อยหู ัว กท็ รงไดร บั การยอมรบั จากขุนนางทง้ั ปวงอยา ง “อเนกนิกรสโมสรสมมติ” ท่ีท้ังพระสงฆ พระราชวงศ และขนุ นางเห็นพองกันใหพระองคเสด็จขึน้ ครองราชย ตลอดเวลาทผี่ า นมานับแตสมยั สุโขทัยแมจะมีการเปลี่ยนแผนดินหรือมีการเปลี่ยนราชวงศแตแนวคิดระบบการปกครองแบบ กษตั รยิ ท ีเ่ คยมมี านนั้ หาไดเปลย่ี นไปดวยไม ในระบอบประชาธิปไตยพระมหากษตั ริยท รงใชพ ระราช อาํ นาจผานกระบวนการ 3 องคกร คือ อํานาจนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ เสมือนผูแบงเบา พระราชภาระของพระองค แตพระมหากษัตริยก็ยังทรงมีพระมหากรุณา พระราชทานพระบรม ราโชวาทส่งั สอน ชี้นําแนวทางการดําเนินชีวิตที่ถูกท่ีควร มีศีลธรรมกํากับ ทั้งทรงปฏิบตั ิพระองค เปนแบบอยาง ดว ยพระมหากรุณาธิคณุ นค้ี นไทยจงึ ยงั คงมคี วามผูกพันกบั องคพ ระมหากษตั ริยมาก เชน เดมิ คนไทยมีคําเอยพระนามพระมหากษัตริยอยูหลายคําที่บงบอกความรูสึก ยกยองเทิดทูน และผกู พันตอ พระองคเชน คาํ วาพระเจา แผน ดิน พระเจาอยหู วั เจาชีวติ ท้ัง 3 คํานี้มีนัยสําคัญดังน้ี พระเจาแผนดิน ตามรูปศัพท หมายถึง ผูปกครองท่ีเปนเจาของแผนดิน คือ ผูนําท่ีมีสิทธ์ิขาดใน กิจการของแผนดิน และสามารถพระราชทานท่ีดินใหแกผูใดผูหนึ่งไดแตในสังคมไทย พระเจา แผน ดินทรงเปน เจาของแผน ดินผูท รงบํารุงรกั ษาแผนดินใหมีความอุดมสมบูรณ เพ่ือใหประชาชน สามารถใชท ด่ี ินในพระราชอาณาเขตของพระองคใหเกิดประโยชน เชน ทําการเพาะปลูกใหไดผล ตลอดจนเอาพระราชหฤทัยใสในการบํารงุ แผนดินใหม คี วามอุดมสมบูรณอยูเปนนิจ ดังท่ีปรากฏเปน โครงการพระราชดําริตาง ๆ ในปจจุบันน้ี และเปนที่ประจักษในสากลวาพระเจาแผนดินไทยทรง งานหนักท่ีสุดในโลก และทรงรักประชาชนของพระองคอยางแทจริง พระเจาอยูหัวเปนคําเรียก พระเจา แผนดินทแี่ สดงความเคารพเทดิ ทนู อยา งสูงสุดและเปนยอดของมงคลท้ังปวง พระเจา อยหู ัว หรือพระพุทธเจา อยูหัว หมายถึง การยอมรับพระราชสถานะของพระเจาแผนดินวาทรงเปนองค พระพุทธเจา ดังนั้น จึงทรงเปนที่รวมของความเปนมงคล ส่ิงของตาง ๆ ที่พระราชทาน เครื่องราชอิสริยาภรณ พิธีกรรมตาง ๆ ที่จัดข้ึนโดยพระบรมราชโองการ และการไดเขา เฝาทูลละอองธุลีพระบาท หรือไดเห็นพระเจาอยูหัว จึงลวนแตเปนมงคลท้ังส้ิน เจาชีวิต เปนคํา เรียกพระเจาแผน ดินทแี่ สดงพระราชอาํ นาจเหนือชวี ติ คนท้ังปวงทอ่ี ยูใ นพระราชอาณาเขต คําคําน้ี อาจหมายถึงพระเจา แผน ดินท่ีทรงสทิ ธใ์ิ นการปกปอ งคมุ ครองชีวติ ประชาชนใหพนภัย วิบัติท้ังปวง หรือลงทณั ฑผ ูกระทําผดิ ตอพระราชกาํ หนดกฎหมาย ตลอดจนทรงชบุ ชีวติ ขาแผนดนิ ใหม คี วามสขุ ลวงความทุกข ท้ังนี้สุดแตพระเมตตาพระกรุณาธิคุณอันเปนลนพนของพระองค แตในสังคมไทย ปจ จบุ นั นัน้ คําวา เจาชีวิต หมายถึงพระเจาแผนดินผูพระราชทานกําเนิดแนวคิดโครงการตาง ๆ แกประชาชน โดยมิไดทรงใชพระราชอํานาจลวงไปเกินขอบเขตแหงราชนีติธรรม แตทรงดํารง

26 ธรรมะ เปนองคป ระกอบในการตดั สินวนิ จิ ฉัยเรื่องทั้งหลายท้งั ปวงดวย นอกจากนั้นยังปรากฏในคํา ที่ประชาชนเรียกแทนตนเองวาขาพระพุทธเจา ซ่ึงมีความหมายลึกซึ้งวาพระมหากษัตริย หรือ พระเจาแผนดิน หรือพระเจาอยูหัว หรือเจาชีวิตน้ัน เปนเสมือนหนึ่งพระพุทธเจาผูทรงพระคุณ อันประเสริฐ ประชาชนทุกคนตางไดพ่ึงพระบารมีอยูเปนนิจเหมือนอยูใตพระบรมโพธิสมภาร กลาวไดวาวัฒนธรรมการปกครองของสังคมไทยแมจะมีความเปล่ียนแปลงผานยุคสมัยตาง ๆ ก็ยังคงรักษาแนวคิดเดิมคือความสัมพันธอันใกลชิดเปนหน่ึงเดียวกันระหวางพระมหากษัตรยิ กับ ประชาชน และศาสนาไวไ ดเปน อยางดี เพราะไมวาเวลาจะผานไปนานเทาใด “พระราชาก็ยังเปนกําลัง ของคนทกุ ขย าก” ซ่ึงไดท รงสงเคราะหโ ดยทั่วทกุ ชนช้ันวรรณะใหเกดิ ความผาสุกอยูเปนนิจ ตรงตาม หลักมนุษยธรรมในไตรภูมิพระรวงดังไดกลาวมาแลวขางตนอยางไมเส่ือมคลาย และทรงเปน ศูนยร วมความจงรักภักดีของคนไทยตลอดไป (มลู นธิ สิ มเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราช กมุ าร,ี 2554 : พระราชนพิ นธคาํ นํา) กจิ กรรมทา ยเรอ่ื งท่ี 2 บทสรปุ สถาบันพระมหากษตั รยิ เ ปน ศูนยร วมใจของคนในชาติ (ใหผ เู รยี นไปทาํ กิจกรรมทา ยเรอื่ งที่ 2 ทส่ี มดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วชิ า)

27 เร่ืองท่ี 3 บญุ คณุ ของพระมหากษตั ริยไ ทยต้งั แตสมยั สุโขทัย อยุธยา ธนบรุ ี และรตั นโกสนิ ทร 3.1 สมยั สุโขทัย อาณาจักรสโุ ขทยั เปนสมยั ทเ่ี จริญรงุ เรอื งสูงสดุ ในรชั สมัยของพอขนุ รามคาํ แหงมหาราช อํานาจของอาณาจักรสุโขทัยในชวงรัชสมัยของพระองคมั่นคงมาก ไดทรงแผอาณาเขตออกไป โดยรอบ วัฒนธรรมไทยไดเจริญข้ึนทุกสาขา ดังปรากฏในศิลาจารึกหลักที่ 1 ซึ่งเจริญท้ังดาน ประวัตศิ าสตร การสงคราม ภมู ศิ าสตร กฎหมาย ประเพณี การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ปรัชญา พระพุทธศาสนา การประดษิ ฐอ กั ษรไทย และอน่ื ๆ สมัยพอขุนรามคาํ แหงมหาราช ดา นการเมอื งการปกครอง พระองคทรงใชรูปแบบการปกครองแบบพอปกครองลูก คือ พระองคทรงดูแล เอาใจใสในทกุ ขส ขุ ของราษฎรเหมือนพระองคเ ปนพอ สวนราษฎรหรือไพรฟา คือ ลูก เมื่อราษฎร มีเร่ืองเดือดรอนก็ทรงใหสั่นกระดิ่งท่ีหนาประตูวัง แลวพระองคก็จะเสด็จออกมารับฟงเรื่องราว และทรงตัดสินปญหาดว ยพระองคเอง นอกจากน้ี พระองคทรงทําสงครามขยายอาณาเขตออกไป อยา งกวา งขวางมากกวา พระมหากษัตริยพ ระองคใดในสมยั สุโขทัย ดา นเศรษฐกิจ พระองคทรงโปรดใหสรางทํานบกกั เก็บน้ําที่เรียกวา ทํานบพระรวง หรือ สรีดภงส เพื่อใชกักเก็บน้ําไวใชในฤดูแลง และพระองคทรงใหเสรีภาพแกประชาชนในการคาขายไดอยาง มอี ิสระเสรี ไมมีการเกบ็ ภาษผี านดานจากราษฎร ทีเ่ รียกวา จังกอบ ทําใหการคาขายขยายออกไป อยา งกวางขวาง และทรงโปรดใหส รา งเตาเผาเคร่ืองสังคโลกเปน จํานวนมาก เพ่ือผลติ สนิ คา ออกไปขาย ยงั ดนิ แดนใกลเคียง ดา นศิลปวฒั นธรรม พระองคท รงประดษิ ฐตัวอกั ษรไทยท่ีเรยี กวา ลายสือไทย และไดมีการพัฒนามาเปน ลําดับจนถึงอักษรไทยในปจจุบัน ทําใหคนไทยมีอักษรไทยใชมาจนถึงปจจุบัน โดยโปรดใหจารึก เร่ืองราวเหตุการณต าง ๆ ในสมัยสโุ ขทัยลงบนศิลา เม่อื พ.ศ. 1826 เรยี กวา ศลิ าจารกึ หลกั ที่ 1 สมยั พระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไท) ในสมัยพระมหาธรรมราชาท่ี 1 (พระยาลิไท) ทรงรวบรวมราชอาณาจักรสุโขทัย เปน อนั หนงึ่ อันเดียวกัน และขยายพระราชอาํ นาจออกไประหวา งแควจําปาสักกับแมนํ้าปงจนจรด แมน ้าํ นา นทางทศิ เหนอื มาไวใ นราชอาณาจักรสุโขทัย

28 ดา นศาสนา ทรงมบี ทบาทสาํ คญั ในการทาํ นบุ ํารุงและเผยแผพระพุทธศาสนา คือ ไดสงพระสงฆ ออกไปเผยแผ พระพุทธศาสนายงั ทตี่ าง ๆ เชน เมืองเชยี งใหม พษิ ณโุ ลก อยธุ ยา และหลวงพระบาง ทรงโปรดเกลา ฯ ใหซอ มพระเจดียเมืองนครชุม (กําแพงเพชร) ทรงประดิษฐานรอยพระพุทธบาท ท่ีเขาสุมนกุฏ ซึ่งอยูนอกเมืองสุโขทัย โปรดใหสรางวัดปามะมวง (สุโขทัย) ทรงโปรดใหหลอ พระพุทธรูปปางมารวิชัย มีขนาดเทากับองคพระพุทธเจา ถวายพระนามวา พระศรีศากยมุนี ประดษิ ฐานท่พี ระวหิ ารวัดพระศรีรตั นมหาธาตุ สโุ ขทยั ดา นภาษาและวรรณคดี ทรงมีความเช่ียวชาญในดานภาษาและวรรณคดีเปนพิเศษ ดังมีหลักฐานปรากฏ ในหนังสือไตรภมู ิพระรว ง วา พระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไท) ทรงนิพนธข้ึนเมื่อคร้ังยังดํารง พระยศพระมหาอุปราช ครองเมอื งศรสี ชั นาลยั หนังสอื ไตรภมู ิพระรว งเปนวรรณคดีท่ีเก่ียวของกับ พระพุทธศาสนา 3.2 สมัยอยธุ ยา สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจาอูทอง) ทรงเปนปฐมกษัตริยของกรุงศรีอยุธยา ทรงตั้งกรุงศรีอยุธยา ณ ชัยภมู ทิ เี่ อื้ออาํ นวยทัง้ ในดานความปลอดภัยจากขาศึกและความอยูดีกินดี ของชาวอยธุ ยา พ้นื ท่ีเหมาะแกการทําเกษตรกรรม บุญคุณของพระมหากษตั ริยส มัยอยุธยาทมี่ ตี อประเทศในสมัยอยุธยา ดงั นี้ 1. ทรงปฏริ ูปการปกครอง โดยทรงรวมอาํ นาจการปกครองเขา สศู นู ยกลาง คอื ราชธานี และแยกฝายทหารกับฝายพลเรือนออกจากกัน การแตงตั้งตําแหนงขาราชการใหมีบรรดาศักดิ์ ตามลําดบั จากต่ําสุดไปสงู สุด คือ ทนาย พนั หม่นื ขุน หลวง พระ พระยา และเจาพระยา มกี ําหนด ศกั ดนิ าเพื่อเปนคา ตอบแทนการรบั ราชการ ทรงตัง้ กฎมณเฑียรบาลข้ึนเปนกฎหมายสําหรบั การปกครอง 2. ทรงประกาศใชกฎหมายลักษณะสําคัญ คือ กฎหมายศักดินา เปนการกําหนด สทิ ธิหนาทม่ี ูลนายและไพร 3. โปรดเกลาฯ ใหประชมุ นกั ปราชญร าชบณั ฑติ แตง หนงั สอื มหาชาตคิ ําหลวง นบั วา เปน วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาเรอื่ งแรกของกรุงศรีอยธุ ยา และเปน วรรณคดีที่ใชเ ปนแนวทาง ในการศกึ ษาภาษาและวรรณคดขี องไทย พรอมท้ังสรา งวดั จฬุ ามณี 4. ทรงรวมอาณาจกั รสโุ ขทยั เปนสวนหนงึ่ ของอยธุ ยาโดยสมบรู ณ

29 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ตลอดรชั สมยั ของพระองคทรงกอบกูกรุงศรีอยุธยาจากพมา และไดทําสงครามกับ อริราชศตั รูทงั้ พมาและเขมร จนราชอาณาจกั รไทยเปน ปก แผนม่ันคง ขยายดนิ แดนไดอยา งกวา งขวาง บญุ คุณของพระองคท ีม่ ีตอประเทศชาติในดา นตาง ๆ ดังนี้ ดา นการเมืองการปกครอง พระองคโปรดใหป รบั ปรงุ การปกครองหัวเมอื งใหญเ ปนการรวมอาํ นาจเขาสูศูนยกลาง ยกเลิกระบบเมืองพระยามหานคร ยกเลิกใหเจานายไปปกครองเมืองเหลานี้ แลวใหขุนนางไป ปกครองแทน จัดหัวเมืองตามความสําคัญและขนาดเปน เอก โท ตรี จตั วา ดานการคาขาย ทรงสง ทูตไปประเทศจนี เพ่อื รับรองฐานะกษตั รยิ ของพระองคและติดตอคาขายกับ ประเทศจีน ขยายการคา ไปประเทศสเปน สมเดจ็ พระนารายณม หาราช พระองคทรงเปนพระมหากษัตริยท ท่ี รงพระปรีชาสามารถมาก ทําใหกรุงศรีอยุธยา ในรัชสมยั ของพระองค มีความเจรญิ รุงเรืองกาวหนาในทุกดาน ทั้งในดา นเศรษฐกิจ การตางประเทศ การศกึ ษา ศลิ ปวฒั นธรรม และวรรณคดที ่สี าํ คญั หลายเรอ่ื งเกดิ ขึน้ ในรชั สมยั ของพระองค จนไดชื่อวา เปนยคุ ทองของวรรณคดใี นสมยั กรงุ ศรีอยุธยา ในรัชสมัยของพระองค ไดมีชาวตะวันตกเดนิ ทางเขามาติดตอ คาขาย เผยแผศาสนา ตลอดจนเขา รับราชการ ทําใหช าวตะวนั ตกยอมรับนับถอื กรุงศรอี ยุธยาเปน อยางมาก ในดา นการคา ขาย ไดม ีการติดตอคา ขายกับตา งประเทศมากย่ิงกวาในรัชสมัยอ่ืน ๆ ทั้งฮอลันดา ฝรั่งเศส และอังกฤษ ทรงโปรดเกลาฯ ใหตอเรือกําปนหลวง เพ่ือทําการคาขาย กับตา งประเทศ จึงทาํ ใหอยุธยาเปนศนู ยกลางการคากับตางประเทศ มีเศรษฐกิจรุงเรือง มีรายได จากการจดั เก็บภาษอี ากรเปนจํานวนมาก 3.3 สมยั ธนบุรี สมเดจ็ พระเจาตากสินมหาราช พระองคมพี ระราชกรณยี กจิ ทส่ี าํ คญั คอื การรวบรวม กําลังไวตอสูกับพมา สรางความเปนปกแผนของพระราชอาณาจักรบุญคุณของพระองคที่มีตอ ประเทศชาติในดานตา ง ๆ ดา นเศรษฐกจิ เมื่อเศรษฐกิจของบานเมืองอยูในภาวะตกต่ํา ทรงแกไขปญหาเฉพาะหนาไดเปน อยา งดี โดยสละพระราชทรัพยซ อ้ื ขา วสารจากพอคา ตางเมือง

30 ดา นวรรณกรรม ทรงสนพระทัยดานวรรณกรรม ทรงนิพนธบทละครเร่ืองรามเกียรติ์ ทํานุบํารุง พระพทุ ธศาสนาใหร งุ เรอื งดังแตกอ น นอกจากนี้พระองคยงั ทรงเปนนักรบและนักปกครองชั้นดีเย่ียม มีคุณลักษณะผูนํา อยูเต็มตวั ท้ังในยามคบั ขันและยามปกติ 3.4 สมยั รตั นโกสนิ ทร พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลท่ี 1) โปรดใหย า ยราชธานี จากกรุงธนบุรีไปยังท่ีแหงใหมซึ่งอยูคนละฝงของแมน้ําเจาพระยา เม่ือ พ.ศ. 2325 ตอมาได พระราชทานนามวา กรงุ รัตนโกสนิ ทร หรือกรุงเทพฯ ในปจ จุบนั การสรางพระบรมมหาราชวัง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช พระองคโปรดใหส รา งวัดข้นึ ในพระบรมมหาราชวัง คอื วัดพระศรีรตั นศาสดาราม หรือวัดพระแกว แลว อัญเชิญพระแกว มรกตมาประดษิ ฐาน ในสมัยรัชกาลท่ี 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวทรงเปลี่ยนนโยบาย ตา งประเทศ มาเปนการคากับชาวตะวันตก เพื่อความอยูรอดของชาติ เน่ืองจากทรงตระหนักถึง ภยั จากลัทธจิ กั รวรรดนิ ยิ ม ซงึ่ กําลังคุกคามประเทศตา ง ๆ อยใู นขณะนัน้ จดุ เรมิ่ ของการเปล่ียนแปลงนโยบายตา งประเทศ คอื การทาํ สนธิสญั ญาเบาวริง กับ อังกฤษ ใน พ.ศ. 2398 โดยพระนางเจา วกิ ตอเรยี ไดแตง ตัง้ ให เซอร จอหน เบาวริง เปนราชทูตเขามา เจรจา สาระสําคญั ของสนธสิ ญั ญาเบาวริง มีดงั นี้ 1. องั กฤษขอต้ังสถานกงสลุ ในประเทศไทย 2. คนองั กฤษมสี ทิ ธิเชาท่ดี ินในประเทศไทยได 3. คนอังกฤษสามารถสรา งโบสถ และสามารถเผยแพรศ าสนาคริสตได 4. เก็บภาษขี าเขาไดไ มเ กนิ รอยละ 3 5. พอคา อังกฤษและพอ คา ไทยมีสทิ ธคิ า ขายกันไดโดยเสรี 6. สินคาตอ งหา ม ไดแ ก ขา ว ปลา เกลอื 7. ถาไทยทําสนธิสัญญากับประเทศอื่น ๆ ท่ีมีผลประโยชนเหนือประเทศอังกฤษ จะตองทําใหองั กฤษดว ย 8. สนธิสัญญาน้ีจะแกไขเปลี่ยนแปลงได จนกวาจะใชแลว 10 ป และในการแกไข ตอ งยินยอมดว ยกันทัง้ สองฝา ยและตองบอกลว งหนา 1 ป

31 ผลจากการทําสนธสิ ญั ญาเบาวรงิ ในสมัยรชั กาลท่ี 4 ทําใหส ภาพสังคมไทยเปลีย่ นแปลง ในดา นตา ง ๆ มีดังน้ี 1. ดานการปกครอง รัชกาลที่ 4 ทรงแกไขเปล่ียนแปลงประเพณี คือ เปดโอกาสใหราษฎรเขาเฝาได โดยสะดวกใหร าษฎรเขา เฝา ถวายฎีการองทกุ ขไดใ นขณะทท่ี รงเสดจ็ พระราชดําเนิน รัชกาลท่ี 5 ทรงเปลี่ยนแปลงสถานะของไพรใหเปนพลเมืองปลดปลอยทาส ซง่ึ นาํ ไปสูการเลิกทาส และปฏิรปู การศกึ ษาโดยการจัดต้ังโรงเรียนข้ึนในวัดสําหรบั ราษฎร รัชกาลท่ี 6 ทรงประกาศใชพระราชบัญญตั ิ โปรดใหใชพทุ ธศักราช (พ.ศ.) เปนศักราช ทางราชการ แทนรัตนโกสินทรศก (ร.ศ.) เปลี่ยนแปลงการนับเวลาทางราชการ ใหสอดคลองกับ สากลนิยม โปรดใหกําหนดคํานําหนาชื่อเด็กหญิง เด็กชาย นางสาว และ นาง เปล่ียนแปลง ธงประจําชาติ จากธงรปู ชางเผอื ก มาเปน ธงไตรรงคตรากฎมณเฑียรบาลวาดวยการสืบสันตติวงศ ตามแบบประเทศยโุ รป 2. การปฏริ ูปกฎหมายและการศาล รชั กาลที่ 4 ทรงตรากฎหมายขน้ึ หลายฉบบั เพ่อื ใหทันสมยั และเหมาะสมกับสภาพ บานเมอื ง เชน กฎหมายเกี่ยวกับมรดก สนิ สมรส ฯลฯ รชั กาลท่ี 5 การปฏิรูปกฎหมายและการศาลครั้งสําคัญ โดยมีกรมหลวงราชบุรี ดเิ รกฤทธ์ิ (พระบิดาแหงกฎหมาย) เปนกําลงั สาํ คญั ผลการปฏิรูปกฎหมายและการศาล มีดงั นี้ 1. โรงเรียนสอนวชิ ากฎหมาย 2. ตรากฎหมายฉบบั ใหมแ ละทนั สมัยที่สดุ คอื กฎหมายลักษณะอาญา 3. จัดตัง้ กระทรวงยุตธิ รรมขึ้น รัชกาลท่ี 6 โปรดใหป ฏริ ปู กรมรางกฎหมายเพ่มิ เติม เปนตน 3. ดา นเศรษฐกจิ ภายหลังการทําสนธิสัญญาเบาวริงแลว การคาของไทยเจริญกาวหนาขึ้นมาก ทําใหมีการปรบั ปรงุ ดา นเศรษฐกจิ ดงั นี้ รัชกาลท่ี 4 ทรงเปลี่ยนการใชเ งนิ พดดว งมาเปนเงนิ เหรียญ และขดุ คลอง ตดั ถนน เพิ่มขึ้นหลายสาย รัชกาลท่ี 5 โปรดเกลาฯ ใหเ ปลี่ยนมาตราเงินไทยมาใชระบบทศนิยมกําหนดให 1 บาท มี 100 สตางค สรา งเหรียญสตางคทาํ ดวยทองขาว และเหรยี ญทองแดง และไดโปรดเกลา ฯ ไดพิมพธ นบตั รขนึ้ ใช โดยตราพระราชบัญญัติธนบตั ร ร.ศ. 121 (พ.ศ. 2445) และตงั้ กรมธนบัตรข้นึ สงั กัดกระทรวงพระคลงั มหาสมบัติ นอกจากนี้ยงั ประกาศใชพ ระราชบัญญัติมาตราทองคํา ร.ศ. 127 (พ.ศ. 2451) โดยใชท องคําเปน มาตรฐานเงนิ ตราแทนเงนิ และไดประกาศยกเลิกการใชเงินพดดวง

32 เหรียญ เฟอง เบ้ยี ทองแดงตาง ๆ เบย้ี สตางคท องขาว โดยใหใ ชเ หรียญบาท สลึง และเหรียญสตางค อยางใหมแ ทน และขดุ คลอง ตัดถนนเพ่มิ ข้นึ หลายสาย รชั กาลท่ี 6 โปรดตง้ั คลงั ออมสินข้ึน (ปจจุบัน คือ ธนาคารออมสิน) 4. ดา นการศกึ ษา รชั กาลท่ี 4 ตัง้ โรงเรยี นชายขึ้นท่ีตาํ บลสาํ เหร และโรงเรียนกลุ สตรีวงั หลัง รัชกาลที่ 5 ไดมีการปฏิรูปการศึกษาขึ้น คือ โรงเรียนนายทหารมหาดเล็ก โรงเรียน พระตําหนักสวนกุหลาบและโรงเรยี นวัดมหรรณพาราม (แหงแรก) ไดโ ปรดใหจดั ต้ังกระทรวงธรรมการขึ้น เพอ่ื รบั ผิดชอบในดา นการศกึ ษา และยงั ไดพ ระราชทานทนุ เลา เรียนหลวงอีกดว ย รัชกาลที่ 6 มีดังน้ี 1. ตราพระราชบัญญัตปิ ระถมศึกษาขึ้นใชใ นป พ.ศ. 2464 2. ใหเรียกเกบ็ เงิน “ศกึ ษาพลี” จากราษฎรเพื่อบํารงุ การศึกษาทอ งถิ่น 3. ตง้ั มหาวทิ ยาลยั ขึน้ เปน แหงแรก คอื จุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลัย 5. ดานศาสนา รชั กาลท่ี 4 ทรงประกาศใชพ ระราชบญั ญัติ ลกั ษณะการปกครองสงฆเปนฉบับแรก โดยมีสมเด็จพระสังฆราช เปน ผปู กครองสูงสุด มมี หาเถรสมาคมใหคําปรกึ ษา และโปรดใหสรางวัด ขึ้นหลายแหง เชน วัดโสมนัสวหิ าร วัดราชประดิษฐ วดั ปทมุ วนาราม รัชกาลที่ 5 ทรงมีพระราชกรณยี กิจท่สี ําคญั คอื โปรดใหจัดต้งั สถานศึกษาสําหรบั พระสงฆข้ึน 2 แหง ซึ่งตอมาเปนมหาวิทยาลัยของสงฆ หรือมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนา มกี ารศกึ ษาถงึ ระดับปรญิ ญาเอก คือ 1. มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั อยูท ี่วัดมหาธาตุฯ เปน สถานศกึ ษาของพระสงฆ ฝายมหานกิ าย (ปจ จบุ ัน คือ มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั การใหบริการดานการศึกษา เชนเดยี วมหาวิทยาลัยมหามงกุฎราชวิทยาลัย) 2. มหามงกฎุ ราชวิทยาลยั อยูท ่วี ดั บวรนเิ วศวิหาร เปนสถานศึกษาของพระสงฆ ฝา ยธรรมยุตินิกาย (ปจจุบัน คือ มหาวิทยาลัยมหามงกุฎราชวิทยาลัย การใหบริการดานการศึกษา เชน เดียวกบั มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย) 6. ดานขนบธรรมเนยี มประเพณี รัชกาลท่ี 4 ทรงประกาศใหขาราชการสวมเสื้อเวลาเขาเฝา ทรงใหเสรีภาพ ประชาชน ในการนับถือศาสนา การประกอบอาชีพ โปรดใหสตรไี ดยกฐานะใหส งู ขนึ้ รัชกาลท่ี 5 โปรดเกลาฯ ใหขาราชการสวมเส้ือราชปะแตน และสวมหมวก อยางยโุ รป ใหข าราชการทหารแตงเคร่ืองแบบตามแบบตะวันตก โปรดใหผ ูชายในราชสํานัก ไวผม

33 ทรงมหาดไทย เปลย่ี นมาไวผ มตัดยาวทัง้ ศรี ษะแบบฝรง่ั โปรดใหผหู ญิงเลกิ ไวผมปก ใหไวผ มตัดยาว ท่ีเรียกวา “ทรงดอกกระทมุ ” 7. ดา นศิลปกรรม รัชกาลท่ี 4 เร่ิมมีการกอสรา งแบบตะวนั ตก เชน พระราชวงั สราญรมย พระนครคีรี ทีเ่ พชรบรุ ี ดา นจติ รกรรม ไดแก ภาพเขียนฝาผนังในพระอโุ บสถ และวหิ ารวัดบวรนเิ วศวิหาร จติ รกรเอก ในสมัยน้ี ไดแ ก ขรัวอนิ โขง ซ่ึงเริม่ เขียนภาพแบบสามมิติ ตามแบบตะวนั ตก เปน บุคคลแรก รัชกาลท่ี 5 สถาปตยกรรมไดร บั อทิ ธิพลแบบตะวนั ตกมากขึน้ ประติมากรรม ไดแ ก พระพุทธชินราชจําลอง พระบรมรูปหลอพระมหากษัตริย 4 รัชกาล พระราชนิพนธท่ีสําคัญของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจา อยหู วั ไดแก พระราชพธิ ีสิบสองเดือน พระราชนพิ นธไ กลบาน รัชกาลที่ 6 มีการกอ สรางตามแบบไทย ไดแก หอประชมุ โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย การกอ สรางแบบตะวนั ตก เชน พระราชวงั สนามจนั ทร ดานจิตรกรรม ไดแก ภาพเขียนท่ีฝาผนังวิหารทิศ ท่ีจังหวัดนครปฐม การกอสราง พระพทุ ธรปู เชน พระแกว มรกตนอ ย ดานดนตรี และการแสดงละคร มีความรุงเรืองมาก มีการแสดงละครเพ่ิมข้ึน หลายประเภท เชน ละครรอ ง ละครพดู ดา นวรรณคดี ไดม พี ระราชนพิ นธหลายเรือ่ ง เชน เวนิสวาณิช ฯลฯ ไดม กี ารกอ ตง้ั วรรณคดสี โมสรขน้ึ ดวย นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองครั้งสําคัญท่ีสุดของไทย คือ การเปล่ียนแปลงการปกครอง จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริยทรงเปนพระประมุขในป พ.ศ. 2475 ซ่ึงตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 7 ซึ่งถือวาเปนบุญคุณอันใหญหลวงที่พระมหากษัตริยไดทําเพื่อ ประชาชนของพระองค ในรชั สมัยของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) พระองคมพี ระราชกรณยี กิจดานการพัฒนาทสี่ ําคญั คือ การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม เปนส่ิงท่ีทรงสนพระราชหฤทัยอยางย่ิง ทรงตระหนักวาปญหาเกษตรกรมาจาก ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่เสื่อมโทรม ถูกทําลายจํานวนมาก ทรงคิดคน ดัดแปลง ปรับปรุง และแกไขดวยการพัฒนาท่ีดําเนินการไดงาย ไมยุงยากซับซอน สอดคลองกับสภาพ ความเปนจริงของความเปนอยู และระบบนิเวศในแตละภูมิภาค พระราชกรณียกิจที่ทรงปฏิบัติ มาตลอดรชั สมยั เปนทยี่ อมรบั ทรงสรา งรูปแบบที่เปนตวั อยา งของการพฒั นาแบบย่ังยืน ผสมผสาน ความตอ งการของราษฎรใหเ ขากบั การประกอบอาชีพ โดยทรงนําพระราชดําริมาปฏิบัติจริง และ

34 สามารถพฒั นาใหเ ปน ทฤษฎีใหม ซึ่งเปนระบบการจดั การท่ดี นิ และแหลง นํา้ เพ่ือการเกษตรที่ยั่งยืน ทําใหเกษตรกรสามารถดาํ เนนิ ชีวติ ไดอยา งมีความสขุ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลท่ี 9) ทรงปฏิบัติ พระราชกรณียกิจเพ่ือการพัฒนาประเทศ โดยทรงเนน คนเปนศูนยกลางตลอดมา พระองคเปน ตน แบบการบริหารจัดการท่ีดีในทุกพระราชภารกิจ ในฐานะพระมหากษัตริยภายใตรัฐธรรมนูญ ทรงเก้ือหนุนการบรหิ ารราชการทกุ รฐั บาล แนวพระราชดําริจํานวนมากท่ีพระราชทานใหรัฐบาล นาํ ไปปฏิบัตลิ ว นมีจุดมุงหมายใหป ระชาชนชาวไทยมคี วามสขุ ไดรับบริการจากรฐั อยา งท่วั ถึง เขา ถงึ ทรัพยากรของชาตอิ ยางเทา เทยี มกนั แนวพระราชดํารดิ า นการเกษตรท่ีสาํ คัญ คอื “ทฤษฎใี หม” เปนการใชประโยชน จากพ้นื ท่ที ี่มีอยูจํากัดใหเกิดประโยชนสงู สดุ พ.ศ. 2540 ประเทศไทยประสบปญหาภาวะเศรษฐกิจตกต่ํา พระบาทสมเด็จ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช (รัชกาลที่ 9) พระราชทานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทรงช้ีแนะแนวทางการดาํ เนนิ ชีวติ ใหแกร าษฎร เปน ผลใหเ กดิ การพฒั นาสงั คมและทรัพยากรบุคคล อยางม่ันคง ย่ังยืน และสงบสุข ซึ่งโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริในรัชสมัยของพระองค มีท้ังสิน้ มากกวา 4,000 โครงการ อยูในความรับผิดชอบของสํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือ ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ (สาํ นกั งาน กปร.) นอกจากน้ีพระองคยังทรงมีพระปรีชาสามารถในศาสตรสาขาตาง ๆ ซึ่งสงผลตอ การพัฒนาท้งั สนิ้ ท้งั ในดานการประดษิ ฐ ไดแ ก การประดิษฐ “กังหันชัยพัฒนา” ซ่ึงเปนเครื่องกล เตมิ อากาศแบบทุน ลอย ดานวรรณศิลป พระองคทรงเชี่ยวชาญในภาษาหลายภาษา ทรงพระราชนิพนธ บทความ แปลหนังสือ เชน นายอนิ ทรผูปด ทองหลงั พระ ติโต พระมหาชนก และพระมหาชนกฉบับ การตูน เปนตน งานทางดานดนตรี พระองคทรงพระปรีชาสามารถเปนอยางมากและรอบรูในเรื่อง การดนตรีเปนอยา งดี พระองคท รงดนตรีไดหลายชนดิ เชน แซ็กโซโฟน คลาริเน็ต ทรัมเปต กีตาร และเปยโน พระองคยงั ไดป ระพันธเพลงที่มีความหมายและไพเราะหลายเพลงดวยกัน เชน เพลง พระราชนิพนธแสงเทยี น เปนเพลงแรก นอกจากน้ียังมเี พลงสายฝน ยามเย็น ใกลรงุ ลมหนาว ยิ้มสู สายลม ค่ําแลว ไกลกงั วล ความฝนอนั สงู สุด เราสู และเพลงพรปใ หม เปน ตน ในรชั สมัยสมเดจ็ พระเจา อยูห วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู (รชั กาลท่ี 10) พระราชกรณียกิจของพระองคท่สี าํ คญั เชน พระองคทรงใสพระราชหฤทัยในการสงเสริมการศึกษา ของเยาวชนไทย โดยทรงรบั โรงเรยี นหลายแหง ไวใ นพระราชปู ถมั ภ เนอื่ งจากทรงตระหนกั วา การศกึ ษา จะสามารถพฒั นาเยาวชน ซ่ึงเปนกําลังหลักในการพัฒนาประเทศชาติในอนาคต ทรงมีพระราชดําริ

35 ดานการสงเสริมการศึกษา ไดแก “โครงการทุนการศึกษาสมเดจ็ พระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณ บดินทร เทพยวรางกรู ” เพอื่ สนบั สนนุ และสง เสรมิ การศึกษาแกเดก็ และเยาวชน นอกจากนี้ พระองคยังทรงหวงใยและทรงคํานึงถึงความอยูดีมีสุขของประชาชน เปน สําคญั และพระองคมีพระราชปณิธานแนว แน ท่จี ะทําใหป ระเทศชาตมิ น่ั คงและประชาชนมชี วี ติ ความเปนอยทู ดี่ ขี น้ึ ดวยมพี ระราชประสงคทจี่ ะสบื สาน รักษา และตอยอดโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดําริและแนวพระราชดําริตาง ๆ ในการบําบัดทุกขและบํารุงสุขใหประชาชนและพัฒนา ประเทศใหเจริญกาวหนาทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหหนวยราชการในพระองค รวมกับ หนวยราชการตาง ๆ และประชาชนทุกหมูเหลาท่ีมีจิตอาสา บําเพ็ญสาธารณประโยชนในพ้ืนที่ตาง ๆ เพื่อบรรเทาความเดือดรอน และแกไขปญหาใหแกประชาชน ไมวาจะเปนปญหานํ้าทวมในเขต ชุมชน ปญหาการจราจร และอ่ืน ๆ เพื่อสืบสานพระราชปณิธานพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) ที่ทรงหวงใยปญหานํ้าทวมและปญหาการจราจรในเขตพื้นท่ี กรุงเทพมหานครและจังหวัดตาง ๆ ซึ่งพระองคทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหจัดโครงการจิตอาสา “เราทาํ ความดี ดว ยหวั ใจ” ระหวา งวันที่ 28 กรกฎาคม - 3 สงิ หาคม พ.ศ. 2560 ในพนื้ ทก่ี รงุ เทพมหานคร เพื่อเปน แบบอยางในการพัฒนาสภาพแวดลอม และความเปน อยูในชุมชนใหมีสภาพท่ดี ีขน้ึ ดังนั้น โครงการจิตอาสา “เราทําความดี ดวยหัวใจ” โครงการในพระราชดําริ สมเด็จพระเจาอยูหัว ไดปลุกจิตสํานึกในการทําความดี ปลูกฝงใหคนทุกเพศทุกวัย ไดตื่นตัว ในการบาํ เพ็ญตนใหเปน ประโยชนแ กส งั คม ชุมชน และประเทศชาติ กจิ กรรมทา ยเร่อื งที่ 3 บุญคณุ ของพระมหากษตั ริยไทยต้ังแตสมัยสโุ ขทัย อยุธยา ธนบุรี และรตั นโกสนิ ทร (ใหผ เู รียนไปทาํ กจิ กรรมทายเรื่องที่ 3 ท่สี มดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรยี นรปู ระกอบชุดวชิ า)

36 หนวยการเรียนรูที่ 2 การประยุกตใ ชว ิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร สาระสาํ คญั การศึกษาเร่ืองราวทางประวัติศาสตรไมวาจะในยุคสมัยใดลวนเริ่มตนจากความ สงสัยใครรูอันเปนคุณลักษณะท่ีติดตัวมนุษยมาต้ังแตกําเนิด โดยการศึกษาประวัติศาสตร เปรยี บเสมือนการศึกษาคน ควา ความจรงิ ทางวทิ ยาศาสตรที่ตองมขี ้นั ตอนทีไ่ ดร บั การยอมรบั วธิ กี าร ทางประวตั ศิ าสตร จงึ เปน เคร่ืองมอื ทนี่ าํ มาชว ยในการศึกษาคนควาเพือ่ หาขอเท็จจริงทางประวัติศาสตร ใหอ อกมาสมบูรณ กอใหเกิดองคความรูใหมทางประวัติศาสตรที่จะชวยเติมเต็มความสงสัยใครรู ของมนษุ ยตอไปอกี ในอนาคต ตัวชวี้ ัด 1. อธบิ ายความหมาย ความสาํ คญั และประโยชนของวิธกี ารทางประวัตศิ าสตร 2. อธบิ ายวธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร 3. ประยุกตใ ชวิธีการทางประวัตศิ าสตรในการศึกษาเร่อื งราวทางประวัตศิ าสตร ทส่ี นใจ ขอบขายเนอ้ื หา เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสาํ คัญ และประโยชนของวิธกี ารทางประวัติศาสตร เรือ่ งที่ 2 วิธีการทางประวัติศาสตร 2.1 การกาํ หนดหวั เรอ่ื งที่จะศึกษา/การตง้ั ประเดน็ ท่ีจะศกึ ษา 2.2 การรวบรวมหลกั ฐาน/สืบคน และรวบรวมขอมูล 2.3 การประเมนิ คา ของหลักฐาน/การวิเคราะหแ ละตคี วามขอ มลู ทาง ประวัติศาสตร 2.4 การวิเคราะห สังเคราะห และจัดหมวดหมขู อ มูล 2.5 การเรยี บเรียงและนาํ เสนอขอมูล เรื่องท่ี 3 ตัวอยางการนําวิธกี ารทางประวัติศาสตรมาใชศ ึกษาประวตั ิศาสตรไทย

37 สื่อการเรียนรู 1. ชดุ วชิ าประวัติศาสตรช าตไิ ทย รหัสรายวิชา สค32034 2. สมดุ บันทึกกจิ กรรมการเรยี นรูประกอบชุดวิชา เวลาที่ใชในการศกึ ษา 36 ชว่ั โมง

38 เรื่องท่ี 1 ความหมาย ความสาํ คญั และประโยชนข องวธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร ประวตั ิศาสตรเ ปน การศึกษาเรอ่ื งราวของมนุษยในอดีต โดยอาศัยหลักฐานท่ียังคง หลงเหลืออยูในปจ จุบัน โดยใชวิธีการทางประวัติศาสตรในการศึกษาประเด็นท่ีสนใจ อยางเปน ระบบ ตง้ั แตการกาํ หนดหวั ขอเร่ืองท่ีจะศึกษา การรวบรวมหลกั ฐาน และการเรยี บเรยี ง พรอมนําเสนอ ซ่ึงจะทําใหส ามารถสรา งองคความรูใหมไ ด อยา งมเี หตุผล และมีความนาเช่ือถือ ซี่งการเรียนรูวิธีการ ทางประวัตศิ าสตรจะชวยใหผูเรยี น รจู กั สืบคน หาขอ เท็จจรงิ ทางประวตั ิศาสตรไดอ ยางถกู ตอง 1. ความหมายของวิธีการทางประวัตศิ าสตร วิธีการทางประวตั ิศาสตร หมายถงึ วธิ กี าร หรือข้ันตอนตาง ๆ ท่ีใชในการศึกษา คนควา วิจัยเก่ียวกับเรื่องราวทางประวัติศาสตร โดยเฉพาะอาศัยจากหลักฐานท่ีเปนลายลักษณ อักษรเปน สาํ คัญ ประกอบกบั หลักฐานอ่ืน ๆ เชน ภาพถา ย แถบบันทึกเสยี ง วดี ิทัศน หลักฐานทาง โบราณคดี เปน ตน เพอื่ ใหส ามารถฟน อดตี หรือจําลองอดตี ขึ้นมาใหม ไดอยางถูกตอ ง ตรงประเด็น และลาํ ดบั เรือ่ งราวไดอยา งใกลเคียงกับความเปนจริงที่สุด 2. ความสาํ คญั ของวธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร วิธีการทางประวตั ศิ าสตรมีความสําคัญ คือ ทําใหเรื่องราว กิจกรรม เหตุการณ ที่เกดิ ข้ึนในประวตั ิศาสตรมคี วามนาเชอ่ื ถอื มีความถกู ตอ งเปน จรงิ หรอื ใกลเ คียงกับความเปนจริง มากทสี่ ุด เพราะไดม กี ารศกึ ษาอยางเปน ระบบ อยางมีขั้นตอน มีความระมัดระวังรอบคอบ โดยผูไดรับ การฝกฝนในระเบยี บวธิ ีการทางประวัติศาสตรมาดแี ลว สาํ หรบั การศึกษาประวัติศาสตรนน้ั มีปญหาท่ีสําคัญประการหน่ึง คือ อดีตท่ีมี การร้ือฟน หรือ จาํ ลองขน้ึ มาใหมนนั้ มีความถูกตอง สมบรู ณ และเชอ่ื ถือไดเ พียงใด รวมทง้ั หลักฐาน ที่เปนลายลักษณอักษรและไมเปนลายลักษณอักษรที่นํามาใชเปนขอมูลนั้น มีความสมบูรณ มากนอยแคไหน เพราะเหตุการณทางประวัตศิ าสตรม อี ยูม ากมาย เกินกวา ท่ีจะศกึ ษาหรอื จดจาํ ไดห มด แตหลักฐานที่ใชเปนขอมูล อาจมีเพียงบางสวน ดังน้ัน วิธีการทางประวัติศาสตรจึงมีความสําคัญ เพ่ือใชเปนแนวทางสาํ หรับผูศึกษาประวัติศาสตร หรือผูฝกฝนทางประวัติศาสตรจะไดนําไปใชดวย ความรอบคอบ ระมดั ระวัง ไมลําเอยี ง และเพอื่ ใหเกดิ ความนา เชือ่ ถอื 3. ประโยชนของวิธีการทางประวตั ิศาสตร วธิ กี ารทางประวัติศาสตร มีประโยชนทั้งตอการศึกษาประวัติศาสตรที่ทําใหได เรื่องราวทางประวัตศิ าสตรท ี่นา เชือ่ ถือ ประโยชนอ ีกดานหนงึ่ คอื ผูทีไ่ ดร บั การฝก ฝน การใชว ธิ ีการ ทางประวัติศาสตรจ ะทาํ ใหเ ปน คนละเอยี ด รอบคอบ มกี ารตรวจสอบเรอื่ งราวทศ่ี กึ ษา รวมท้ังนาํ มา ปรับใชในชวี ิตประจําวันได โดยจะทําใหเปนผรู จู กั ทาํ การประเมินเหตกุ ารณตา ง ๆ วา มคี วามนา เชอ่ื ถอื เพยี งใด หรอื กอ นที่จะเช่ือถือขอ มูลของใคร กน็ าํ วธิ ที างประวัตศิ าสตรไปตรวจสอบกอน กจิ กรรมทา ยเรือ่ งท่ี 1 ความหมาย ความสาํ คญั และประโยชนของวิธีการทางประวัตศิ าสตร (ใหผ ูเรียนไปทํากจิ กรรมทา ยเร่อื งที่ 1 ท่ีสมดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรียนรูประกอบชดุ วชิ า)

39 เรอ่ื งที่ 2 วิธกี ารทางประวตั ิศาสตร การศึกษาประวัติศาสตร มีความเกี่ยวของสัมพันธกับหลักฐานทางประวัติศาสตร กาลเวลา และนกั ประวัติศาสตร ดงั น้นั จาํ เปน ตองมีวิธีการในการรวบรวมคนควาหาขอมูล เพื่อนํามา วิเคราะหหาเหตผุ ล และขอสรุป ซ่งึ จะเปน ขอเท็จจริงทางประวัติศาสตรท ่ใี กลเ คียงกบั ความเปน จริง มากท่สี ุด โดยวิธีการทางประวัติศาสตร วธิ กี ารทางประวัตศิ าสตรมีอยู 5 ขน้ั ตอน คือ 1. การกาํ หนดหัวเรอ่ื งท่จี ะศึกษา/การต้งั ประเดน็ ท่จี ะศกึ ษา การศึกษาเรื่องราวในประวัติศาสตรเร่ิมจากความสงสัย อยากรู ไมแนใจ กับคําอธิบายเรอื่ งราวทีม่ มี าแตเ ดมิ ดังน้นั ผูศึกษาจึงเรม่ิ จากการกําหนดเรื่องหรือประเด็นที่ตองการ ศึกษาซง่ึ ในตอนแรก อาจกําหนดประเดน็ ที่ตองการศึกษาไวกวาง ๆ กอ น แลว จงึ คอ ยจํากัดประเด็น ลงใหแ คบ เพือ่ ใหเ กิดความชดั เจนในภายหลัง เพราะบางเรื่องขอบเขตของการศึกษาอาจกวางมาก ทั้งเหตกุ ารณ บุคคล และเวลา การกาํ หนดหวั เรื่องอาจเก่ยี วกับเหตุการณ ความเจริญ ความเสือ่ มของอาณาจกั ร ตวั บคุ คลในชวงเวลาใดเวลาหน่งึ อาจยาวหรอื ส้ันตามความเหมาะสม ซึง่ ผูศ กึ ษาเหน็ วาเปนชว งเวลา ที่สําคัญ และยังมีหลักฐานขอมูลที่ผูตองการศึกษาหลงเหลืออยู หัวขอเร่ืองอาจปรับใหมีความ เหมาะสมหรือเปลี่ยนแปลงได ถา หากหลักฐานทใ่ี ชใ นการศึกษามนี อ ยหรือไมน า เชอ่ื ถือ 2. การรวบรวมหลกั ฐาน/สบื คนและรวบรวมขอมูล การรวบรวมหลักฐาน คือ การรวบรวมรายละเอียดและส่ิงตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของกับ หัวขอทจ่ี ะศึกษา ซ่งึ มีทง้ั หลักฐานที่เปนลายลกั ษณอ กั ษร และหลักฐานที่ไมเปน ลายลักษณอ ักษร 1) หลักฐานที่เปนลายลักษณอักษร ไดแก หลักฐานที่เปนตัวหนังสือโดยมนุษย ไดท ้งิ รองรอยขีดเขยี นเปนตวั หนงั สอื ประเภทตาง ๆ ในรปู ของการจารกึ ในศิลาจารึกและการจารึก บนแผนโลหะ นอกจากนี้หลักฐานทางประวัติศาสตรท่ีเปนลายลักษณอักษรประเภทอ่ืน เชน พงศาวดาร จดหมายเหตุ ตาํ นาน เอกสารพน้ื บาน และกฎหมาย 2) หลักฐานท่ีเปนวัตถุ ไดแก วัตถุท่ีมนุษยแตละยุคแตละสมัยไดสรางข้ึน และ ตกทอดมาจนถงึ ปจจุบนั เชน โบราณสถาน ประกอบดวย วัด เจดีย มณฑป และโบราณวัตถุ เชน พระพทุ ธรปู ถวยชามสงั คโลก ประเภทของหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรไ ทย แบงตามลําดับความสําคัญของ หลกั ฐานทางประวัติศาสตรเ ปน 2 ประเภท คอื 1) หลักฐานช้ันตนหรือหลักฐานปฐมภูมิ (Primary Sources) เปนหลักฐาน ท่ีมาจากเหตุการณที่เกิดข้ึนในสมัยน้ันจริง ๆ โดยมีการบันทึกของผูท่ีเก่ียวกับเหตุการณโดยตรง หรือผูที่รูเหตุการณน้ันดวยตนเอง ดังนั้น หลักฐานชวงตน จึงเปนหลักฐานที่มีความสําคัญและ

40 นาเช่อื ถือมากทส่ี ดุ เพราะบันทึกของบคุ คลท่ีเก่ยี วขอ งกับเหตุการณหรอื ผูอยูในเหตุการณบันทึกไว เชน จดหมายเหตุ คําสัมภาษณเอกสารทางราชการ ท้งั ท่ีเปนเอกสารลับและเอกสารท่ีเปดเผย บนั ทกึ ความทรงจํากฎหมายหนังสือพิมพ ประกาศ สุนทรพจน รายงานขาว ภาพยนตร สไลด วีดิทัศน แถบบนั ทกึ เสียง ภาพถา ย เหตุการณทเ่ี กดิ ขึน้ โบราณสถาน แหลง โบราณคดี โบราณวัตถุ เปน ตน 2) หลักฐานชั้นรองหรอื หลักฐานทตุ ิยภูมิ (Secondary Sources) เปนหลักฐาน ที่เขยี นขึ้นโดยบุคคลที่ไมไดม สี ว นเกี่ยวขอ งกับเหตุการณน้ันโดยตรง โดยมีการเรียบเรียงขึ้นภายหลัง จากเกิดเหตุการณนั้น ๆ สวนใหญอยูในรูปของบทความทางวิชาการและหนังสือตาง ๆ เชน พงศาวดาร ตาํ นาน บันทกึ คําบอกเลา ผลงานทางการศกึ ษาคน ควาของนักวิชาการ เปนตน สาํ หรบั หลักฐานช้นั รองนน้ั มีขอ ดี คือ มีความสะดวกและงา ยในการศกึ ษาทาํ ความเขา ใจ เนอ่ื งจากเปน ขอ มลู ที่ไดผานการศึกษาคนควาตรวจสอบขอมูล วิเคราะหเหตุการณ และอธิบายไวอ ยางเปนระบบ โดยนักประวตั ศิ าสตรม าแลว หลักฐานช้ันตนและหลักฐานชั้นรองจัดวามีคุณคาแตกตางกัน คือ หลักฐาน ช้ันตนมีความสําคัญมาก เพราะเปนหลกั ฐานรวมสมัยที่บันทึกโดยผูรูเห็น หรือผูท่ีเก่ียวของกับ เหตุการณโดยตรง สวนหลักฐานชั้นรองเปนหลักฐานที่ทําข้ึนภายหลัง โดยใชขอมูลจากหลักฐาน ชั้นตน แตหลักฐานชั้นรองจะชวยอธิบาย เรื่องราวใหเขาใจหลักฐานชั้นตนไดงายขึ้น ละเอียดขึ้น อันเปนแนวทางไปสูหลักฐานขอมูลอ่ืน ๆ ซึ่งปรากฏในบรรณานุกรมของหลักฐานชั้นรอง ทั้งหลักฐานชั้นตน และชั้นรองสามารถคนควาไดจากหองสมุดของทางราชการ และของเอกชน ตลอดจนฐานขอมลู ในเครอื ขา ยอินเทอรเนต็ (website) แหลง รวบรวมหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร แหลง รวบรวมหลักฐานประวตั ิศาสตรไ ทยทส่ี าํ คญั คอื สํานกั หอจดหมายเหตุแหงชาติ ท้ังในกรุงเทพมหานครและตางจังหวัด ซึ่งรวบรวมเอกสาร ตัวเขียนท่ีเปนสมุดฝร่ัง ภาพถายเกา สว นสํานักหอสมุดแหงชาตเิ ปนทเี่ ก็บเอกสารตวั เขียนทเ่ี ปนสมุดไทย พิพิธภัณฑสถานแหงชาติท้ังในพระนครและตางจังหวัดเปนสถานท่ีที่มีศิลาจารึก โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุเก็บไวจํานวนมาก นอกจากนี้หอสมุดกลางของมหาวิทยาลัยตาง ๆ บางแหงกม็ ีหลกั ฐานทางประวัติศาสตรเก็บไวเ ชน กนั หลักฐานทางประวัติศาสตรไทยสวนหน่ึงมีการพิมพเผยแพร โดยหลายหนวยงาน ซ่งึ ทาํ ใหเ กิดความสะดวกแกการศกึ ษาคนควา รวมท้ังมกี ารปริวรรตหรือถอดเปน ภาษาปจ จบุ นั ดวย หนวยงานสําคัญที่เปนแหลงพิมพเผยแพรหลักฐานประวัติศาสตรไทย คือ กรมศิลปากร คณะกรรมการชําระประวัติศาสตรไทย สมาคมประวัติศาสตรในพระราชูปถัมภสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สาํ นักพิมพมหาวิทยาลัยตาง ๆ ตลอดจนสํานักพิมพเอกชน ทั้งหลาย

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง