กองท นรวมธนชาต ม ลต อ นค มด ไหม

หลังจากมีข่าวเลิกรากับนักดนตรีหนุ่ม “เน วงลิปตา” ก็ยังไม่ควงหนุ่มไหนมาให้เห็นกันนานแล้ว แต่ไหงล่าสุดกลับมีคนเห็นสาวมดกอดกับหนุ่มอยู่ใจกลางเมืองอย่างสยามสแควร์ แถมงานนี้กลับยังมีกระแสว่าสาวมดนั้นเหมือนจะมีท่าทีว่าจะกลับมารีเทิร์นกับหนุ่มเนอีกด้วย เอ๊ะยังไงกัน...

มีคนเห็นกอดผู้ชายที่สยาม?

“จะใช้คำว่ากอดกันคงก็ไม่ได้หรอกค่ะ ก็ไม่ถึงขั้นกอดรัดอะไรขนาดนั้น เป็นการทักทายเหมือนเพื่อนเจอเพื่อน ใช้คำว่ากอดมันดูน่าเกลียด จริงๆเพื่อนคนนี้รู้จักกันมานานหลายปีแล้วค่ะ คนนี้รู้จักกันทั้งกามิกาเซ่เลยค่ะ มันไม่ใช่เรื่องแปลกที่หนูกับเขาเจอกันแล้วจะทักทาย”

เพื่อนสาวหรือเพื่อนชายแท้?

“เพื่อนผู้ชายแท้ แล้วก็มีแฟนแล้วด้วยค่ะ แฟนเขาหนูก็รู้จัก”

เขารู้ได้ยังไงว่าวันนี้เราจะมาเดินที่นี่?

“เขาเรียนอยู่จุฬาฯค่ะ ถ้าเด็กจุฬาฯ จะมาเดินสยามก็ไม่ใช่เรื่องแปลก เรามาสยามด้วยก็เป็นการบังเอิญเจอ”

ทักทายแบบนั้นกลัวสื่อจะเข้าใจผิดไหม?

“ที่คิดคือเพื่อนเจอเพื่อนที่ไม่ได้เจอกันนานแล้ว พูดตรงๆ นะคะ ที่เจอเพื่อนก็ยอมรับว่าพูดคำหยาบกันด้วย ก็ทักทายอยากรู้ว่าเพื่อนเราสบายดีไหม”

ปกติเราก็เป็นคนเฮฮาอยู่แล้ว?

“ใช่ค่ะ หนูช่วงนี้เรียนหนัก งานก็เยอะ ไม่ค่อยเจอเพื่อนเท่าไหร่ พอเราได้เจอก็ดีใจ”

ได้ยินข่าวมาว่ากลับไปคุยพี่เน วงลิปตา?

“ไม่เจอไม่ได้คุยไม่อะไรทั้งสิ้น จบแล้วจบเลยค่ะ”

ก่อนหน้าที่จะเข้ามหา’ ลัยเหมือนยังคุยกัน?

“อาจจะเป็นเพราะว่า เพิ่งเลิกกันด้วยมั้งคะ แต่ตอนนี้เราเลิกกันแล้วก็คือจบ ไม่เจอ ไม่ติดต่อ ไม่เจอหน้า ตัดเลยค่ะ”

ข่าวรีเทิร์นกลับมาได้ยังไง?

“อาจจะเป็นเพราะว่าคนกลุ่มนึงเห็นว่ามดโสดอยู่ตอนนี้ คิดไปต่างๆนานาว่าจะกลับไปรีเทิร์นกับแฟนเก่าหรือเปล่า บอกเลยว่าเลิกกับใครแล้วเลิกเลย ไม่กลับไปคบค่ะ”

แล้วเรื่องหัวใจตอนนี้เป็นยังไงบ้าง?

“ไม่มีเลยค่ะ”

และเมื่อสอบถามถึงข่าวคราวเรื่องการเรียนของสาวมดเธอนั้น ว่าเป็นอย่างไรบ้างก็ได้คำตอบมาว่า…

เรื่องเรียนเป็นอย่างไรบ้าง?

“ก็ด้วยความที่อยากจบไวด้วยซัมเมอร์นี้ก็ลงเรียน 2 ตัว เรียนหนักมาก”

ชนกับงานที่รับไว้ไหม?

“ชนค่ะ เราก็ล็อกคิวที่อาร์เอสไว้ว่าวันนี้จะเรียนทั้งวัน เราขอไม่รับงาน ถ้าเป็นคอนเสิร์ตต่างจังหวัดจริงๆ เราก็ไปได้ แต่บ่อยไม่ได้ในวันที่เรียนนะคะ ถ้าวันอื่นที่ว่างเราก็รับงานเต็มๆ ค่ะ”

ตั้งใจว่า 4 ปีจบ?

“ใจจริงอยาก 3 ปีครึ่งค่ะ ซึ่งมันยากมาก ต้องใช้เวลา ต้องลงเรียนเยอะ แล้วเราติดงานด้วย ถ้าจบ 3 ปีครึ่งได้ก็อยากจบ”

เพื่อนที่มหาวิทยาลัยช่วยเยอะไหมเรื่องเรียน?

“ช่วยเยอะมาก บางทีเราไม่ได้เข้าเรียน เขาก็จะจดงานให้ ถ้าอาจารย์ไม่ได้แจกชีทมา ให้ช็อตโน้ต มดก็จะฝากเพื่อน แล้วช็อตโน้ตแต่ละคนก็มีภาษาของตัวเอง ซึ่งเราก็ต้องมานั่งแปลภาษาของเพื่อนเป็นของตัวเองให้เข้าใจ” ♦

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

Gallery ที่เกี่ยวข้อง

สงครามกลางเมืองในเมียนมาเกิดขึ้นมาอย่างยาวนานหลายสิบปี แต่ทำไมครั้งนี้ ฝ่ายต่อต้านถึงเหนือกว่ารัฐบาลทหารเมียนมา

สงครามกลางเมืองในเมียนมาเกิดขึ้นตั้งแต่ปี 1948 แม้ที่ผ่านมากองทัพทหารจะรุ่งโรจน์ แต่ว่าในเวลานี้ ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไปแล้ว เมื่อฝ่ายรัฐบาลกลายเป็นฝ่ายตั้งรับในสงครามกลางเมือง เพลี่ยงพล้ำในการรบ

คุณตรีชฎา โชคธนาเสริมสกุล ได้พูดคุยกับ รศ.ดร.ดุลยภาค ปรีชารัชช อาจารย์ประจำโครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าอะไรคือสาเหตุที่พิสูจน์ว่า พล.อ.มิน อ่อง หล่าย กลายเป็นผู้ก่อรัฐประหารที่ล้มเหลว และเหตุใดฝ่ายต่อต้านถึงมีอำนาจต่อรองเหนือกว่าในคราวนี้

ประชาชนในพื้นที่สู้รบเมียนมา ขาดแคลนปัจจัยดำรงชีพ

ทหารเมียนมาทิ้งระเบิดใส่เมืองน้ำคำ รัฐฉาน พลเรือนดับ 5 ราย

เมียนมาหันพึ่งจีน ขอร้องช่วยกล่อมกลุ่มชาติพันธุ์เข้าสู่โต๊ะเจรจา

อาจารย์ดุลยภาคบอกว่า ปัจจัยที่ทำให้กลุ่มต่อต้านลุกฮือขึ้นมาทำปฏิบัติการยิ่งใหญ่ครั้งนี้ คาดว่าเป็นความแค้น ความไม่พอใจ ที่มีต่อ มิน อ่อง หล่าย ที่ก่อการยึดอำนาจเมื่อปี 2021 เพราะทำให้ชาวเมียนมาคิดว่าประเทศหมุนกลับสู่เผด็จการ แล้วก็ล้าหลัง ฉะนั้นหลังเกิดการรัฐประหารจึงทำให้มี 2 พลังมาร่วมมือกันก็คือ “พลังประชาธิปไตยภิวัฒน์” กับ “พลังสหพันธ์ภิวัฒน์”

“เราจะพบว่าหลังรัฐประหารใหม่ ๆ กองกำลังฝ่ายต่อต้านชาติพันธุ์ไม่ได้ยึดเมือง ยึดค่ายอะไรได้มากมายขนาดนี้ ผมคิดว่ามันเป็นการปรับในเรื่องของสไตล์การรบ และเรื่องของยุทธวิธีทางการทหารของฝ่ายต่อต้าน” อาจารย์กล่าว

เขาเล่าต่อว่า “นั่นก็คือก่อนปฏิบัติการ 1027 รัฐบาล NUG มีการตั้งคณะกรรมการประสานและบังคับบัญชาส่วนกลางแล้วก็คุยกับกองกำลังชาติพันธุ์หลาย ๆ กลุ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ รวมถึงพันธมิตรภราดรภาพ ที่มีโกก้าง ปะหล่อง และกองทัพอาระกัน เป็นตัวละครสำคัญ เมื่อคุยกันรู้เรื่องมากขึ้น มีทิศทางการประสานมากขึ้น แล้วใช้กลยุทธ์แบบระลอกคลื่น”

ความหมายคือ ถ้ามียุทธภูมิตรงนี้ที่ฝ่ายต่อต้านกระทำการสำเร็จ ก็จะคล้าย ๆ กับว่ามีปรากฏารณ์ที่กระทบชิ่งให้กลุ่มอื่น ๆ ที่เป็นแนวร่วมอยู่ในทิศทางอื่นก่อหวอดเหมือน ๆ กัน และจะเป็นลักษณะที่บีบให้ทหารเมียนมาจนมุม เพราะเจอกับศึกสารพัดทิศทาง

ด้วยเหตุนี้ เกมจึงเปลี่ยน กลายเป็นทหารเมียนมาอยู่ในระยะที่ตั้งรับเป็นส่วนใหญ่

ทั้งนี้ หลายเมืองที่ฝ่ายต่อต้านยึดได้ หลายเมืองยึดได้จริง ๆ แต่บางเมืองทหารเมียนมาสับเปลี่ยนกำลัง แล้วก็ถอนไปที่อื่น จึงเกิดพื้นที่ว่างทำให้กลุ่มต่อต้านเข้ามา

“มันจะมีโหมดการต่อสู้หลายแบบคือ หนึ่ง รบแตกหักกับทหารเมียนมา แล้วทหารเมียนมาแพ้ก็ยึดฐานได้จริง ๆ แล้วก็เข้าไปยึดอาวุธยุทโธปกรณ์ของกองทัพเมียนมา กับ สอง กองทัพเมียนมาหลังเกิดรัฐประหารต้องรบหนักตลอด มันก็จะมีปัญหากำลังพลอ่อนล้า พออ่อนล้าปุ๊บก็จะมีช่วงที่ต้องถอนออกไป แล้วก็รอหน่วยใหม่เข้ามาเติม มันก็จะมีช่องว่างให้การป้องกันค่ายมันหละหลวม ก็ถูกโจมตีจากฝ่ายต่อต้าน” รศ.ดร.ดุลยภาคกล่าว

เมื่อถามว่า รัฐบาลทหารเมียนมาหลังจากก่อรัฐประหารแล้ว ยึดอำนาจเรียบร้อย ไม่รู้หรือว่าจะเหตุการณ์แบบนี้

อาจารย์มองว่า “เขาก็น่าจะประเมินต่ำไป เขาคิดว่าน่าจะมีประชาชนไม่เห็นด้วย ออกมาต่อต้านอะไรทำนองนี้ แต่ไม่คิดว่าจะแพร่สะพัดเป็นขบวนการปฏิวัติที่ทรงฤทธานุภาพขนาดนี้ ... เป็นความผิดพลาดของผู้ก่อรัฐประหาร”

รศ.ดร.ดุลยภาคยังมองด้วยว่า การยึดอำนาจของ มิน อ่อง หล่าย ไม่ถือว่าเป็นการทำรัฐประหารที่สำเร็จด้วย เพราะการทำรัฐประหารสำเร็จจะต้องมี 2 ข้อพิจารณาสำคัญ

หนึ่ง สามารถยึดอำนาจสร้างตัวเองเป็นรัฏฐาธิปัตย์ได้ และสอง จะต้องไม่มีกบฏกระด้างกระเดื่อง ถึงมีบ้างก็ต้องปราบให้เบ็ดเสร็จ ราบคาบ แบบรวดเร็ว

“แต่นี่มัน 2 ปีปลาย ๆ แล้ว การก่อหวอดประท้วงทหารเมียนมาดันแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ แล้วที่สำคัญทหารเมียนมาเขามียุทธิวิธีการทำสงครามประชาชน ซึ่งบรรจุไว้ในรัฐธรรมนูญปี 2008 สงครามประชาชนหมายถึงว่าทหารเมียนมาก็จะร่วมรบกับประชาชนเพื่อต่อต้านศัตรูภายในหรือภายนอกประเทศในช่วงที่มีสงคราม แต่ถามว่าวันนี้จะเอากำลังพลที่ไหนไปทำสงครามประชาชน เพราะทหารเมียนมาเจอแต่ประชาชนที่เป็นศัตรูของทหารเมียนมา” อาจารย์ดุลยภาคกล่าว

อาจาร์มองว่า ที่รัฐบาลทหารเมียนมาคาดการณ์พลาดอาจจะเป็นความเคยชินของทหารเมียนมาที่คิดว่าปกครองรัฐได้ยาวนาน สามารถใช้ความรุนแรงปราบปรามประชาชนก็เอาอยู่ แต่มาวันนี้ประชาชนไม่ได้ประท้วงในท้องถนนเหมือนการประท้วงปี 1988 ประชาชนออกมาจับอาวุธ ตั้งกองกำลังปฏิวัติ แล้วก็ไปร่วมกับนักรบชาติพันธุ์อีกหลายกลุ่ม กำลังรบเชิงเปรียบเทียบจึงพุ่งสูงขึ้น กลายเป็นโจทย์ยากสำหรับทหารเมียนมา

“รัฐประหารในเมียนมาที่สำเร็จ ผมยกตัวอย่าง เช่น กันยายนปี 1988 ซอ หม่อง ขนทหารเข้ามายึดย่างกุ้งตีขบวนการนักศึกษาแตกพ่ายแล้วก็สามารถปกครองประเทศได้ในนามของ “สลอร์ก” ซึ่งก็ถือว่าประสบความสำเร็จ ไม่มีแรงต้านจากประชาชน” รศ.ดร.ดุลยภาคบอก

อาจารย์เสริมว่า “หรือย้อนทวนไปในปี 1962 ช่วงมีนาคม นายพลเนวิน ขนทหารออกมายึดอำนาจควบคุมย่างกุ้ง ควบคุมเมืองยุทธศาสตร์อื่น ๆ ได้แบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาด ประชาชนก็ไม่มาต้านอะไร แล้วเนวินก็บอกว่าเหตุผลที่ยึด ถ้าทหารเมียนมาไม่ยึดอำนาจ ประเทศอาจจะแตกเป็นเสี่ยง ๆ ก็ได้ เพราะช่วงนั้นมันมีการดีเบตเรื่องสหพันธรัฐ แล้วทหารเมียนมาบอกว่ากลุ่มชาติพันธุ์เอาเรื่องสหพันธรัฐเป็นบันไดไปสู่การแบ่งแยกดินแดน ฉะนั้นทหารจึงเป็นอัศวินขี่ม้าขาวเข้ามาค้ำยันรัฐเอาไว้ ประชาชนเมียนมาหลายส่วนก็เงียบ ๆ“

ฉะนั้น มิน อ่อง หล่าย ผู้ก่อการยึดอำนาจ ด้วยนิสัยหรือความรับรู้ที่ผ่าน ๆ มาจึงไม่คิดว่าจะเจอโจทย์ยากถึงขนาดประชาชนลุกฮือแล้วไปจับมือกับกองกำลังติดอาวุธชาติพันธุ์ซึ่งหลายกลุ่มก็มีอุดมการณ์แยกรัฐออกจากสหภาพเมียนมา

อย่างไรก็ดี กลุ่มในชาติพันธุ์ในเมียนมา มีความแตกต่างกันมาก หลายกลุ่มมาก จึงเกิดคำถามว่า ทั้งหมดมีเป้าหมายเดียวกันคือต้องการจะล้มรัฐบาลทหารเมียนมาและต้องการจะตั้งรัฐของตัวเองจริงหรือไม่?

อาจารย์บอกว่า “บางกลุ่มก็มีผลประโยชน์ร่วมกัน ก็ต้องไปแบ่งปันผลประโยชน์กัน อย่างเช่น การรบในรัฐฉานภาคเหนือ ก็จะเห็นพันธมิตรภราดรภาพ 3 กลุ่มการรบของโกก้างทำให้โกก้างได้ยึดครองพื้นที่ที่มากกว่าเขตปกครองโกก้างที่มีอยู่ ณ วันนี้”

แต่มาวันนี้ โกก้างข้ามแนวแม่น้ำสาละวินและไปยึดเมืองสำคัญ ๆ ของไทใหญ่ในเขตรัฐฉานหนือได้มากขึ้น ในอนาคตจะเกิดอะไรขึ้น ถ้าโกก้างบอกว่าไม่อยากมีแค่เขตปกครองเฉย ๆ แล้ว อยากจะมีรัฐโกก้างที่ซ้อนอยู่ในรัฐฉาน แต่ไม่ขึ้นกับรัฐบาลประจำรัฐฉาน ให้ขึ้นกับรัฐบาลกลางของเมียนมา แต่รัฐบาลกลางของเมียนมาก็ต้องให้อำนาจกับกลุ่มโกก้าง

“ในรัฐฉานตรงส่วนที่เป็นฐานของกองกำลัง UWSA หรือกองทัพสหรัฐว้าซึ่งเป็นมหาอำนาจยักษ์ใหญ่ในพันธมิตรฝ่ายเหนือ ประกอบด้วย 7 กลุ่มหลัก ๆ ที่เป็นทัพชาติพันธุ์ในรัฐฉาน ว้านี่ก็ประกาศสถาปนารัฐว้าไปเรียบร้อยแล้ว ในรัฐธรรมนูญปี 2008 มันเป็นพื้นที่ปกครองเฉย ๆ แล้วว้าก็มีว้าเหนือติดจีน กับว้าใต้ติดไทย มาวันนี้ว้าประกาศแล้วตั้งเป็นรัฐว้าขึ้นมา” รศ.ดร.ดุลยภาคกล่าว

อาจารย์เสริมว่า เมียนมามีลักษณะเป็นรัฐซ้อนรัฐ เป็นอธิปไตยหลายเฉดสีด้วยตัวของมันเองอยู่แล้ว แต่สงครามกลางเมืองนัดนี้หลังรัฐประหาร ทำให้สิ่งที่เรียกว่ารัฐซ้อนรัฐ หรือว่าการแบ่งอธิปไตยหลากก๊ก หลายเฉดสีปรากฏชัดมากยิ่งขึ้น

“ผมอยากจะแบ่งปันให้คุณผู้ชมว่า จุดร่วม-จุดต่างมันมีอะไรเหมือนกัน ผมแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือกองทัพเมียนมา ฝ่าย NUG กับฝ่ายทัพชาติพันธุ์ กองทัพเมียนมาอยากเห็นประเทศนี้มีระบอบการเมืองการปกครองแบบไหน ก็มีอยู่ 2 แบบ หนึ่ง ก็ให้เป็นรัฐเดี่ยวรวมศูนย์ และก็เป็นเผด็จการกองทัพ” อาจารย์บอก

เขากล่าวต่อว่า “กับอีกอย่างหนึ่ง ถ้าเจรจาต่อรองกับฝ่ายต่อต้านแบบสมดุลที่สุดเลยและรับได้ก็คือ ให้เป็นกึ่งรัฐเดี่ยว กึ่งสหพันธรัฐ ผสมกับประชาธิปไตยไม่เต็มใบ เดี๋ยวจัดให้มีเลือกตั้งได้ แต่ทหารยังมีบทบาททางการเมืองต่อไป ส่วนรัฐบาล NUG และ กองกำลัง PDF เขาอยากจะเห็นสหพันธรัฐประชาธิปไตย”

ขณะเดียวกัน ก็มีกลุ่มชาติพันธุ์บางกลุ่ม บางกองกำลังติดอาวุธ มีความฝันเหมือนกับ NUG คืออยากเห็นสหพันธรัฐประชาธิปไตย เช่น กองกำลังคะฉิ่น กะเหรี่ยง กะยา คะเรนนี แต่ก็จะมีกองกำลังชาติพันธุ์บางกลุ่มที่ไปไกลกว่าเรื่องสหพันธรัฐ นั่นคืออยากได้สมาพันธรัฐ

เมื่อย้อนกลับมามองที่ พล.อ. มิน อ่อง หล่าย หากต้องให้คะแนนความเข้มแข็งทางการเมืองของเขา รศ.ดร.ดุลยภาคมองว่า “ไม่ติดลบแต่สอบตก”

“ผมคิดว่าถ้าคะแนนเต็ม 10 นะครับ อาจจะไม่ถึงขนาดติดลบแต่ก็คงไม่ถึง 5 คะแนน ต่ำกว่ามาตรฐานค่าเฉลี่ยส่วนกลางหน่อยหนึ่ง ที่ผมให้คะแนนแบบนี้เพราะว่า มิน อ่อง หล่าย ทำรัฐประหารแล้วผลที่ตามมาทำให้ประเทศชาติขาดเอกภาพไปมากกว่าเดิม” รศ.ดร.ดุลยภาคกล่าว

อาจารย์เสริมว่า “นักทำรัฐประหารเมื่อยึดอำนาจแล้ว เขาต้องทำให้ประเทศมั่นคง เขาต้องทำให้ประเทศมีเอกภาพ อยู่ในระเบียบวินัย ใช่ไหมครับ แต่มิน อ่อง หล่าย ทำอย่างนั้นไม่ได้ ณ วันนี้ถ้าดูในมุมทางทหาร ปกครองประเทศได้ประกาศสภาวะฉุกเฉินได้ จริง ๆ แล้วในระเบียบรัฐธรรมนูญประมาณไม่เกิน 2 ปีต้องคืนความสงบสุขสู่ประเทศให้ได้แล้ว”

เพราะฉะนั้น มันก็เท่ากับตอกย้ำให้เห็นว่า มิน อ่อง หล่าย ไม่สามารถคืนความสงบสุขสู่ประเทศได้ จึงต้องต่อสภาวะฉุกเฉินต่อไป อาจจะทหารอยู่ต่อ แล้วก็รบพุ่งไป หรือว่าถ้าทำสำเร็จ ปราบปรามกลุ่มต่าง ๆ ได้ จัดให้มีเลือกตั้ง ฝ่ายต่อต้านประชาธิปไตยก็คงไม่ยอมแล้ว เพราะ ณ วันนี้ฝ่ายเรียกร้องประชาธิปไตยไม่มีทางรอให้ทหารจัดการเลือกตั้ง เนื่องจากมองแล้วว่า ไม่มีทางเกิดประชาธิปไตยเต็มใบเกิดได้ในเงื่อนไขแบบนี้

“ในมุมของมิน อ่อง หล่าย ที่เป็นคนก่อรัฐประหาร ผลลัพธ์ที่ได้โดยตั้งใจไม่ตั้งใจ มันคือภาวะที่รัฐเมียนมาและรวมถึงระบอบทหารเมียนมา มันไม่มั่นคง ซึ่งถือว่าเป็นรัฐบาลที่ล้มเหลว” อาจารย์บอก

รศ.ดร.ดุลยภาคกล่าวอีกว่า แต่ว่าขณะเดียวกัน มิน อ่อง หล่าย ก็มีกลยุทธ์ทางการเมืองบางอย่างที่บำรุงเลี้ยงให้เครือข่ายของรัฐบาลทหารพอไปต่อได้ ยกตัวอย่างเช่น มิน อ่อง หล่าย เดินสายทำบุญ สังหารประชาชนจำนวนมากก็ไปยกยอดฉัตร พระเจดีย์ศักดิ์สิทธิ์ สร้างพระพุทธรูปขนาดยักษ์ที่กรุงเนปิดอว์ ประกาศจัดพิธีเอิกเกริกบูชาลูกช้างเผือกเกิดใหม่

ซึ่งในธรรมเนียมการปกครองของรัฐเมียนมาโบราณ ช้างเผือกคือสัญลักษณ์ของพระจักรพรรดินาถ คือสัญลักษณ์ของความรุ่งเรืองของประเทศ นอกจากนี้ ยังมีแฟนคลับ กลุ่มคนเมียนมาที่เน้นเรื่องของอนุรักษ์นิยม เอกภาพชาติแบบเข้มข้น เป็นสายของกลุ่มครอบครัวทหาร หรือเป็นสมาชิกของเครือข่ายพรรค USDP ซึ่งเป็นพรรคที่เป็นพันธมิตรของทหาร มีสมาชิกหลายล้านคน กลุ่มต่าง ๆ เหล่านี้ก็ยังให้การสนับสนัน

พูดง่าย ๆ คือ ใช้จารีตการปกครอง นำจารีตของกษัตริย์เมียนมา เรื่องของเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ชาติ อนุรักษนิยมโบราณ มาสร้างความชอบธรรมทางการเมือง แทนที่เรื่องของประชาธิปไตยหรือการเลือกตั้ง

ด้านมหาอำนาจทางการเมืองโลก รัสเซียกับเกาหลีเหนือก็มีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกับกองทัพเมียนมา ซึ่งก็ยังช่วยหล่อเลี้ยงได้บ้างในเรื่องของแสนยานุภาพกำลังรบของทหารเมียนมาได้บางส่วน

“ใครที่บอกว่าทหารเมียนมาจะยกธงขาวแบบรวดเร็ว ส่วนตัวผมยังไม่เชื่ออย่างนั้นนะครับ ผมแค่เห็นว่าเพลี่ยงพล้ำในหลาย ๆ ยุทธบริเวณเท่านั้น ผมไม่คิดว่าในประเทศที่มีกองทัพทหารประจำการราว 400,000 นาย มันจะสูญสลายไปอย่างรวดเร็วขนาดนี้” รศ.ดร.ดุลยภาคกล่าว

กรณีของเมียนมายังทำให้เกิดข้อสังเกตว่า หรือเรื่องของระบอบเผด็จการ จะเป็นสิ่งที่อยู๋รอดในยุคสมัยนี้ไม่ได้แล้ว

อาจาร์บอกว่า กรณีเมียนมาชี้ให้เห็นว่า การทำลายประชาธิปไตยที่กำลังจะเบ่งบาน ด้วยการยึดอำนาจและนำประเทศหมุนกลับสู่เผด็จการ และเหตุผลในการทำรัฐประหารที่ยกมาอ้างนั้น ไม่ได้มีน้ำหนักอะไรเลย เช่น บอกว่ารัฐบาล NLD โกงการเลือกตั้ง ซึ่งจนถึงวันนี้ก็ยังพิสูจน์ไม่ได้

“ระบอบการเมืองเมียนมานับตั้งแต่ปี 2010 2011 จนถึง 2021 เป็นระบอบไฮบริด คือเป็นระบอบลูกผสม ที่เผด็จการกับประชาธิปไตยดำรงอยู่ร่วมกัน ประเทศไปสู่ประชาธิปไตยมากขึ้น แต่ทหารเมียนมายังต้องมีบทบาทนำในทางการเมืองต่อไป เพราะฉะนั้นการดุลอำนาจระหว่างกองทัพกับพลเรือน มังจึงเป็นองค์ประกอบสำคัญในการค้ำยันระบอบไฮบริดตัวนี้” อาจารย์กล่าว

เขาเสริมว่า “พอระยะหลัง ๆ กองทัพเมียนมาสูญเสียโมเมนตัมในการดุลอำนาจกับพลเรือน พลเรือนโดยรัฐบาล NLD มีอำนาจมากขึ้น ชนะเลือกตั้ง และมีท่าทีที่จะแก้รัฐธรรมนูญเพื่อลดอำนาจกองทัพอย่างชัดเจน สิ่งนี้แหละเป็นเหตุผลสำคัญที่ทำให้ทหารเมียนมาต้องยึดอำนาจ แต่มันทำให้ประชาชนชาวเมียนมาใน 10 ปีของการเมืองระยะเปลี่ยนผ่าน ประชาชนมีชีวิตที่ดีขึ้น ลืมตาอ้าปาก มีโอกาสทำมาหากินขึ้น เพราะอะไร เพราะเป็นผลจากการที่เมียนมาเปลี่ยนระบอบการเมืองไปสู่ประชาธิปไตย”

ซึ่งในเรื่องนี้ ประชาชนได้ให้คำตอบอย่างถล่มทลายในการเลือกตั้งแล้วว่า ประชาชนพร้อมจะเดินหน้าไปสู่ประชาธิปไตย

นับตั้งแต่เลือกตั้งซ่อม 2012 ที่ NLD ชนะเลือกตั้ง จนมาถึงเลือกตั้ง 2015 แล้วก็ 2020 เลือกตั้งใหญ่ทั่วประเทศ พรรคทหารเมียนมาแพ้หมดทุกครั้ง NLD ชนะถล่มทลาย และคราวนี้ประชาชนก็ “อิน” แล้วว่า ประชาธิปไตยเป็นสิ่งที่ตอบเจตนารมณ์ของประชาชนได้

การโหวตแต่ละครั้งที่ผ่าน ๆ มา ทำให้ประชาชนเห็นว่า รัฐบาลที่ตั้งมาขึ้นมามีความชอบธรรมเพราะมาจากการเลือกตั้ง แล้วประเทศเมียนมาก็ดีขึ้น ความสัมพันธ์กับตะวันตกก็ดีกว่าแต่ก่อน การลงทุนก็มากขึ้น อันเป็นผลมาจากการเปลี่ยนระบอบเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น

“พอมีรัฐประหารเกิดขึ้นประชาชนเขาโกรธ เพราะว่ามันนำความฝันที่เขาเห็นเมียนมาเจริญขึ้นทหารพรากมันออกไป ทหารทำประเทศถอยหลังเข้าคลอง ในมุมมองของประชาชน และเขาก็คิดว่าประชาธิปไตยในประเทศนี้ไม่ควรต้องรับบทบาททางการเมืองของกองทัพอีกต่อไปแล้ว แต่ว่าถ้าเจรจากับกองทัพ กองทัพก็ไม่ถอยจากการเมือง ทางที่ดีที่สุดและไม่มีทางอื่นแล้วคือต้องจับอาวุธขึ้นสู้ และทำสงครามปฏิวัติ แม้ว่าการปฏิวัตินั้นหมายถึงการใช้ความรุนแรงก็ตามแต่เพื่อให้ได้มาซึ่งประชาธิปไตย” อาจารย์บอก

รศ.ดร.ดุลยภาคกล่าวว่า “สันติภาพและการรบที่ดุเดือดในเมียนมา หัวเลี้ยวหัวต่อสำคัญต้องมองไปที่ปัจจัยจีนด้วย เพราะจีนมือข้างหนึ่งก็ถือเป็นน้ำแข็งน้ำเย็น ลูบให้เกิดกระบวนการสันติภาพได้ด้วยเหมือนกัน แต่มืออีกข้างถือน้ำร้อนหรือเชื้อเพลิงกระตุ้นให้มีเกมปะทุสงครามได้ด้วยเหมือนกัน”

ประกัน ชั้น 2 ธน ชาต คุ้มครอง อะไร บ้าง

ผลประโยชน์โดยละเอียด.

ประกัน ชั้น 3 ธน ชาต คุ้มครอง อะไร บ้าง

ความคุ้มครอง.

การรับประกัน บุคคลภายในรถ และคู่กรณี.

ตรวจสภาพรถ ไม่ตรวจ.

ค่าเสียหายส่วนแรก ไม่มี*.

ทรัพย์สิน ค่ารักษาพยาบาล ประกันตัวผู้ขับขี่ รถหาย น้ำท่วม ไฟไหม้ รายละเอียดเพิ่มเติม.

ตราสารหนี้ซื้อได้ที่ไหน

สามารถซื้อขายได้ทั้งแบบ Over the counter หรือ OTC คือไม่มีระบบหรือสถานที่กลางในการจับคู่การซื้อขาย ผู้ที่สนใจที่จะซื้อขายดราสารหนี้สามารถติดต่อกับสถาบันการเงิน และบริษัทหลักทรัพย์ที่มีธุรกรรมการค้าตราสารหนี้ เพื่อแจ้งความประสงค์และทำการซื้อขาย โดยสามารถติดตามข้อมูลการซื้อขายแบบ OTC ได้จาก www.thaibma.or.th.

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง