ข นตอนของพระราชพ ธ บรมราชาภ เษกท ม มาต งแต เด ม

สพมระเดพจ็ ุทพธรเะลรศิ าหมลาธา้ บินดภีาศลรัยสี นิ โทดยรมลหำ� ดาวบั ชเนริ าื้อวหธุ าพตราะมมวงนั กเฎุ ดเือกนลา้ปเีทจา้่ปี อรยะหู่กวัอบวรกราณรพกรรระมราเชชน่พธิพีใรนะแรตาช่ลนะขพิ นั้ นตธอย์ อนพ*ระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็

พัฒนาการและความเปล่ียนแปลงของพระราชพิธีบรมราชาภิเษกสมัยรัตนโกสินทร์ ว่าด้วยการศึกษาเปรียบเทียบ รายละเอียดข้ันตอนการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกนับตั้งแต่การเตรียมพระราชพิธี พิธีเบื้องต้น พิธีเบื้องกลางหรือการบรม ราชาภิเษก พิธีเบ้อื งปลาย และธรรมเนยี มปฏบิ ตั อิ ันเน่อื งดว้ ยพระราชพธิ บี รมราชาภิเษกในแต่ละรัชสมยั ซงึ่ จะท�ำใหเ้ กิดความรู้ และความเข้าใจในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกสมัยรัตนโกสินทร์ยิ่งข้ึน นอกจากการศึกษาค้นคว้าในเชิงเปรียบเทียบแล้ว ในบางหัวข้อยังได้น�ำเสนอประเด็นที่สัมพันธ์อยู่กับสภาพทางสังคมและวัฒนธรรม เพ่ือประโยชน์ในการต่อยอดแนวความคิด ท่ีเก่ียวเน่ืองต่อไป ดังเช่น กรณีการแสดงพระธรรมเทศนาบรมราชาภิเษกและการพระราชทานพระปฐมบรมราชโองการอันมี นยั สมั พันธก์ บั พระราชสถานะของพระมหากษัตริย์ในแต่ละยุคสมยั

* วันเดอิื นปที ปี่ รากฏในหนงั สือเลม่ นี้ใช้ตามเอกสารชั้นต้นหากเปน็ เอกสารท่กี ลา่ วถงึ เหตุการณก์ ่อน พ.ศ. ๒๔๘๔ ทีย่ งั คงนบั เวลาตามปฏิทินแบบเกา่

ตามจันทรคติ ท่ีเร่ิมปีใหม่เดือนเมษายน และปลายปีเดือนมีนาคมแล้วจึงเปล่ียนศักราชใหม่ ซ่ึงต่อมาใน พ.ศ. ๒๔๘๔ จึงเริ่มปีใหม่ในเดือนมกราคม ตามสากลนิยม ซึง่ ตอ้ งตรวจสอบและเทียบวันเดือนปีทางจันทรคตเิ ป็นสุริยคติ โดย “ปฏทิ นิ สำ� หรับคน้ วันเดือนจันทรคตกิ บั สุริยคตแิ ต่ปีขาลจัตวาศก ร.ศ. ๑ พ.ศ. ๒๓๒๕ จ.ศ. ๑๑๔๔ ถงึ ปีวอกจัตวาศก ร.ศ. ๑๕๑ พ.ศ. ๒๔๗๕ จ.ศ. ๑๒๙๔”

มหาจกั รวี งศบ์ รมราชาภเิ ษก 31

พระราชพิธีบรมราชาภิเษก ก่อนสมัยรตั นโกสินทร์

32 มหาจกั รวี งศ์บรมราชาภเิ ษก

พระราชพิธีบรมราชาภิเษก นับเป็นพระราชพิธีส�ำคัญสูงสุดส�ำหรับผู้ท่ีจะขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็น

พระมหากษัตริย์โดยสมบูรณ์ สันนิษฐานว่าการประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อันหมายรวมถึงดินแดนท่ีเป็นประเทศไทยด้วยน้ัน น่าจะได้รับอิทธิพลบางประการมาจากรูปแบบพิธีกรรมในคัมภีร์สันสกฤต ของอินเดีย โดยเฉพาะอย่างย่ิง “พิธีราชสูยะ” ซึ่งจัดข้ึนเพื่อเฉลิมพระเกียรติยศแห่งพระราชาธิบดีที่ได้แผ่พระบรมเดชานุภาพ เหนือบรรดาพระราชาทั้งปวง อย่างไรก็ตาม เมื่อองค์ความรู้ดังกล่าวเผยแพร่เข้ามาในดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้มีการผสมผสานคติ ความเชื่อและพิธีกรรมท้ังของศาสนาพราหมณ์ ศาสนาพุทธ และความเชื่อในประเพณีดั้งเดิม ส่งผลให้รายละเอียดขั้นตอน การพระราชพิธีบรมราชาภิเษกปรากฏท้ังที่เหมือนและแตกต่างกัน โดยในส่วนของพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของไทยได้มี พัฒนาการสบื เนือ่ งอย่างน้อยมาตั้งแต่สมัยสโุ ขทยั และปรากฏเด่นชัดในสมัยอยุธยา

ราชาภเิ ษกในคติอินเดยี : ตน้ ธารพระราชพธิ บี รมราชาภิเษกของไทย

แมใ้ นปัจจบุ นั จะมีผู้เสนอว่ากรอบคดิ เรื่องกระบวนการภารตภิวัตน์ (Indianization) หรือการแผ่อิทธิพลของอารยธรรม อินเดียน้ัน ไม่อาจแสดงให้เห็นพัฒนาการของดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้อย่างสมบูรณ์ ด้วยตระหนักว่ากระบวนการ ดังกล่าวที่เกิดขึ้นในภูมิภาคน้ีไม่ได้เป็นเพียงแค่การเปิดรับ หากแต่มีการปรับปรุงให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมที่เคยมีอยู่เดิม จนกลายเปน็ เอกลกั ษณ์เฉพาะถิน่ ข้นึ มาในท่สี ุด เรยี กกระบวนการดังกล่าวว่าการทำ� ใหเ้ ป็นท้องถน่ิ (Localization) ถึงกระน้ัน ไม่อาจปฏิเสธได้ว่าวัฒนธรรมอินเดียเป็นต้นธารส�ำคัญแห่งหนึ่งที่ส่งอิทธิพลต่อรูปแบบสังคมและ วัฒนธรรมให้แก่ภูมิภาคน้ีท้ังโดยตรงและโดยอ้อม ดังน้ัน การท�ำความเข้าใจเร่ืองราวเกี่ยวกับการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ของไทยทป่ี รากฏสบื เนอ่ื งถงึ ปจั จบุ นั จงึ ไมอ่ าจละเลยทจี่ ะศกึ ษาเปรยี บเทยี บลกั ษณะการราชาภเิ ษกในคตอิ นิ เดยี กบั การราชาภเิ ษก ในคติไทยได้

มหาจกั รีวงศบ์ รมราชาภเิ ษก 33

ดินแดนเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใตเ้ ป็นพนื้ ท่สี ำ� คญั ทไี่ ดร้ บั อิทธพิ ลทางวฒั นธรรมจากอินเดยี ทัง้ โดยตรงและโดยอ้อม หนงึ่ น้ันคือรปู แบบการพระราชพธิ ีราชาภเิ ษกทีไ่ ด้ปรับปรุงให้สอดรับกับสภาพสังคมวฒั นธรรมในแต่ละทอ้ งถ่ินและได้ยึดถือปฏิบตั ิสืบตอ่ มา

ดังที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชาธิบายถึงลักษณะของการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ของไทยที่แม้ว่าจะปรากฏพิธีทางพุทธศาสนาแทรกอยู่ในการพระราชพิธี ถึงกระนั้นพิธีพราหมณ์ยังคงเป็นสาระส�ำคัญสูงสุด ของการพระราชพธิ ี อันสะทอ้ นให้เห็นอิทธพิ ลด้ังเดิมของพิธรี าชาภเิ ษกอนั มีต้นธารสบื เนอ่ื งมาจากวฒั นธรรมอนิ เดีย

“...พธิ บี รมราชาภเิ ษกนั้น เปน็ พธิ พี ราหมณแ์ ท้ พธิ ีฝา่ ยพระพุทธสาสนาทก่ี ระท�ำดว้ ยนน้ั ถ้าจะวา่ ไป ตามจริงแล้วไม่ใช่ส่วนส�ำคัญแห่งการราชาภิเษกเลย เพราะว่าการราชาภิเษกถ้าจะท�ำโดยไม่มีพิธีสงฆ์เลย ก็นับว่าเป็นอันส�ำเร็จกิจได้ แต่ถ้างดพิธีพราหมณ์เสียแล้วจะเป็นอันส�ำเร็จกิจไม่ได้เลยเป็นอันขาด การสวดมนตแ์ ละสวดภาณวารนน้ั อนั ทจี่ รงิ เปน็ สงิ่ สำ� หรบั กบั การเฉลมิ พระราชมณเฑยี รแทๆ้ และพธิ สี วดมนต์ และภาณวารกม็ ไิ ดใ้ ชแ้ ตเ่ ฉพาะสำ� หรบั ราชาภเิ ษก การอนื่ ๆ กม็ สี วดภาณวารได้ แตพ่ ธิ รี าชาภเิ ษกของพราหมณ์ จะเอาไปใช้ท�ำอยา่ งอน่ื ไม่ไดเ้ ลย...” ๑

๑ พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั , เรอ่ื งพระศนุ หเศป (พระนคร: โรงพมิ พข์ องสมาคมสงั คมศาสตรแ์ หง่ ประเทศไทย, ๒๕๑๓, พมิ พเ์ ปน็ อนสุ รณใ์ นงาน พระราชทานเพลงิ ศพหลวงประเสรฐิ มนูกิจ (ประเสริฐ ศริ ิสัมพันธ์) ณ เมรุวัดธาตุทอง พระโขนง วนั ท่ี ๒๗ กรกฎาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๓), หน้า ง.

34 มหาจกั รีวงศ์บรมราชาภิเษก

พธิ รี าชาภเิ ษกในอารยธรรมอนิ เดยี โบราณเปน็ พธิ เี กา่ แกท่ ม่ี มี าชา้ นานตงั้ แตส่ มยั พระเวท โดยหากกลา่ วถงึ พธิ รี าชาภเิ ษก ที่มีข้ันตอนการรดน�้ำอภิเษกเป็นสาระส�ำคัญ๒ ซ่ึงสอดคล้องกับความหมายด้ังเดิมของพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของไทย๓ พธิ ีราชาภเิ ษกในคติอินเดียท่ปี รากฏลกั ษณะเช่นนี้ ไดแ้ ก่ พธิ ีปนุ รภิเษก พิธไี อนทรมหาภเิ ษก และพิธอี ภิเษจนยี ะซงึ่ เป็นสว่ นหนึ่ง ของพธิ รี าชสยู ะ การเปรยี บเทยี บรายละเอยี ดขน้ั ตอนพธิ รี าชาภเิ ษกในคตอิ นิ เดยี กบั พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษกของไทยนบั ตง้ั แต่ การเตรยี มพระราชพธิ จี นถงึ พระราชพธิ เี บ้อื งปลาย แมจ้ ะพบสว่ นทแี่ ตกตา่ งมากกว่าสว่ นทีค่ ลา้ ยคลงึ กันอันเน่อื งมาจากเง่อื นไข ทางด้านวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ความคิด และคติความเช่ือในท้องถิ่น๔ ถึงกระน้ันการราชาภิเษกในคติอินเดีย นบั เปน็ รอ่ งรอยสำ� คญั ทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ถงึ ความเปน็ มาของการพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษกทป่ี รากฏในสงั คมไทยไดช้ ดั เจนมากยงิ่ ขน้ึ การเตรียมพระราชพิธี ในพิธีอภิเษจนียะปรากฏการเตรียมน�้ำอภิเษกที่จะใช้ในพิธีด้วยการท�ำพิธีเซ่นสรวงบูชาน�้ำ ที่จะใช้เป็นน�้ำอภิเษกเช่นเดียวกับพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของไทย สะท้อนให้เห็นคติความเช่ือว่าน�้ำอภิเษกตามคติอินเดีย และคติไทยต้องผ่านการท�ำให้ศักด์ิสิทธิ์เสียก่อน นอกจากการเตรียมน้�ำอภิเษกแล้วยังพบการเตรียมต่ังไม้มะเดื่อ เพื่อใช้เป็น ท่ีประทับของพระมหากษัตริย์ในการถวายน้�ำอภิเษกด้วย อย่างไรก็ตาม ในส่วนแหล่งท่ีมาของน�้ำอภิเษกนั้นพบว่ามีความ แตกตา่ งกนั อยา่ งสิน้ เชงิ กลา่ วคือ น้�ำอภเิ ษกของไทยเปน็ น้�ำเพยี งอยา่ งเดียวโดยไม่มีสง่ิ อ่ืนเจอื ปน นอกจากการเตรียมพิธีในสองส่วนดังกล่าวแล้วจะพบว่าการเตรียมการอื่นๆ ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะตามคติอินเดีย และคตไิ ทยเทา่ นน้ั ดงั เชน่ ในคตอิ นิ เดยี ปรากฏการเตรยี มบาตรเพอื่ ใสน่ ำ�้ อภเิ ษกทท่ี ำ� จากพรรณไมต้ า่ งๆ การเตรยี มกงิ่ ไมม้ ะเดอื่ เพอื่ ใชค้ ลมุ พระองคต์ อนถวายนำ้� อภเิ ษก เปน็ ตน้ สว่ นในคตไิ ทยปรากฏการเตรยี มการพระราชพธิ ี เชน่ การจารกึ พระสพุ รรณบฏั การตง้ั แต่งมณฑลพระราชพิธี การตงั้ แตง่ มณฑปพระกระยาสนาน เป็นต้น พธิ เี บื้องต้น ในพิธีอภเิ ษจนยี ะมีการบูชาบวงสรวงนำ้� โสม การถวายเคร่ืองพลีกรรม การเซน่ สรวงนำ�้ อภิเษก การเซน่ สรวงเคร่ืองพลีกรรม การกรองน�้ำอภิเษกให้บริสุทธ์ิ การแต่งพระองค์พระราชาด้วยพระภูษา ๓ ชุด การเสด็จลงสรงสนาน การเสดจ็ ไปยังทิศท้งั หลาย การวางตะกว่ั ไวท้ างดา้ นหลังของหนงั เสือโครง่ และการวางทองคำ� ไวท้ ่ีใต้พระบาทและบนพระเศียร พระราชา สว่ นในพธิ รี าชาภเิ ษกตามคตไิ ทยมกี ารเจรญิ พระพทุ ธมนต์ การจดุ เทยี นชยั การประกาศการพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก (ปรากฏครั้งแรกในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้า เจา้ อยู่หัว พระสยามเทวมหามกฏุ วิทยมหาราช) การถวายนำ�้ พระมหาสงั ข์ และการถวายใบสมติ

๒ ราชาภิเษก เป็นค�ำภาษาสันสกฤต มาจากการสนธิของค�ำว่า “ราช-” กับ “อภิเษก-” แปลตามรูปศัพท์ได้ว่า การถวายการรดน�้ำแด่พระราชา, การสถาปนาเป็นพระราชาดว้ ยการรดนำ�้ สว่ นภาษาบาลใี ชว้ า่ “ราชาภเิ สก” ๓ พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร, “เรื่องบรมราชาภิเษก,” ใน ชุมนุมพระนิพนธ์ของพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร (กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์พระจันทร์, ๒๕๑๗, ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พิมพ์พระราชทานในงานพระศพพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร ณ พระเมรุ วดั เทพศริ นิ ทราวาส วันอาทิตย์ ที่ ๑๕ ธนั วาคม พุทธศักราช ๒๕๑๗), หนา้ ๙๒. ๔ ดูการศึกษาเปรียบเทียบพระราชพิธีราชาภิเษกตามคติอินเดียและคติไทยโดยละเอียดใน ศรีนวล ภิญโญสุนันท์, “พิธีราชาภิเษกในคติอินเดียและไทย : การศกึ ษาเปรียบเทยี บ,” (วิทยานพิ นธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควชิ าภาษาตะวันออก บณั ฑติ วทิ ยาลัย จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, ๒๕๒๘)

มหาจักรีวงศบ์ รมราชาภเิ ษก 35

บรมราชาภิเษก ในคตไิ ทยจะมกี ารถวายการรดน�้ำอภเิ ษกแดพ่ ระมหากษัตริย์ ๓ คำ� รบ กล่าวคอื ค�ำรบแรก เปน็ การ สรงพระมุรธาภิเษกโดยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงวักน้�ำในพระครอบซ่ึงเป็นน�้ำพระพุทธมนต์ลูบพระเจ้า เพ่ือแสดงว่าพระองค์ ทรงเป็นพุทธมามกะก่อนอื่นใดและได้ทรงท�ำความบริสุทธ์ิในพระพุทธศาสนาให้แก่พระองค์เองด้วยการสรงพระเจ้าด้วย น้�ำพระพุทธมนต์๕ ค�ำรบสอง เป็นการสรงสหัสธาราด้วยน้�ำจากแม่น�้ำสายส�ำคัญของราชอาณาจักรและแหล่งน้�ำศักดิ์สิทธ์ิ ที่ผ่านการท�ำพิธีเสกมาแล้ว ค�ำรบสาม เป็นการถวายน�้ำพระพุทธมนต์และน้�ำเทพมนตร์โดยสมเด็จพระสังฆราชขึ้นถวายน้�ำ พระพุทธมนต์ด้วยพระครอบพระกริ่ง ต่อมาพระบรมวงศ์ผู้ใหญ่ขึ้นถวายน�้ำพระพุทธมนต์ด้วยพระเต้า เจ้าพนักงานภูษามาลา ถวายน้�ำพระมหาสังข์ เจ้าหน้าทีพ่ ระราชพธิ ผี ใู้ หญ่ถวายนำ้� พระพุทธมนตด์ ว้ ยพระครอบและพระเต้าต่าง ๆ พราหมณข์ ึ้นถวาย น้�ำเทพมนตร์ดว้ ยพระมหาสงั ข์และพระเตา้ เบญจคพั ย์ ตามลำ� ดับ เม่ือพิจารณาการถวายรดน้�ำดังกล่าวพบว่ามีลักษณะคล้ายกับพิธีอภิเษจนียะในคติอินเดีย กล่าวคือ คร้ังแรก เป็นการเสด็จสรงสนานของพระราชา ครั้งท่ีสอง เป็นพิธีถวายการรดน�้ำอภิเษกแด่พระราชา และครั้งที่สาม เป็นการชโลม น�้ำอภิเษกท่ัวพระองค์ด้วยเขากวางด�ำ นอกจากนี้ ในพิธีปุนรภิเษกและพิธีไอนทรมหาภิเษกในคติอินเดียยังปรากฏการต้ังต่ัง ไม้มะเด่ือเปน็ ทป่ี ระทับขณะถวายการรดน�้ำอภิเษกเช่นเดยี วกับทป่ี รากฏในพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษกของไทย ข้นั ตอนต่อมาในคติอนิ เดยี พระมหากษตั ริยจ์ ะทรงเครอ่ื งศริ าภรณ์ ได้แก่ กะบังหนา้ พระภูษา ผา้ รตั กัมพล แลว้ เสดจ็ ประทบั บนบลั ลังก์ยนื อยู่บนหนังราชสหี ์ ซง่ึ ปูไวเ้ บือ้ งหนา้ ราชสีหาสน์ ขณะน้นั ปโุ รหติ ประกาศพระนามและพระมหากษตั ริย์ทรง กระทำ� สัตย์สาบานท่จี ะปกครองบา้ นเมอื งโดยธรรม แลว้ เสด็จข้นึ ประทับบนราชสหี าสน์ จากนั้นบรรดาพราหมณ์ถวายน�ำ้ มนต์ และสวดถวายพรแล้วถวายเคร่อื งราชสมบัติ ซ่ึงจะสังเกตเห็นวา่ ข้นั ตอนการพิธดี ังกลา่ วข้างต้นคลา้ ยคลงึ กับขนั้ ตอนในพระราช พิธีบรมราชาภเิ ษกของไทยเมอ่ื ประทับเหนอื พระทนี่ ั่งภัทรบฐิ พธิ ีเบ้ืองปลาย ทีป่ รากฏตามคติอินเดียส่วนใหญ่มีความแตกตา่ งกบั พธิ เี บ้ืองปลายตามทีป่ รากฏในคติไทย กลา่ วคือ ในพธิ ปี นุ รภเิ ษก ประกอบดว้ ย พธิ เี สวยนำ�้ จณั ฑ์ พธิ เี สดจ็ จากตง่ั ลงบนกง่ิ ไมม้ ะเดอื่ พธิ เี สดจ็ ประทบั ทางทศิ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื และพิธีสวดออ้ นวอนขอการบังเกดิ ข้ึนของฝงู โค ฝงู ม้า และฝงู คน สว่ นในพธิ ีไอนทรมหาภิเษก ประกอบดว้ ย พธิ ีพระราชทาน ทักษิณาแก่พราหมณ์ผู้ถวายการรดน้�ำอภิเษกและพิธีเสวยน�้ำจัณฑ์ ในขณะท่ีพิธีอภิเษจนียะ ประกอบด้วย การก้าววิษณุกรม การเทน้�ำอภิเษกท่ีเหลือไว้ในบาตรของพราหมณ์ การเสด็จพระราชด�ำเนินไปโดยราชรถ การเซ่นสรวงเครื่องพลีกรรม การสวมฉลองพระบาทที่ท�ำด้วยหนังสุกรป่า การเสด็จลงจากราชรถ การวางลูกเต๋าลงในพระหัตถ์ของพระราชาผู้ประทับ บนตงั่ ไมส้ เี สยี ด การตรสั ทกั ทายพราหมณ์ การขานพระนามอนั เปน็ สริ มิ งคลของพระราชา และการบชู าบวงสรวงเครอ่ื งพลกี รรม ส่วนพระราชพิธีราชาภิเษกในคติไทยประกอบด้วย พิธีเสด็จออกมหาสมาคม (ปรากฏครั้งแรกในการพระราชพิธี บรมราชาภิเษกเฉลิมพระราชมณเฑียรพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่เดิมพิธีน้ีเป็นการเสด็จออกรับราชสมบัติ) พิธีสถาปนาสมเด็จพระบรมราชินี (ปรากฏคร้ังแรกในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่เดิมพิธีน้ีเป็นพิธีถวายสิบสองพระก�ำนัล) พิธีประกาศพระองค์เป็นพุทธศาสนูปถัมภก (ปรากฏครั้งแรกในการพระราชพิธี บรมราชาภิเษกสมโภชพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) พิธีถวายบังคมพระบรมศพ พระบรมอัฐิ พระอัฐิ สมเด็จ พระบรมราชบุพการี และพิธีเฉลิมพระราชมณเฑียร นอกจากน้ี ยังปรากฏการเสด็จพระราชด�ำเนินเลียบพระนครโดยขบวน พยหุ ยาตราท้ังทางสถลมารคและชลมารค อนั เปน็ สว่ นตอ่ เน่ืองกับการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกด้วย

๕ ม.ร.ว. คกึ ฤทธ์ิ ปราโมช, “ภาค ๑ : สังคมไทย,” ใน ลกั ษณะไทย เลม่ ๑ : ภมู หิ ลัง (กรงุ เทพฯ: ไทยวฒั นาพานชิ , ๒๕๒๕), หนา้ ๒๙.

36 มหาจกั รวี งศบ์ รมราชาภเิ ษก

นอกจากรายละเอียดข้ันตอนการพิธีราชาภิเษกท่ีปรากฏในคัมภีร์ทางศาสนาพราหมณ์แล้ว เอกสารทางพุทธศาสนา อย่างคัมภีร์อรรถกถาได้กล่าวถึงเครื่องราชกกุธภัณฑ์อันเป็นเครื่องประกอบพระบรมราชอิสริยยศของพระมหากษัตริย์รวมถึง เคร่อื งใช้ในการประกอบพธิ ีราชาภเิ ษกดว้ ย ดงั เชน่ ที่ปรากฏในอรรถกถา มหาวภิ ังค์ ปฐมภาค เวรัญชกัณฑ์ (วา่ ดว้ ยตอนพระเจา้ อโศกส่งเครอ่ื งเบญจราชกกธุ ภัณฑไ์ ปถวายพระเจ้าเทวานมั ปยิ ตสิ สะ) ความว่า

“...พระเจา้ อโศกทรงเลอื่ มใส แลว้ ทรงสง่ เครอ่ื งราชกกธุ ภณั ฑ์ ๕ อยา่ งไปถวายแดท่ า้ วเธอ คอื เศวตฉตั ร ๑ แสจ้ ามร (วาลวชิ นี) ๑ พระขรรค์ ๑ รตั นะประดบั พระเมาลี (คือ พระอุณหิส ตดิ พระมหาพิชัยมงกฎุ ) ๑ ฉลองพระบาท ๑ และเครอ่ื งบรรณาการอยา่ งอนื่ หลายชนิด เพ่ือประโยชนแ์ ก่การอภิเษก คือ สังข์ ๑ คงั โค ทกวารี (น้�ำทแ่ี มน่ �ำ้ คงคาหรือน�้ำท่เี กิดจากสระอโนดาต) ๑ วฒั นมานะ (จุณส�ำหรบั สรงสนาน) ๑ วฏังสกะ (พระมาลากรองส�ำหรับประดับพระกรรณ หรือกรรเจียกเครือ่ งประดบั ห)ู ๑ ภิงคารพระเตา้ ทอง ๑ นนั ทิยา วฏะภาชนะทอง (ท�ำไว้เพือ่ การมงคลมีสัณฐานเหมือนรูปกากบาท) ๑ สวิ ิกะ (วอหรอื เสลี่ยง) ๑ กัญญาขตั ตยิ กมุ ารี ๑ อโธวมิ ทุสสยุคะ (คูพ่ ระภูษาทีไ่ ม่ต้องซกั ) ๑ หัตถปญุ ฉนะ (ผา้ ส�ำหรบั เชด็ พระหตั ถ)์ ๑ หริจันทนะ (แกน่ จันทนแ์ ดง) ๑ อรณุ วณั ณมตั ติกะ (ดินสอี รณุ ) ๑ อญั ชนะ (ยาหยอดพระเนตร) ๑ หรตี กะ (พระโอสถ สมอ) ๑ อามลกะ (พระโอสถมะขามปอ้ ม) ๑ ฉะนแ้ี ล” ๖ พระคัมภีร์มหาวงศ์ ที่พระมหานามเถระชาวลังกาเรียบเรียงข้ึนเป็นภาษาบาลีประมาณต้นพุทธศตวรรษท่ี ๑๑ และ พระยาธรรมปโรหิตแปลเรียบเรยี งเปน็ ภาษาไทยเมอื่ พ.ศ. ๒๓๓๙ ในรชั สมยั พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เปน็ เอกสารอกี เรอ่ื งหนง่ึ ทกี่ ลา่ วถงึ เครอื่ งราชกกธุ ภณั ฑใ์ นพระราชพธิ รี าชาภเิ ษกพระเจา้ เทวานมั ปยิ ตสิ สะวา่ มที งั้ หมด ๕ สง่ิ ไดแ้ ก่ “วาลวชิ นี คือ พัดวาลวชิ นีอนั กระท�ำดว้ ยขนทรายจามรี ๑ อุณณฺ หิสสํ คอื พระมหาพิชัยมงกฎุ ๑ ขคฺค คือ พระแสงขรรค์ ๑ ฉตตฺ ํ คอื เศวตฉัตร ๑ ปาทุกํ ฉลองพระบาทแก้ว ๑” ๗ เช่นเดยี วกับ พระคัมภีร์อภธิ านัปปทีปิกา หรอื พระคัมภีรพ์ จนานกุ รมบาลี ประเภทอภิธานซ่ึงพระโมคคัลลานเถระแห่งคณะเชตวันมหาวิหารเรียบเรียงข้ึนท่ีประเทศศรีลังกาในสมัยพระเจ้าปรักกรมพาหุ ที่ ๑ เม่ือประมาณต้นพทุ ธศตวรรษที่ ๑๗ และพระเจ้าวรวงศเ์ ธอ กรมหลวงชนิ วรสิริวัฒน์ สมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา้ ทรงแปลและ เรยี บเรยี งเปน็ ภาษาไทยเม่ือ พ.ศ. ๒๔๕๖๘ ในคาถาที่ ๓๕๘ กล่าวถงึ เครือ่ งราชกกุธภณั ฑ์ คอื “ราชกกุธภัณฑ์ ๕ คือ พระขรรค,์ ฉัตร, อณุ หิส, ฉลองพระบาท, วาลวชิ นี ขคฺโค. (จ) ฉตฺต, -มุณหสี ํ, ปาทุกา; วาฬวิชนี; (อิเม กกธุ ภณฺฑานิ ภวนฺติ ปญจฺ ราชนุ ํ)” ๙

๖ “อรรถกถา มหาวภิ งั ค์ ปฐมภาค เวรญั ชกณั ฑ,์ ” สบื คน้ เมอ่ื ๒๖ ตลุ าคม ๒๕๖๓, เขา้ ถงึ ไดจ้ าก //84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=1&i=1&p=5 ๗ พระมหานามเถระ, วรรณกรรมสมยั รตั นโกสินทร์ เล่ม ๑ (หมวดศาสนจักร) คมั ภีรม์ หาวงศ,์ แปลโดย พระยาธรรมปโรหิตและพระยาปรยิ ัติธรรมธาดา (แพ ตาละลักษมณ์) (กรุงเทพฯ: กองวรรณคดแี ละประวัติศาสตร์ กรมศลิ ปากร, ๒๕๓๔), หน้า ๑๗๘. ๘ พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า, พระคัมภีร์อภิธานัปปทีปิกาหรือพจนานุกรมภาษาบาลีแปลเป็นไทย, พมิ พค์ รง้ั ที่ ๕ (กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวทิ ยาลัย, ๒๕๔๑), หนา้ ง. ๙ เรอื่ งเดียวกนั , หนา้ ๙๖.

มหาจกั รวี งศบ์ รมราชาภเิ ษก 37

แผ่นไม้จำ� หลกั รูปเคร่อื งราชกกุธภัณฑ์ ประกอบด้วย อุณหิสหรอื กรอบพักตร์ พระขรรค์ พระแสจ้ ามรี ธารพระกร และฉลองพระบาทเชงิ งอน

การรับวัฒนธรรมผ่านการติดต่อระหว่างอินเดียและดินแดนแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ด้วยปัจจัยหลายประการ น�ำมาซึ่งการผสมผสานความหลากหลายทางวัฒนธรรมของอินเดียกับท้องถ่ิน กระทั่งเกิดเป็นวัฒนธรรมท่ีเป็นเอกลักษณ์ ดังในกรณีของพธิ ีราชาภเิ ษกอันเป็นมรดกทางวัฒนธรรมส�ำคัญที่เชือ่ วา่ มตี ้นธารจากอินเดยี ดงั กล่าวข้างตน้ ได้ปรากฏหลกั ฐาน ท่ีสะท้อนถึงความเก่ียวเน่ืองกับการประกอบพิธีราชาภิเษกในดินแดนประเทศไทยปัจจุบัน ดังเช่นการค้นพบแผ่นจุณเจิมศิลปะ ทวารวดี อายุราวพทุ ธศตวรรษที่ ๑๒ ที่พระปฐมเจดยี ์ จังหวัดนครปฐม เปน็ รปู แส้ (จามร) วัชระ ขอสับช้าง (องั กุศะ) พดั โบก (วาลวชิ น)ี ฉตั ร ปลาและสงั ขอ์ ยา่ งละคู่ และมหี มอ้ นำ้� (ปรู ณฆฏะ) อยตู่ อนลา่ ง ตรงมมุ ทง้ั สท่ี ำ� เปน็ รปู ดอกบวั เสย้ี วเดยี ว๑๐สนั นษิ ฐาน ว่าเป็นแผน่ หนิ ทีใ่ ช้รองรบั หมอ้ นำ้� (ปรู ณฆฏะ) เพอ่ื ใช้สรงน�้ำเทพและเทพี (อภเิ ษจนยี ะ) ในพิธรี าชสยู ะ หรอื พิธรี าชาภเิ ษกของ กษตั รยิ ท์ วารวด๑ี ๑

แผ่นจุณเจิมศลิ ปะทวารวดสี ันนษิ ฐานว่า เปน็ แผน่ หนิ ทใ่ี ชร้ องรบั หม้อนำ้� (ปรู ณฆฏะ) เพอื่ ใชส้ รงนำ�้ เทพและเทพี (อภเิ ษจนียะ) ในพิธีราชสยู ะหรือพิธีราชาภิเษกของกษตั ริย์ทวารวดี ๑๐ สุรศักด์ิ ศรสี �ำอาง และคณะ, ศิลปะทวารวดี : ตน้ ก�ำเนิดพทุ ธศิลปใ์ นประเทศไทย (กรงุ เทพฯ: กรมศิลปากร, ๒๕๕๒), หน้า ๑๑๗. ๑๑ บรุ ยา ศราภยั วานชิ , “เครอื่ งประกอบพระราชอสิ รยิ ยศสำ� หรบั พระมหากษตั รยิ ท์ ปี่ รากฏในพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษกสมยั รตั นโกสนิ ทร,์ ” (การคน้ ควา้ อสิ ระ ตามหลกั สตู รปรญิ ญาศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าโบราณคดสี มยั ประวตั ศิ าสตร์ ภาควชิ าโบราณคดี บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร, ๒๕๕๖), หนา้ ๔๗.

38 มหาจกั รวี งศ์บรมราชาภิเษก

นอกจากน้แี ลว้ ยังปรากฏหลักฐานประเภทศิลาจารึกท่ีมอี ายุตงั้ แต่พุทธศตวรรษที่ ๑๒ ในดินแดนประเทศไทยปัจจุบนั ได้แก่ ศิลาจารึกของเจ้าชายจิตรเสน (ราว พ.ศ. ๑๑๔๓ - ๑๑๕๙) เป็นจารึกอักษรปัลลวะ ภาษาสันสกฤต ดังเช่นในจารึก ปากนำ�้ มูล ๒ พบท่จี งั หวดั อุบลราชธานี แปลความไดว้ า่

พระเจ้าแผ่นดินพระองค์ใด ทรงพระนามว่าจิตรเสน ผู้เป็นพระโอรสของพระเจ้าศรีวีรวรมัน เปน็ พระราชนดั ดาของพระเจา้ ศรสี ารวเคามะ แมโ้ ดยศกั ดจิ์ ะเปน็ พระอนชุ า แตก่ ไ็ ดเ้ ปน็ พระเชษฐาของพระเจา้ ศรีภววรมัน ผู้มีพระนามปรากฏในด้านคุณธรรมแต่พระเยาว์ พระเจ้าแผ่นดินพระองค์นั้น ได้รับพระนาม อนั เกดิ แตก่ ารอภเิ ษกวา่ พระเจา้ ศรมี เหนทรวรมนั (หลงั จาก) ชนะประเทศ (กมั พ)ู นท้ี ง้ั หมดแลว้ ไดส้ รา้ งพระ ศิวลึงค์ อนั เปน็ เสมือนหนึง่ เครอ่ื งหมายแหง่ ชยั ชนะของพระองค์ ไว้บนภเู ขานี้ ฯ ๑๒ ข้อความในศิลาจารึกดังกล่าวสะท้อนให้เห็นคติเรื่องการเปล่ียนผ่านสถานภาพให้เป็นดุจด่ังเทพเจ้าด้วยการอภิเษก สงั เกตไดจ้ ากการเปลี่ยนพระนามจาก “จิตรเสน” เป็น “พระเจ้าศรมี เหนทรวรมนั ” หมายถงึ ผู้อยูใ่ นความพทิ ักษ์ของพระอนิ ทร์ ผยู้ งิ่ ใหญ่ อนั เปน็ ธรรมเนยี มทกี่ ษตั รยิ จ์ ะทรงเปลย่ี นพระนามแสดงความยง่ิ ใหญผ่ า่ นลทั ธคิ วามเชอ่ื ทก่ี ษตั รยิ แ์ ตล่ ะพระองคย์ ดึ ถอื สะท้อนถึงพระบุญญาบารมีของกษัตริย์เพ่ือให้เกิดการยอมรับจากบรรดาพสกนิกร อีกทั้งการผ่านพิธีอภิเษกนั้นยังเป็นการ ประกาศสถานภาพความเป็นกษัตริย์ให้รฐั อืน่ ๆ ไดร้ ับรู้ ๑๓ ท่ีส�ำคัญข้อมูลในจารึกบางหลักเช่นศิลาจารึกเมืองเสมายังแสดงให้เห็นบทบาทของพราหมณ์ในฐานะผู้ประกอบพิธี โดยสันนิษฐานว่าอาจเป็นพราหมณท์ ่มี าจากอินเดยี ก็เปน็ ได้ เน่อื งจากเนือ้ ความในจารกึ ใหค้ วามสำ� คัญกับคุณลักษณะว่าเป็นผู้ เชี่ยวชาญในไตรเพท รวมทงั้ เวทมนตรแ์ ละขน้ั ตอนของการประกอบพธิ กี รรมซง่ึ อาจมีมากกวา่ พราหมณใ์ นท้องถิน่ ๑๔ “ ...พระเจา้ ชยั วรมนั ...พวกพราหมณผ์ เู้ ชยี่ วชาญในไตรเพทไดอ้ ภเิ ษกพระองคใ์ หส้ ถติ อยใู่ นราชสมบตั ิ เสมอื นจะให้สถิตอยใู่ นสถานท่ขี องผู้ประเสรฐิ เพราะรวบรวมวิทยาการได้แก่ข้อความในพระเวท...” ๑๕

พระราชพธิ ีบรมราชาภิเษกสมยั สโุ ขทัย

การประกอบพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษกซง่ึ ไดม้ พี ฒั นาการสบื เนอ่ื งคลค่ี ลายมาจากคตอิ นิ เดยี ดงั กลา่ วไดเ้ ปน็ ธรรมเนยี ม ส�ำคัญของการดำ� รงพระราชสถานะองค์พระมหากษัตรยิ โ์ ดยสมบูรณ์ ซึ่งได้แพรห่ ลายในรัฐต่างๆ ในชว่ งเวลาตอ่ มา ดงั ปรากฏ ใหเ้ ห็นในศลิ าจารึกหลายหลักกลา่ วถึงการราชาภเิ ษกของกษัตรยิ ส์ มัยสุโขทัย คอื พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ และพระมหาธรรมราชา (ลิไท)

๑๒ ยอรช์ เซเดส์ และชะเอม แก้วคล้าย (ผ้อู า่ นและผแู้ ปล), “จารึกปากน�้ำมลู ๒,” สืบค้นเม่ือ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๖๓, เขา้ ถึงได้จาก //db.sac.or.th/ inscriptions/inscribe/image_detail/682 ๑๓ นนทพร อยมู่ งั่ ม,ี “พระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก,” ใน นนทพร อยมู่ ัง่ มี และพสั วีสริ ิ เปรมกุลนนั ท์, เสวยราชสมบตั กิ ษตั รา (กรุงเทพฯ: มติชน, ๒๕๖๒), หนา้ ๒๒ - ๒๓. ๑๔ เร่ืองเดยี วกนั , หนา้ ๒๓. ๑๕ อ�ำไพ ค�ำโท (ผู้อ่านและผู้แปล), “จารึกเมืองเสมา,” สืบค้นเมื่อ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๖๓, เข้าถึงได้จาก //db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/ image_detail/354

มหาจกั รวี งศ์บรมราชาภิเษก 39

จารกึ วดั ศรชี ุม ดา้ นที่ ๑ บรรทดั ท่ี ๒๘ - ๓๒ ความว่า ขุนบางกลางหาวและขอมสบาดโขลญล�ำพงรบกัน พ่อขุนบางกลางหาวให้ไปบอกแก่พ่อขุนผาเมือง ขอมสบาดโขลญล�ำพงพายพัง พ่อขุนผาเมืองจึงยังเมืองสุโขทัยเข้าได้เวนเมืองแก่พ่อขุนบางกลางหาว พอ่ ขนุ บางกลางหาวมสิ เู้ ขา้ เพอ่ื เกรงแกพ่ ระสหาย พอ่ ขนุ ผาเมอื งจงึ เอาพลออก พอ่ ขนุ บางกลางหาวจงึ เขา้ เมอื ง พอ่ ขนุ ผาเมอื งจงึ อภเิ ษกพอ่ ขนุ บางกลางหาวใหเ้ มอื งสโุ ขทยั ใหท้ งั้ ชอื่ ตนแกพ่ ระสหายเรยี กชอ่ื ศรอี นิ ทรบดนิ ทราทิตย์ นามเดมิ กมรเตงอญั ผาเมือง ๑๖

จารึกนครชุม ดา้ นที่ ๑ บรรทัดท่ี ๑ - ๗ ความวา่ ศักราช ๑๒๗๙ ปรี ะกา เดือนแปด ออกหา้ คำ่� วันศุกร์ หนไทยกัดเล้า บรู พผลคุณีนกั ษัตร เม่อื ยาม อันสถาปนาน้ันเป็นหกค�่ำ แลพระยาลือไทยราช... เปน็ หลานแก่พระยารามราช เมอ่ื ไดเ้ สวยราชย์ในเมือง ศรสี ชั นาลยั สโุ ขทยั ไดร้ าชาภเิ ษกอนั ฝงู ทา้ วพระยาทงั้ หลายอนั เปน็ มติ รสหายอนั มใี นสท่ี ศิ น้ี แตง่ กระยาดงวาย ของฝากหมากปลามาไหว้ อนั ยดั ยัญอภิเษกเปน็ ทา้ วเปน็ พระยาจงึ ช่อื ศรสี ุริยพงศม์ หาธรรมราชาธริ าช ๑๗

จารึกวดั ศรีชมุ ดา้ นท่ี ๑ จารกึ นครชมุ ด้านที่ ๑

๑๖ ยอร์ช เซเดส์ (ผู้อ่านและผู้ปริวรรต), “จารึกวัดศรีชุม,” สืบค้นเม่ือ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๖๓, เข้าถึงได้จาก //db.sac.or.th/inscriptions/inscribe /image_detail/178 ๑๗ ยอร์ช เซเดส์ (ผู้อ่านและผู้ปริวรรต), “จารึกนครชุม,” สืบค้นเมื่อ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๖๓, เข้าถึงได้จาก //db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/ image_detail/184

40 มหาจักรีวงศบ์ รมราชาภเิ ษก

จารกึ วัดปา่ มะม่วง (ภาษาเขมร) ดา้ นท่ี ๑ บรรทดั ท่ี ๕ - ๑๓ ความวา่ วันศุกร์ ข้นึ ๕ ค�่ำ เดอื น ๗ เมอื่ เสดจ็ มีพระบัณฑูรให้ไพรพ่ ลทัง้ หลายเขา้ ระดมฟนั ประตูประหารศัตรู ทงั้ หลาย บดั นน้ั จงึ เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ เขา้ เสวยราชยไ์ อสรู ยาธปิ ตั ยใ์ นเมอื งสโุ ขทยั นแี้ ทนพระบดิ า พระอยั กา กษัตริย์ท้ังหลายซ่ึงมีในทิศทั้ง ๔ น�ำ มกุฎ พระขรรค์ชัยศรี และเศวตฉัตร อภิเษกแล้วถวายพระนามว่า พระบาทกัมรเตงอญั ศรีสรุ ยิ พงศรามมหาธรรมราชาธริ าช ๑๘

จารึกวดั ป่ามะม่วง (ภาษาไทย) หลกั ท่ี ๑ ดา้ นที่ ๑ บรรทดั ท่ี ๔ - ๑๕ ความวา่ เมื่อลุนนี้พระยาลอื ไทยรู้พระปิฎกไตร ไดข้ น้ึ เสวยราชย์ในเมืองศรสี ัชชนาลยั สโุ ขทยั อแทนปู่แทนพ่อ ฝูงเป็นท้าวเป็นพระยาเบ้ืองตะวันออก ตะวันตก หัวนอน ตีนนอน ต่างคนต่างมีใจใคร่ใจรัก เอามกุฎ ขันชัยศรี เศวตฉัตร มายัดยัญอภิเษกให้เป็นท้าวเป็นพระยา ทั้งหลายจึงสมมติข้ึนช่ือศรีสุริยพงศ์รามมหา ธรรมราชาธริ าช เสวยราชยช์ อบดว้ ยทศพธิ ราชธรรม ๑๙

จารกึ วดั ป่ามะม่วงภาษาเขมร ด้านที่ ๑ จารึกวดั ป่ามะม่วงภาษาไทย หลกั ท่ี ๑ ด้านท่ี ๑

๑๘ ยอรช์ เซเดส์ (ผู้อา่ นและผแู้ ปล), “จารึกวดั ปา่ มะมว่ ง (ภาษาเขมร),” สบื ค้นเม่อื ๒๖ ตลุ าคม ๒๕๖๓, เข้าถงึ ได้จาก //db.sac.or.th/inscriptions/ inscribe/image_detail/1330 ๑๙ ยอร์ช เซเดส์ (ผอู้ า่ นและผ้แู ปล), “จารกึ วดั ปา่ มะมว่ ง (ภาษาไทย) หลกั ท่ี ๑,” สืบคน้ เมอ่ื ๒๖ ตลุ าคม ๒๕๖๓, เข้าถึงไดจ้ าก //db.sac.or.th/ inscriptions/inscribe/image_detail/131

มหาจักรีวงศ์บรมราชาภเิ ษก 41

ความในจารึกหลักต่างๆ ดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงความส�ำคัญของการประกอบพระราชพิธีราชาภิเษกเพื่อสร้างการ ยอมรบั จากบรรดาขนุ นางนอ้ ยใหญร่ วมถงึ เจา้ เมอื งตา่ ง ๆ ทอี่ ยภู่ ายใตก้ ารปกครองของสโุ ขทยั โดยแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ขนั้ ตอนสำ� คญั คือการถวายเครื่องราชกกุธภัณฑ์ รวมถึงการเฉลิมพระนามใหม่เพ่ือบ่งบอกถึงสถานภาพท่ีเปล่ียนไป ดังกรณีพระนาม “พระบาทกัมรเตงอัญศรีสุริยพงศรามมหาธรรมราชาธิราช” สะท้อนให้เห็นถึงการผสมผสานคติความเชื่อในศาสนาพราหมณ์ และศาสนาพุทธไดอ้ ยา่ งเด่นชดั

พระราชพิธบี รมราชาภิเษกสมัยอยธุ ยา

ในพระราชพธิ ีรชั มังคลาภิเษก พ.ศ. ๒๔๕๑ พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้สร้างพระทนี่ ่ังช่วั คราวองคห์ นง่ึ บนฐานพระที่น่ังในพระราชวงั โบราณกรงุ เก่า อนั เป็นทีป่ ระกอบพิธีราชาภิเษกคร้ังกรุงศรีอยุธยาแลว้ พระราชทานนามพระท่นี งั่ ชั่วคราวองค์นั้น ตามความทีป่ รากฏในเอกสารทางประวตั ศิ าสตร์ว่า “พระทน่ี ัง่ สรรเพชญปราสาท”

พรหมพิษณบุ รเมศรเจ้า จอมเมรุ มาศแฮ ยํเมศมารตุ อร อาศนมา้ พรณุ คนกิ ุเพนทรา สรู เสพย เรืองรวีวรจ้า แจม่ จันทรฯ เอกาทสเทพแสง้ เอาองค์ มา เปน็ พระศรีสรรเพชญ ทีอ่ ้าง พระเสด็จด�ำรงรกั ษ ล้ยงโลก ไสแ้ ฮ ทุกเทพทกุ ท้างไหงว ้ ชว่ ยไชยฯ ๒๐

๒๐ ราชบณั ฑติ ยสถาน, พจนานุกรมศัพท์วรรณคดีไทย สมัยอยุธยา โคลงยวนพ่าย (กรงุ เทพฯ: นวิ ไทยมิตรการพิมพ์ (๑๙๙๖), ๒๕๔๔), หน้า ๑๑ - ๑๒.

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง