ม ลน ธ สมาพ นธ ชมรมเด น-ว งเพ อส ขภาพไทย

ประวััติิผู้้�เขีียน

ยศ-ชื่่�อ-สกุุล นาวัาเอกุ จิิระวััฒน์ อภิิภิัทรชื่ัยวังศ์ (รุ�น นติท.๓๐/นนร.๘๗) ติาแหน�งปจิจิุบััน ผู้้�บัังคัับักุารโรงเรียนชืุ่มพลทหารเร่อ กุรมยุทธศกุษาทหารเร่อ (๑ ติ.คั. ๖๕-ปจิจิุบััน) ำ ั ั ึ ประวััติิกุารศกุษา ึ ั ึ กุ ารศกุษากุ�อนเขี�ารบัราชื่กุาร พ.คั. ๒๕-มี.คั. ๓๐ โรงเรียนมหาวัชื่ิราวัุธ มัธยมศกุษาปที� ๑-๕ ี ึ พ.คั. ๓๐-ม.คั. ๓๒ โรงเรียนเติรียมทหาร รุ�นที� ๓๐ ึ ั กุ ารศกุษาติามแนวัทางกุารรบัราชื่กุาร (ในประเทศ) พ.คั. ๓๐-กุ.พ. ๓๒ โรงเรียนเติรียมทหาร รุ�นที� ๓๐ ี � กุ.พ. ๓๒-มี.คั. ๓๔ โรงเรียนนายเร่อ ชื่ั�นปที� ๑-๒ (แล�วัรบัทุนไปศกุษาติ�อ โรงเรียนรวัมเหล�าญี่ปุ�น) ี ั ึ ติ.คั. ๔๗-มี.คั. ๔๘ โรงเรียนนายทหารพรรคันาวัิน รุ�นที� ๔๖ ิ ติ.คั. ๔๘-กุ.ย. ๔๙ โรงเรียนเสนาธกุารทหารเร่อ รุ�นที� ๖๖ สถาบัันวัชื่ากุารทหารเร่อชื่ั�นส้ง ิ ติ.คั. ๖๒-กุ.ย. ๖๓ วั ิทยาลัยเสนาธกุารทหาร รุ�นที� ๖๑ สถาบัันวัชื่ากุารป้องกุันประเทศ ิ ิ กุ องบััญี่ชื่ากุารกุองทัพไทย ึ กุ ารศกุษาและฝึึกุอบัรมในติ�างประเทศ ็ เม.ย. ๓๔-มี.คั. ๓๙ ปรญี่ญี่าติรี วัิศวักุรรมไฟฟ้าอิเลกุทรอนกุส์ โรงเรียนรวัมเหล�าญี่ปุ�น ิ ิ ี � ็ ิ � ิ เม.ย. ๓๙-มี.คั. ๔๑ ปรญี่ญี่าโท วัิศวักุรรมไฟฟ้าอิเลกุทรอนกุส์ โรงเรียนรวัมเหล�าญี่ปุ�น ี ิ ็ เม.ย. ๔๑-มี.คั. ๔๔ ปรญี่ญี่าเอกุ วัิศวักุรรมไฟฟ้าอิเลกุทรอนกุส์ Tokyo University of Science, JAPAN ิ กุ.ย. ๖๓-พ.ย. ๖๓ ติ ัวัแทนประเทศไปศึกุษาอบัรมและสัมมนาเชื่ิงปฏิิบััติกุารเกุี�ยวักุับักุารเม่องกุารปกุคัรองและ ิ ย ุทธศาสติร์ชื่าติิสาธารณรัฐประชื่าชื่นจิีน คัวัามสัมพันธ์ระหวั�างประเทศ ณ มหาวัิทยาลัย ป ักุกุิ�ง สปจิ. โดย Dongfang Scholarships by Peking University อ ่�น ๆ กุ.ย.-พ.ย. ๕๖ เขี�าร�วัมสวันสนามทางเร่อนานาชื่าติิ ๒๐๐๓ เม่องซิิดนย์ ประเทศออสเติรเลีย ี (International Fleet Review 2003, Sydney, Australia) โดย เร่อหลวังกุระบัี� ม.คั.-มี.คั. ๕๘ อบัรมหลกุส้ติรพัฒนาสัมพันธ์ระดบัผู้้�บัริหารกุองทัพเร่อ (พสบั.ทร.) รุ�น ๑๒ โดย กุพร.ทร. ั ั ำ กุ.พ.-เม.ย. ๖๒ อบัรมหลกุส้ติรกุารบัริหารงานติารวัจิในยคัดิจิิทัล (Police Administration in Digital Age ั ุ : PADA) รุ�นที� ๒ � มิ.ย.-กุ.ย. ๖๕ อบัรมหลักุส้ติรเคัร่อขี�ายผู้้�นำาแห�งกุารเปลี�ยนแปลงสำาหรบักุารเติบัโติแบับักุาวักุระโดด ั ิ � Transformational Executive Network for Exponential Growth (TEN X) รุ�นที ๑ จิ ัดโดย มหาวัิทยาลัยหอกุารคั�าไทย และ DeOne Academy ติาแหน�งงานทีสาคััญี่ ำ � ำ ั ั - ผู้้�บัังคัับักุองร�อย กุรมนกุเรียนนายเร่อรกุษาพระองคั์ โรงเรียนนายเร่อ (๒ เม.ย. ๔๔-๓๑ มี.คั. ๔๕) ึ ์ - อาจิารยฝึ�ายศกุษา โรงเรียนนายเร่อ (กุองวัชื่าวัิศวักุรรมศาสติร์) (๑ เม.ย. ๔๕-๓๐ กุ.ย. ๕๗) ิ ึ ึ - หวัหน�ากุองกุารศกุษา ศ้นย์ฝึึกุทหารใหม� กุรมยุทธศกุษาทหารเร่อ (๑ ติ.คั. ๕๗-๓๐ กุ.ย. ๕๙) ั � ำ ำ ั - รองผู้้อานวัยกุารกุองวัิทยากุาร สานกุนโยบัายและแผู้น กุรมกุารส่�อสารและเทคัโนโลยีสารสนเทศทหารเร่อ ทาหน�าที� ผู้้�อานวัยกุารโรงเรียนส่�อสารและเทคัโนโลยีสารสนเทศ สสท.ทร. (๑ ติ.คั. ๕๙-๓๐ กุ.ย. ๖๒) ำ ำ - รองผู้้�บัังคัับักุารโรงเรียนพันจิ�า กุรมยุทธศกุษาทหารเร่อ (๑ ติ.คั. ๖๓-๓๐ กุ.ย. ๖๔) ึ ั ึ ิ ำ ำ - ผู้้�อานวัยกุารสานกุงานราชื่นาวักุสภิา กุรมยุทธศกุษาทหารเร่อ (๑ ติ.คั. ๖๔-๓๐ กุ.ย. ๖๕) ั ึ - ผู้้�บัังคัับักุารโรงเรียนชืุ่มพลทหารเร่อ กุรมยุทธศกุษาทหารเร่อ (๑ ติ.คั. ๖๕-ปจิจิุบััน)

บทคัดย่อ คลื่นลูกที่ ๓ (The Third Wave) เป็นเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตที่เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ เป็นต้นมา ซึ่งเป็น ั � ี ิ ี ิ ื � ช่วงเวลาท่โลกเร่มเข้าสู่การเช่อมต่อแบบย่งยวด ทุกท่และทุกเวลา รวมท้งเทคโนโลยี 5G กาลังถูกนามาใช้อย่างเต็มรูปแบบ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ และจะท�าให้เกิดการเชื่อมโยงข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) และเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ sensors, Internet of Things (IoT) หรือกล่าวได้ว่า ทุกสิ่งทุกอย่างเชื่อมด้วยอินเตอร์เน็ต (Internet of Everything; IoE) อีกทั้งมีการน�าเทคโนโลยีโลกเสมือน Augmented Reality (AR), Virtual Reality (VR) และ Mixed Reality (MR) ั มาประยุกต์ใช้กับหน่วยงานการฝึกหัดศึกษา อบรม และการรักษาพยาบาลทางไกล ย่งไปกว่าน้น Big data และ ิ เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) ได้เข้ามามีบทบาทในการขับเคลื่อนกระบวนการวิเคราะห์ที่ซับซ้อน และกระบวนการ ึ � � อัตโนมัติ จนทาให้เกิดการดาเนินการในรูปแบบใหม่เกิดข้นในงานทุกๆ แขนง อาทิเช่น การศึกษา การเกษตร การจราจร การขนส่ง การรักษาพยาบาล การท่องเที่ยว รวมทั้งด้านการทหาร ดังนั้น กองทัพเรือจะต้องปรับตัว ปรับวัฒนธรรม ื ี องค์กร และเปล่ยนผ่านสู่ยุคดิจิทัล (Digital Transformation) อย่างจริงจัง เพ่อเป็นองค์กรดิจิทัล (Digital Organization) ที่เหมาะสมและทันสมัย โดยผู้เขียนได้ก�าหนดกรอบแนวคิดองค์ประกอบในการพัฒนาพื้นที่กองทัพเรือ - สัตหีบ เป็น กรณีศึกษา ให้เป็นพื้นที่กองทัพเรืออัจฉริยะ (Smart Navy Base) สอดรับกับแผนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (Smart City) ของรัฐบาล ซึ่งจะน�าไปสู่การบริหารจัดการเป็นเลิศ ทันสมัย เหมาะสม ปลอดภัย และมีประสิทธิภาพ และบท ้ ั ั ้ ่ สรปสงทาย ดวยค�ายอ ๗ ตวอกษรของ D.I.G.I.T.A.L ่ ุ ๑. บทนำำ� (Introduction) การกาวเขาสูโลกเทคโนโลยดจทลทีเขยนไวในหนงสอ “คลืนลกทีสาม” (The Third Wave) โลกยุคปฏิิวตขอมล ั ่ ่ ี ิ ู ี ิ ิ ั ้ ั ้ ื ู ้ ่ ่ ้ ุ ่ ่ ู ่ ู ั ่ ้ ิ ิ ์ ึ ขาวสารของอลวน ทอฟฟเลอร (Alvin Toffler) กลาวโดยสรปวา “คลืนลกทีสาม” หมายถงยุคของการปฏิิวตขอมล ่ ์ ั ื ื ข่าวสาร เป็นยุคแห่งการเช่อมโยงและเข้าถึงข้อมูลจากทุกหนทุกแห่ง มีองค์ประกอบพ้นฐานด้านเทคโนโลยีเข้ามารองรับ ื ั ท้งเคร่องคอมพิวเตอร์และโครงสร้างโทรคมนาคม เกิดเป็นชุมชนเครือข่าย ผู้คนในแต่ละมุมโลกสามารถเข้าถึงข้อมูล ี ื และบริการต่างๆ ในเครือข่ายท่เช่อมต่อกันได้ เรียกว่าอินเทอร์เน็ต เป็นจุดเร่มแห่งการเปล่ยนและเกิดเป็นระบบ ิ ี ๑,๒ เศรษฐกิจใหม่ (New Economy) ที่ขับเคลื่อนอยู่บนเครือข่าย และเกิดการเชื่อมโยงและวิวัฒนาการไปสู่การพัฒนาใน ด้านอื่นๆ ของวิถีชีวิต ซึ่งเป็นยุคที่อินเทอร์เน็ตจะไม่ใช่แค่ส่วนเสริมส่วนหนึ่งของชีวิต แต่จะกลายเป็นส่วนที่ขาดไม่ได้ อีกต่อไปของการใช้ชีวิต จนถึงปัจจุบันมีการพัฒนาเทคโนโลยีการส่อสารและสารสนเทศมาอย่างต่อเน่อง และเร่มมีการ ิ ื ื ใช้เทคโนโลยี 5G ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ เป็นต้นมา ซึ่งจะท�าให้การใช้ประโยชน์ของอุปกรณ์ Internet of Things (IoT), Sensors และอุปกรณ์พกพาหรืออุปกรณ์สวมใส่ มีมากขึ้นตามมาด้วย และเมื่อทุกอย่างเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต ก็จะ ั � ทาให้รูปแบบการใช้ชีวิต การดาเนินธุรกิจ การจัดการองค์กร แม้กระท่งการบริหารจัดการและการปฏิิบัติการทางทหาร � ่ ั ี การเรยน การฝึก การรกษาความปลอดภย การแพทย์ การสาธารณสข ฯลฯ ของบคลากรทจะต้อง ั ุ ี ุ เปลี่ยนแปลงไปด้วย นาวิกศาสตร์ 50 ปีที่ ๑๐๖ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

ภ�พที่ ๑ Smart City ที่มา : //www.engineeringtoday.net/เมืองอัจฉริยะ-smart-city-คืออะไร/ ในปัจจุบัน “เมืองอัจฉริยะ” หรือ “Smart City” เป็นกระแสที่ก�าลังมีการพัฒนากันทั่วโลก ตามภ�พที่ ๑ เพราะ

เป็นเรื่องของการน�าเทคโนโลยีดิจิทัลมาปรับใช้กับเมืองเพื่อให้มีการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สร้างความปลอดภัยได้ มากขึ้น ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสาธารณะของเมืองได้อย่างรวดเร็ว การเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสารถึงกันเพื่อช่วย � พัฒนาระบบบริการและการจัดการให้มีประสิทธิภาพสูงสุด แนวคิดในการนาเทคโนโลยีมาพัฒนาเมืองให้มีความอัจฉริยะ ุ ั ื ่ ิ ่ (Smart) นัน จะตองมความรวมมอจากทกภาคสวน ทังภาคธรกจ รฐบาล รวมถงประชาชนในพืนทีรวมกนพฒนาเมอง ุ ้ ึ ั ่ ้ ั ื ้ ี ่ ้ ั ิ ิ ั ี ่ ่ ื ิ ้ ั สาหรบประเทศไทย การประกาศนโยบายขบเคลอนเศรษฐกจและสงคมดจทล (Digital Economy) ทจะเนน ั � ึ ้ ิ ี ่ ้ การผลกดน Smart City ใหเปนกลไกทจะสรางโอกาสในการขยายตวของเศรษฐกจในระดบพนทใหดขน โดยกระทรวง ่ ั ี ั ี ้ ื ั ั ้ ็ ้ ี ิ ็ � ั ิ ่ ั ้ ิ ิ ื ิ ิ ี ี ิ ้ ื ั ื ่ ดจทลเพอเศรษฐกจและสงคม หรอ ดอ ไดมอบหมายใหสานกงานสงเสรมเศรษฐกจดจทล หรอ ดปา (DEPA) เปนหนวย ั ้ ่ ื งานทีชวยขบเคลือนการพฒนาเมองอจฉรยะ ตังเปาระยะแรกจะพฒนา ๗ จงหวด ไดแก ภเกต เชยงใหม ขอนแกน ู ั ่ ่ ่ ้ ่ ้ ั ั ิ ้ ั ็ ่ ั ั ่ ี ชลบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา และกรุงเทพฯ ซึ่งอ�าเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี เปรียบเสมือนเมืองของทหารเรือ เพราะเป็น ๓,๔ ที่ตั้งของหน่วยงานหลักของกองทัพเรือหลายหน่วยงาน ผู้เขียนเห็นว่า เพื่อให้แผนการพัฒนาตัวเมืองสัตหีบสอดคล้อง กับแผนการพัฒนาจังหวัดชลบุรี ให้เป็นเมืองอัจฉริยะ (Smart City) จ�าเป็นต้องวางกรอบแนวความคิด แผนพัฒนาให้ ื � ึ ี พ้นท่กองทัพเรือ - สัตหีบ เป็นเมืองอัจฉริยะหน่งของจังหวัดชลบุรีด้วยเช่นกัน โดยการบูรณาการเทคโนโลยีท่สาคัญของ ี Smart City คือ Internet of Things (IoT) และการบูรณาการข้อมูล Big Data จาก CCTV, IP camera, Sensors, ี ี ี Intelligence Traffic System (ITS) และเทคโนโลยีท่มีความชาญฉลาดอ่นๆ เพ่อเปล่ยนแปลงให้พ้นท่กองทัพเรือ - สัตหีบ ื ื ื มีความปลอดภัย และน่าอยู่ ให้เป็นพื้นที่ ที่มีการบริหารจัดการเป็นเลิศ เหมาะสม ทันสมัย และมีประสิทธิภาพด้วย เทคโนโลยีการสื่อสารและสารสนเทศ � สาหรับกองทัพเรือ ตามนโยบาย พลเรือเอก สมประสงค์ นิลสมัย ผู้บัญชาการทหารเรือ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ น ี ้ ี ื ื ู ื ุ ั เป็นการสานงานต่อเน่อง จากนโยบายผ้บัญชาการทหารเรอท่ผ่านมา เพ่อให้บรรลเป้าหมายตามวิสยทัศน์และ ยุทธศาสตร์กองทัพเรือตลอดจนรวมพลังขับเคล่อนกองทัพเรือตามยุทธศาสตร์กองทัพเรือระยะ ๒๐ ปี ไปสู่การเป็น ื นาวิกศาสตร์ 51 ปีที่ ๑๐๖ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

ี ่ “หนำ่วยง�นำคว�มมันำคงท�งทะเล ท่มีบทบ�ทนำำ�ในำภูมิภ�คและเป็นำเลิศในำก�รบริห�รจัดก�ร และก�รส่งมอบคุณค่� ื ให้แก่ประช�ชนำและสังคม” ผู้เขียนคิดว่ากองทัพเรือจึงควรมุ่งเข้าหาโอกาสและส่งท้าทายในการขับเคล่อนกองทัพเรือ ิ ี ื ให้เข้าสู่กระแสดิจิทัลอย่างจริงจัง เพ่อเข้าสู่การเป็นองค์กรดิจิทัล (Digital Organization) ท่บริหารจัดการเป็นเลิศ เหมาะสมและทันสมัย นอกจากน้ ในยุคของข้อมูลข่าวสาร (Information Age) และยุคของดิจิทัล (Digital Age) เป็นยุค ี แห่งการเชื่อมโยง และเข้าถึงข้อมูลจากทุกหนทุกแห่ง รองรับเรื่องของ Internet of Things (IoT) ที่อุปกรณ์สิ่งของ เกือบจะทุกอย่างเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต อุปกรณ์พกพาหรือหน้ากาก/แว่นสวมใส่ในโลกเสมือน ประกอบกับระบบ ั การส่อสารเทคโนโลยี 5G ท่มีการประยุกต์ใช้ในประเทศไทยแล้ว อีกท้งการไหลเวียนแบบ real time ของข้อมูลขนาดใหญ่ ี ื (Big data) และเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) ที่ได้รับการพัฒนาเรียนรู้ขึ้นตามล�าดับ ดังนั้น กองทัพเรือควรวางกรอบแนวคิด ปรับวัฒนธรรมองค์กรและมีวิสัยทัศน์ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก � ยุคดิจิทัล จาเป็นต้องศึกษาทบทวนสภาวะแวดล้อมของระบบดิจิทัลของกองทัพ/หน่วยงาน ในปัจจุบัน และศึกษา วิเคราะห์ ปัจจัยส�าคัญเพื่อพัฒนาไปสู่องค์กรดิจิทัล (Digital Organization) โดยบทความนี้ ผู้เขียนจะใช้พื้นที่สัตหีบ ั เป็นกรณีศึกษา ซ่งมีหน่วยงานหลักๆ ต้งอยู่หลายหน่วยงาน เช่น กองเรือยุทธการ กองการฝึก ทัพเรือภาคท่ ๑ ึ ี หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน หน่วยบัญชาการต่อสู้อากาศยานและรักษาฝั่ง ฐานทัพเรือสัตหีบ ท่าเรือ กองการบิน ทหารเรือ กรมอู่ทหารเรือ ท่าเรือ โรงพยาบาลทหารเรือ สถานที่ท่องเที่ยวของกองทัพเรือ แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เป็นต้น ให้สอดรับกับแผนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (Smart City) จังหวัดชลบุรี ด้วยเพื่อก�าหนดโครงสร้างและกรอบแนวคิด ื ่ ึ ี ื ิ ั ้ ่ ี ี ื องค์ประกอบในการพัฒนาพ้นทกองทัพเรอสัตหบให้เป็น “พนท่กองทัพเรืออจฉรยะ” (Smart Navy Base) ซงจะ น�าไปสู่การปฏิิบัติงานที่เหมาะสม ปลอดภัย มีประสิทธิภาพ และทันสมัยเป็นเลิศในภูมิภาคในการบริหารจัดการ ๒. นำิย�มของ “พื้นำที่กองทัพเรืออัจฉริยะ” (Smart Navy Base) พนทกองทพเรออจฉรยะ (Smart Navy Base) หมายถง บรเวณพนทในกองทพเรอทไดนาเทคโนโลยีดจทล ั ิ ื ี ื ึ ้ � ิ ้ ิ ั ่ ้ ื ี ่ ี ื ั ่ ั ิ (Digital Technology) และนวัตกรรมท่ทันสมัยและมีความเป็นอัจฉรยะ (Smart) มาประยุกต์ใช้ในการปรับปรุง ี ิ ั � ิ � กระบวนการทางาน การปฏิบติการ การรักษาความปลอดภัยในหน่วย การฝึกหัดศึกษาอบรม การสนับสนุนการส่งกาลัง ิ ี ่ ิ ู ่ บารง การคมนาคมภายในหนวย การทองเทยว การวเคราะหขอมลขนาดใหญ (Big data analytics) การบรหารจดการ ์ ้ ุ ่ � ่ ั ี ิ่ ื้ ิ่ ี่ ั้ ื่ ภายในพนทกองทพเรอ ทงภายในอาคาร และนอกอาคารสถานท เพอเพมประสทธภาพ เพมขดความสามารถ เพม ี่ ั ิ ิ ิ่ ื ั � ิ ็ ้ ั ้ ่ ้ ความสะดวกรวดเรว เพมความปลอดภัย รวมทงการบริการแก่กาลงพล แต่ละหน่วยให้ครอบคลุมกวางขวางทวทงพืนที ่ ้ ั ่ ั ื่ หรือเชอมโยงกับหน่วยงานอน ๆ นอกพนทหากจาเป็น โดยมีระบบการสอสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ทเชอมโยง � ื่ ื้ ี่ ื่ ื่ ี่ ประมวลผล จัดเก็บ วิเคราะห์ ป้องกันและแจกจ่าย แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารของผู้ใช้ในแต่ละระดับ ๓. ก�รก้�วสู่วัฒนำธรรมองค์กรดิจิทัล เมื่อแนวโน้มขององค์กรยุคปัจจุบันก�าลังพลิกโฉมหน้าปรับเปลี่ยนเข้าสู่ยุคแห่งเทคโนโลยี กลายเป็นองค์กรดิจิทัล ึ (Digital Organization) อย่างเห็นเด่นชัดเป็นรูปธรรมมากข้น การเปล่ยนผ่านขององค์กรจึงไม่อาจหมายความเพียง ี แค่การลงทุนซื้ออุปกรณ์ไอที อุปกรณ์ดิจิทัลใหม่ ๆ หรือการลงทุนด้านโปรแกรมและซอฟต์แวร์อันทันสมัยเพียงอย่าง เดียวเท่านั้น แต่ต้องมีการปรับเปลี่ยนให้ลงลึกไปจนถึงแก่น และหัวใจส�าคัญของการด�าเนินงาน นั่นก็คือ วัฒนำธรรม ื ขององค์กร (Digital Culture) ท่ต้องสอดคล้องกับการก้าวสู่การเป็นองค์กรดิจิทัลให้ได้อย่างย่งยืน ก่อนอ่นผู้เขียน ั ี ี ี ้ ่ ่ ี ่ ้ � ่ ้ ั ี อยากใหทาความเขาใจเกยวกบการเปลยนผานสยุคดจทล (Digital Transformation) วาตองมการเปลยนแปลง ิ ่ ั ิ ่ ู ิ ไปในทศทางใดบาง เพือจะกาวไปสูผลส�าเรจตามทีมุงหวงไว ้ ้ ั ่ ่ ็ ้ ่ ่ นาวิกศาสตร์ 52 ปีที่ ๑๐๖ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

๓.๑ ปรับกระบวนำคิดดิจิทัล (Digital Mindset) ของก�าลังพลในหน่วยงาน หรืออาจเรียกว่า การตระหนักรู้ด้าน

ั ื � ดิจิทัล (Digital Awareness) การปรับกระบวนการคิด วิสัยทัศน์ และความเช่อม่น ตั้งแต่ผู้บริหารสูงสุดลงไปสู่กาลังพล � ี ทุกระดับ เร่มจากผู้บังคับบัญชาแต่ละระดับท่ต้องน�าเสนอและทาให้กาลังพลภายในหน่วยงานของตนมองเห็นว่าการคิด ิ � ในเชิงบริหารยุคใหม่นั้นจะต้องอยู่ในรูปแบบดิจิทัลทั้งระบบ เมื่อมีแนวทางการด�าเนินงานที่ชัดเจนแล้ว ก็ต้องลงทุนใน ด้านงบประมาณและโครงสร้างพ้นฐานของหน่วยงานให้มีความพร้อมและสอดคล้องกับการเปล่ยนแปลงไปสู่การเป็น ื ี องค์กรยุคดิจิทัล ๓.๒ ปรับกระบวนำก�รทำ�ง�นำด้วยดิจิทัล (Digital Process) ระบบงานและกระบวนการต่าง ๆ ภายในหน่วย ั ื ื งานจะต้องเช่อมโยงกันเป็นฐานข้อมูลขนาดใหญ่ และเป็นข้อมูลชุดเดียวกันท้งหน่วย โดยมีเทคโนโลยีเป็นเคร่องมือ ส�าคัญในการจัดเก็บ วิเคราะห์ และประมวลผลข้อมูลแบบองค์รวม ข้อมูลต่าง ๆ จะไม่ถูกจัดเก็บแบบต่างคนต่างเก็บ และต่างคนต่างใช้อีกต่อไป แต่จะต้องปรับเปลี่ยนมาเป็นรูปแบบระบบฐานข้อมูลกลาง บนระบบคลาวด์ เพื่อลดความ ซ�้าซ้อนในการจัดเก็บ และก�าลังพลแต่ละระดับสามารถเข้าถึงข้อมูลหน่วยงานที่อัพเดตใหม่อยู่เสมอ แต่ทว่า ต้องมีการ � กาหนดสิทธ์และอานาจ (Authority) ในการเข้าถึงแต่ละคน ว่าเข้าในระบบได้ระดับไหน ดูข้อมูลได้ลึกขนาดไหน เป็นต้น ิ � ๓.๓ ปรับทักษะก�รใช้เทคโนำโลยีดิจิทัล (Digital Skills) หน่วยงานยุคใหม่จะลดการใช้กระดาษลงจนมีแนวโน้ม ึ ั เป็นศูนย์ในอนาคต ด้วยทรัพยากรป่าไม้ท่ลดจานวนลงส่งผลให้เราต้องใช้กระดาษอย่างประหยัดมากข้น หน่วยงานท้งหลาย � ี ต่างต้องลดต้นทุนในการดาเนินงาน โดยเฉพาะการส่งซ้อกระดาษเพ่อใช้งานภายในหน่วย ประกอบกับข้อมูลทุกส่งทุกอย่าง ื ั ื ิ � ของหน่วยในปัจจุบันจะเก็บบันทึกไว้ในระบบฐานข้อมูลท้งออฟไลน์ และออนไลน์ กาลังพลในหน่วยงานยุคดจทล ั ิ ั ิ � จึงต้องปรับตัวให้มีความรู้ ความสามารถ ตลอดจนมีทักษะในการใช้เทคโนโลยี และอุปกรณ์ทันสมัยรูปแบบใหม่ ๆ ึ ่ ื ่ ็ ู ์ ้ ี ท่อพเดตความเคลอนไหวอยเปนระยะ รวมไปถงการใชซอฟตแวรและโปรแกรมตาง ๆ ในการประมวลผลขอมล ่ ู ์ ้ ั ิ ิ ้ ่ ่ ื ิ ิ ั ิ ิ ิ � ้ ั ่ ็ ุ ่ � ้ ู และปอนคาสงไดอยางรวดเรว เพอใหการทางานในหนวยงานยุคดจทลเกดประสทธภาพและประสทธผลสงสดอยเสมอ ่ ู ั ๓.๔ ปรบวฒนำธรรมองคกรสดจทล (Digital Culture) การจะกาวสการเปนองคกรดจทลไดอยางยงยน ั ิ ิ ู ์ ่ ั ิ ์ ้ ่ ็ ั ู ื ้ ิ ่ ั ่ หรือไม่น้น วัฒนธรรมการทางานแบบดิจิทัลมีส่วนสาคัญอย่างมาก โดยปกติแล้วหน่วยงานยุคใหม่ก็ล้วนแล้วแต่ม ี � � ั � ื วัฒนธรรมการทางานท่มุ่งเน้นการปรับปรุงกระบวนงานอย่างต่อเน่อง หรือการสร้างผลงานในเชิงนวัตกรรมเพ่อแก้ ี ื ปัญหา และลดอุปสรรคในการดาเนินงานอย่างไม่หยุดน่ง หากองค์กรขับเคล่อนความเป็นดิจิทัลเข้าสู่กระบวนการทางาน � ิ � ื ่ ี ู � ุ ิ ็ ึ ในแบบเชงลก ปัญหาและอปสรรคแบบเดม ๆ ขององค์กรกจะลดน้อยลงตามไปด้วย และเปลยนรปแบบการทางาน ิ ั ี ขององค์กรให้ก้าวไปในทิศทางท่สอดคล้องกับสถานการณ์ความเป็นโลกาภิวัตน์ในโลกยุคปัจจุบันได้ คือ มีท้งความเช่อมโยง ื คล่องตัว สะดวก ไม่จ�ากัดเวลาและสถานที่ และตอบโจทย์ความต้องการได้อย่างรวดเร็ว ้ ๓.๕ เตรยมคว�มพร้อมทงระบบ เม่อผู้นา ผู้บริหารยุคใหม่ต่างมีความคาดหวังให้องค์กรเปล่ยนแปลงและก้าวไป ี ั � ื ี ี สู่ความเป็นดิจิทัลได้อย่างจริงแท้แน่นอน ส่งท่องค์กรจะต้องผลักดันให้เกิดการเปล่ยนแปลงขนานใหญ่ก็คือ “คน” ี ิ ื � เพราะทรัพยากรบุคคลเป็นหัวใจสาคัญของการดาเนินงาน หากหน่วยงานไม่สามารถเช่อมโยงกาลังพลกับความเป็น � � ึ ดิจิทัลเข้าไว้ด้วยกันแล้ว วัฒนธรรมองค์กรยุคดิจิทัลก็ไม่อาจเกิดข้นได้จริง นับเป็นโจทย์ท้าทายท่ทุกองค์กรต้องแก้ ี � ให้ตรงจุด ทาอย่างไรให้กาลังพลเดิมก้าวผ่านสู่การเปล่ยนแปลงได้โดยไม่เกิดความขัดแย้ง ทาอย่างไรให้สามารถดึงศักยภาพ � ี � ด้านดิจิทัลในตัวบุคคลมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่หน่วยงาน และทาอย่างไรจึงจะเข้าถึง และเข้าใจคนทางานยุคใหม่ � � ื ี อย่างคน Gen-Y, Gen-Z ท่มีความสามารถด้านเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างเต็มเปี่ยม เพ่อเปิดโอกาสให้พลังคนยุคใหม่ได้ ื ั ขับเคล่อนองค์กรในยุคดิจิทัลได้อย่างย่งยืน เพราะการสร้างวัฒนธรรมองค์กรไปสู่ความเป็นองค์กรยุคดิจิทัลน้นต้อง ั นาวิกศาสตร์ 53 ปีที่ ๑๐๖ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

� ี � อาศัยความร่วมมือร่วมใจจากกาลังพลทุกคนในหน่วย ประกอบกับการสร้างตัวอย่างท่ดีจากผู้นาและผู้บังคับบัญชา ื � � ี � � เป็นสาคัญ การส่อสาร การให้ความสาคัญ และการช้นาวิสัยทัศน์ล้วนมีผลต่อการกาหนดทิศทางของหน่วยเสมอ เพื่อน�าไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่จะน�าพาทั้งหน่วยงานให้ก้าวไปข้างหน้าได้อย่างมั่นคง ๔. ก�รประยุกต์ใช้ 5G กับหนำ่วยง�นำในำพื้นำที่กองทัพเรือ ิ � � ี ี เทคโนโลยี 5G ถือเป็นส่งท่คาดหวังว่าจะมาเปล่ยนวิธีการทางานของเราไปอย่างสมบูรณ์โดยนาเสนอความจุข้อมูล ่ � ขนาดใหญ่ ความเร็วท่รวดเร็วและความหน่วงท่ตามาก 5G นับเป็นย่างก้าวท่ย่งใหญ่กว่ารุ่นก่อน ๆ ของเทคโนโลย ี ี ิ ี ี เครือข่ายไร้สาย คุณสมบัติของ 5G ไม่เพียงแต่จะเพ่มประสิทธิภาพของการส่อสาร อีกท้งยังปลดปล่อยศักยภาพ ื ิ ั ี ี ของระบบอัตโนมัติ ท่สาคัญจะช่วยนาไปสู่การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีท่เกิดมาก่อนอย่างเช่น ความจริงเสมือน � � (Augmented Reality และ Virtual Reality), ระบบคลาวด์ (Cloud system), Internet of Things (IoT) และปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) แน่นอนเครือข่ายไร้สาย 5G เริ่มถูกน�ามาใช้งานอย่างจริงจังตั้งแต่ ิ ึ � ี ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ เป็นต้นมา ซ่งส่งผลกระทบอย่างชัดเจนในทุกระดับและนาไปสู่ความเป็นไปได้อย่างไม่มีท่ส้นสุด องค์กร ื ี � หน่วยงานต่าง ๆ จะต้องเตรียมความพร้อมสาหรับความเป็นไปได้ ท่การเช่อมต่อบนเครือข่ายไร้สายน้ จะมอบให้ ี ึ ุ ่ ี ั แก่หน่วยงานทเรวสดซงยอมรบในการเปลยนแปลงทเกดขน ผ้บรหารหรอผ้บงคบบญชาจะต้องตระหนก และเข้าใจ ็ ้ ่ ิ ึ ่ ั ิ ื ี ู ั ่ ี ั ั ู ื ิ � � ้ เทคโนโลยีดจิทัลน้ว่านามาใช้อะไร อย่างไรได้บ้าง เพ่อให้ได้ประสทธิภาพการทางานทสูงขน รวดเร็ว และตรวจสอบ ่ ิ ี ึ ี ั ี � ั ื ติดตามได้ รวมท้งการบริการ การสวัสดิการแก่กาลังพล จากผลท่ได้รับจากการเช่อมต่อบนเครือข่ายไร้สาย 5G น้นคาดว่า ิ ์ ิ ึ จะพลกโฉมของโลกทังในเชงพาณชยรวมถงดานการทหาร (5G for Military) ้ ิ ้ ้ ่ ่ ู ิ ุ ้ จดเดนเครอขาย 5G คอ สามารถตอบสนองความตองการของผใชไดดยงขน และนาผใชเขาสอารยธรรมโลกออนไลน ์ ู ี ้ ้ ู ่ ึ ้ ื ้ ื � ้ ้ ่ ู ั ไดอยางสมบรณ มพลงในการเปลียนแปลงการปฏิิบตงานทางทหารสามารถเพิ่มความพรอม และรองรบความสามารถ ์ ่ ั ี ้ ้ ิ ั ่ ั ั ่ ุ การปฏิิบตภารกจใหม ๆ ดวยอปกรณพกพาหรออปกรณสวมใสอนเหนไดจากกองทพอากาศสหรฐฯ ใชชด Android ุ ้ ั ุ ั ิ ้ ิ ์ ็ ื ้ ์ ่ ั ้ Assault Kit และ Battlefield Airmen เพือเพิมการรบรูสถานการณรวมกนในแบบ Real Time อกทังยงเพิมความ ่ ์ ั ่ ่ ั ่ ี ้ ี ั ้ ี ่ ่ ิ ื ้ ็ ่ ั ่ ิ ี สามารถในการบญชาการ สงเหลานถอเปนสงทยกระดบการใชเทคโนโลย Smart phone และ Tablet ในรูปแบบใหม่ของทางทหารเมื่อ 5G ถูกน�ามาใช้ในทางทหาร การพัฒนากองทัพเรือ ฐานทัพเรือ ที่จะต้องเชื่อมต่อด้วย เครือข่าย 5G แทนการเชื่อมต่อในแบบเดิมถือว่าเป็นไปได้ และเป็นโอกาสในการย้ายตัวเองจากบทบาทในศตวรรษที่ ๒๐ ที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (Network - Centric Infrastructure) ไปสู่ในศตวรรษที่ ๒๑ ที่โครงสร้างพื้นฐานนั้น ใช้ข้อมูลสารสนเทศเป็นศูนย์กลาง (Information - Centric Infrastructure) ผลท่ได้จะทาให้ประสิทธิภาพการปฏิิบัต ิ ี � ี ั งานน้นจะดีข้น และผลักดันระดับการเตรียมความพร้อมท่สูงข้น ด้วยต้นทุนท่ถูกลง (High Tech, Low Cost) อย่างเช่น ึ ี ึ 5G ท�าให้อุปกรณ์ VR ที่เชื่อมต่อกับระบบคลาวด์ด้วยการหน่วงของเวลาที่ต�่ามาก จนท�าให้การควบคุมและสั่งการของ � ี ึ ่ การฝึกจาลอง (Simulation) เป็นไปในแบบ Real Time ซ่งการใช้เทคโนโลยีน้ท่ต้นทุนตาเพ่อพัฒนาทักษะการเดินเรือ ี � ื ้ � ื เทียบเรือ จอดเรือ ท้งเรือผิวนา เรือดานา ของนายทหารพรรคนาวิน และทักษะการบินเบ้องต้นของศิษย์ ้ ั � � ิ ี การบินทหารเรือก่อนท่จะเร่มปฏิิบัติจริง ด้วยการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ประเภทสวมใส่อย่างอุปกรณ์ แว่น VR แบบจอ ่ ี ึ ้ ิ ี ิ ้ สวมบนศรษะ (Head-Mounted Displays: HMDs) แทนการใชเครืองฝกจ�าลอง นันจะท�าใหการฝกมประสทธภาพ ้ ึ ่ ่ ่ ทีมากขึน ฝกไดทละหลาย ๆ คน และมตนทนที่ถกลง ตามในภ�พที ๒ ซึงในพืนทีสตหบ กเปนทีตังของกองการฝก ึ ็ ็ ้ ้ ี ี ุ ่ ู ี ่ ้ ้ ้ ึ ั ่ ี ั ื ่ กองเรอยทธการ (กฝร.กร) เปนหนวยงานทีรบผดชอบการฝกตางๆ ของกองทพเรอดวย รวมทังมกองการบนทหารเรอ ็ ุ ั ิ ื ้ ่ ิ ้ ื ึ ้ ็ ี ์ ้ ุ ี ิ ่ ิ ่ ั ้ ่ ั อยในพืนทีสตหบเชนเดยวกน จ�าเปนตองน�าเทคโนโลย 5G มาประยุกตใชเพือเพิมประสทธภาพและลดตนทนในการ ้ ่ ี ่ ู นาวิกศาสตร์ 54 ปีที่ ๑๐๖ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

ภ�พที่ ๒ การฝึกบินเฮลิคอปเตอร์จ�าลองโดยการสวมอุปกรณ์แว่น VR ที่มา : //warisboring.com/air-force-helicopter-pilots-pas sing-training-program-six-weeks-early-thanks-tovirtual-reality/ ิ ่ ึ ิ ์ ่ ฝกศษยการบนในอนาคตอยางแนนอน ุ ั � ิ ั ็ ั ่ ึ ี ั ื ู ้ ่ ่ ้ ้ ี ื ้ อกประการหนง สาหรบฐานทพเรอในการปรบปรงการปฏิบตงานเขาสโครงสรางพนฐานทใชขอมลสารสนเทศเปน ้ ู ิ ึ ่ ื ั ุ ื ศนยกลางกคอ การปรบปรงการเขาถงขอมลในทกระดบ (Improving Supply Chain Visibility) โดยทีเครอขาย 5G ้ ่ ู ุ ์ ั ็ ู ้ ื ู ั � ้ ้ ั ่ ี � ้ ุ ์ ้ ่ ั ี ิ ้ ้ ั ึ ่ ่ ั ั นนรองรบแอพพลเคชนขนสงทนามาใชบนอปกรณพกพาทงการทางานภายในและโดยรอบพนทฐานทพเรอ ซงเจา ื ิ ้ ั ้ ่ ่ ุ ่ ้ ้ ้ ั ่ ี ้ หนาทีปฏิิบตงานในพืนที และเจาหนาทีดานการซอมบ�ารงนันสามารถใชขอมลบน Tablet ทีมความปลอดภยภายใน ้ ่ ้ ู ิ ื ี ิ สภาพแวดล้อม 5G ท่ปลอดภัยในแบบ Real Time เพ่อตรวจดูแผนการฝึก แผนปฏิิบัติการ ส่งของคงคลังการใช้ช้นส่วน ของอะไหล่ ตรวจดูแผนการบ�ารุงรักษา การรักษาความปลอดภัยในพื้นที่ต่างๆ ผ่านการเชื่อมโยงบนเครือข่าย 5G ได้ � นอกจากน้ยังใช้ตรวจดูข้อมูลยุทโธปกรณ์ทางทหารท่ประจาการอยู่ในฐานทัพ/หน่วยต่างๆ ได้ และท่สาคัญสามารถ ี ี � ี ใช้อุปกรณ์พกพาอย่าง Tablet เพื่อตรวจสอบการรักษาความปลอดภัยและความสมบูรณ์ ในการบริหารด้านการซ่อม บ�ารุง อาทิ การติดตั้งเซ็นเซอร์เข้ากับเครื่องยนต์ของเรือรบ /อากาศยานแล้วส่งข้อมูลในแบบ Real Time ผ่านเครือ ี ื ี ี ื ี ื ข่าย 5G เก่ยวกับเคร่องยนต์กลับมามอนิเตอร์ท่ภาคพ้นข้อมูลเหล่าน้สามารถท่จะเรียกดูผ่าน Tablet เพ่อเฝ้าระวังหาก มีการท�างานที่ผิดพลาด ก่อนที่จะเกิดเหตุร้ายแรงอีกทั้งยังใช้ในการวิเคราะห์อันน�าไปสู่การป้องกันเพื่อหลีกเลี่ยงเหตุที่ จะท�าให้เกิดความเสียหายได้ ิ ึ ในด้านการแพทย์ของโรงพยาบาลทหาร ซ่งในอาเภอสัตหีบ มีโรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ เป็นโรงพยาบาล � ทหารเรือขนาดใหญ่ โรงพยาบาลอาภากรเกียรติวงศ์ ฐานทัพเรือสัตหีบ การผ่าตัดระยะไกล (Remote Robotic Surgery) 5G จะยกระดับการแพทย์ของโรงพยาบาลทหารในรูปแบบการรักษาทางไกล (Telehealth) อาทิ การผ่าตัด ั ่ ั ้ ่ ี ี ้ ื ้ ิ ์ ้ ึ ้ ั ั ั ์ ึ ุ ขามจงหวด ขามพนท และคาดวาอปกรณทางการแพทยจะเกดขนภายในอนาคตอนใกลน อนหมายถงในอนาคตอน ้ ใ ก ล ้ ู้ การแพทย์จะเข้าถึงผคนทวโลกท�าใหคุณภาพชวิตของข้าราชการทหารและครอบครัวนนดขนเนองจากเทคโนโลยี 5G ี ื่ ั้ ั่ ึ้ ้ ี ั้ ั ิ ั ู้ ั ้ ่ ี่ ื่ จะเชอมแพทยผเชยวชาญกบผปวยแมวาจะอยู่กนคนละสถานทกตาม ซงทงหมดนจะท�าใหกองทพนนสามารถปฏิบต ิ ู้ ์ ่ ั้ ้ ี้ ึ่ ็ ี่ ั ่ ้ ี ิ ิ งานไดอยางมประสทธภาพ นาวิกศาสตร์ 55 ปีที่ ๑๐๖ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

ิ ื ั ็ ี ั ี ั ่ ้ ื ๕. กรอบแนำวคดก�รในำพฒนำ�พนำทกองทพเรอ - สตหบ เปนำ Smart Navy Base ่ ตามทีผูเขยนไดนยาม พืนทีกองทพเรออจฉรยะ (Smart ่ ี ้ ิ ิ ้ ั ั ้ ื ้ ื ่ ้ ึ ่ ้ Navy Base) ไวขางตนวา หมายถง บรเวณพนทใน ิ ี ้ ่ กองทัพเรือทไดนาเทคโนโลยดจทัล นวัตกรรมท่ทันสมัยและ ิ ี � ิ ี ี ้ ้ ั ั ิ ็ ์ ี มความเปนอจฉรยะ (Smart) มาประยุกตใชในการปรบปรง ุ � ่ กระบวนการทางาน การปฏิบตการ เพอเพมประสทธภาพ เพม ิ ิ ่ ่ ิ ิ ื ิ ั ิ ่ ิ ขดความสามารถ เพมความสะดวกรวดเรว เพมความปลอดภย ็ ่ ิ ี ั � ้ ั ่ รวมทงการบริการแกกาลังพล แต่ละหน่วยให้ครอบคลุมกว้าง ้ ่ ้ ้ ้ ่ ้ ขวางทัวทังพืนทีนัน จะตองออกแบบโครงสรางพืนฐานระบบ ้ ้ ื ั ดจทล (Digital Infrastructure) ในบริเวณพนทกองทพเรอ ั ื ิ ิ ่ ี ึ ี ่ โดยผูเขยนไดก�าหนดพื้นทีสตหบ เปนกรณศกษากอน เพือให ้ ภ�พที่ ๓ องค์ประกอบของ Smart Navy Base ี ี ็ ่ ่ ้ ั ้ ่ ี ้ ั ิ ิ ั ั ั ั สอดรบกบแผนนโยบายของรฐบาลในเรืองของ Smart City จงหวดชลบร โดยตองมการจดหาทรพยากรดจทลรวมกน ั ั ุ ี ่ ั ั ุ ้ ้ ้ ์ ั ้ ่ ิ ี ิ ่ ุ ภายในพื้นทีอยางมประสทธภาพสงสด ลดความซ�าซอนในการลงทน ดวยการใช สถ�ปตยกรรมองคกร (Enterprise ู ๕ Architecture: EA) บูรณาการข้อมูลและทรัพยากรร่วมกัน โดยเป้าหมายของ EA ก็คือการสร้างสภาวะแวดล้อม เทคโนโลยีสารสนเทศ ของหน่วยงานให้มีมาตรฐานทางฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่เข้ากันได้ ข้ามหน่วยงานข้ามฟังก์ชั่น ื งานภายในพ้นท่กองทัพเรือสัตหีบ และหน่วยงานภายนอกได้อย่างประสานสอดคล้อง โดยเน้นการมีส่วนร่วมของ ี ผู้บังคับบัญชาและก�าลังพล ภายใต้แนวคิดการพัฒนาท�างานทันสมัย พื้นที่น่าอยู่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ให้ก�าลังพล ี ี อยู่ดี มีสุข ปลอดภัย โดยมีกรอบแนวคิดขององค์ประกอบ Smart Navy Base ๖ องค์ประกอบด้วยกัน ดังน (ภ�พท่ ๓) ้ ๕.๑ ก�รรักษ�คว�มปลอดภัยอัจฉริยะ (Smart Security) กล่าวคือ การเข้า-ออกหน่วยงานแต่ละที่ หากเป็น � ั รถยนต์ เรมเปลยนสตกเกอร์ตดรถยนต์ให้เป็นระบบ RFID การเปลยนบตรประจาตวข้าราชการให้เป็นระบบ RFID ิ ่ ี ่ ั ี ิ ิ ่ ระบบผ่านเข้า-ออกจะต้องเป็นระบบอัตโนมัติที่ตรวจสอบจาก RFID ได้ และน�าเทคโนโลยีระบบจดจ�าใบหน้า (Face Recognition) มาใช้งานในด้านต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านระบบการรักษาความปลอดภัยด้วย โดยทั่วไประบบรู้ ั � � จาใบหน้าจะประกอบไปด้วย ๒ ข้นตอนคือ การตรวจจับใบหน้า (Face Detection) และการรู้จาใบหน้า (Face Recognition) (๑) การตรวจจับใบหน้า (Face Detection) คือกระบวนการค้นหาใบหน้าของบุคคลจากภาพหรือวิดีโอ ั ี � ื จากน้นก็จะทาการประมวลผลภาพใบหน้าท่ได้สาหรับข้นตอนถัดไปเพ่อให้ภาพใบหน้าท่ตรวจจับได้ง่ายต่อการจาแนก � � ี ั ้ ้ ่ ้ และ (๒) การรูจ�าใบหนา (Face Recognition) คอกระบวนการทีไดน�าภาพใบหนาทีตรวจจบไดและประมวลผลแลว ่ ั ้ ื ้ ้ ุ ั ี ่ ุ ่ ั ้ ี ั ี ้ ้ จากขนตอนการตรวจจบใบหนา มาเปรยบเทยบกบฐานขอมลของใบหนาเพอระบวาใบหนาทตรวจจบไดตรงกบบคคใด ้ ้ ั ้ ่ ื ู ั ้ ั ้ ่ ิ ่ ่ ่ ื ั ์ ู ิ ้ ้ ่ ตามในภ�พที ๔ ดงนันโปรแกรมจดจ�าใบหนา คอ ระบบทีท�าการวเคราะหใบหนาทีถกตรวจจบได ในขณะทีเดนผาน � ี � ั กล้องน้นว่าตรงกับใบหน้าของบุคคลใด และทาการเปรียบเทียบกับภาพในฐานข้อมูลท่มี เทคโนโลยีการรู้และจาใบหน้า � ั ี นอกจากจะนามาใช้ในด้านรกษาความปลอดภยแล้ว ยังสามารถนามาประยุกต์ใช้งานได้อีกหลากหลายกรณ เช่น � ั � ในคลังแสง ในอาคารจอดรถ เป็นต้น สาหรับบุคคลภายนอกก็สามารถแลกบัตรประจาตัว แล้วใช้เทคโนโลยีจดจาใบหน้า � � ในการเข้ามาใช้พื้นที่ในเขตทหาร ไม่ว่าจะเข้ามาในฐานะนักท่องเที่ยว หรือ ติดต่อราชการ เทคโนโลยีระบบการจดจ�า ใบหน้า จะช่วยติดตามได้ตลอด (People Tracking) หากมีพฤติกรรมที่ผิดปกติ หรือต้องสงสัยอาจก่อเหตุร้ายได้ นาวิกศาสตร์ 56 ปีที่ ๑๐๖ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

ภ�พที่ ๔ Face Detection System

ที่มา : //www.pinterest.com/pin/470766967295054579 ้ ี ื ี ื ๕.๒ โครงสร้�งพนำฐ�นำอัจฉริยะ (Smart Infrastructure) ในพ้นท่กองทัพเรือในสัตหีบน้ จะวางโครงสร้าง พื้นฐานอัจฉริยะ ด้วยอาคารอัจฉริยะ (Smart Building) และ ท่าเรืออัจฉริยะ (Smart Port) มีระบบต่าง ๆ ที่เชื่อมต่อ ไปยังฐานข้อมูลบนคลาวด์ จากแผงควบคุมอัจฉริยะ ไปสู่ระบบจัดเก็บอันชาญฉลาด จากระบบควบคุมอาคารอัตโนมัติ ไปสู่ สวิทช์ วาล์ว และเซ็นเซอร์ เป็นอาคารประหยัดพลังงาน การใช้พลังงานสะอาด เช่น solar roofs ติดตั้งแผงบน ดาดฟ้า/หลังคา มีการใช้เสาไฟฟ้าอัจฉริยะ (Smart Light Pole) ดังแสดงในภ�พที่ ๕ ตามถนน และท่าเรือภายในพื้นที่ ี ซ่งเสาต้น ๆ หน่งจะประกอบด้วยกล้อง IP camera, HD CCTV, Solar panel, แบตเตอร่, ลาโพงกระจายเสียง, ึ � ึ แผงควบคุมระบบไฟฟ้า และส�ารองไฟประจ�าเสา, ระบบเครือข่ายไร้สาย Wi-Fi, Airbox ที่มีตัวเซนเซอร์วัดอุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์ และค่าฝุ่นพิษ PM2.5 เป็นต้น มีการติดตั้งอุปกรณ์ IoT ให้กระจายไปทั่วทั้งในอาคาร นอกอาคาร ิ ั ท่าเทยบเรือ มระบบควบคุมพลังงานอตโนมัตระบบควบคุมพลงงานอตโนมัต และแผงวงจรกริดอัจฉริยะ (Smart Grid) ี ี ั ิ ั

ภ�พที่ ๕ ระบบเสาไฟฟ้าอัจฉริยะ (Smart Light Pole)

นาวิกศาสตร์ 57 ปีที่ ๑๐๖ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

ภ�พที่ ๖ Smart Port and Smart Grid

ั ระบบการกระจาย และจดสรรพลงงาน และการบรณาการพลงงานทดแทนตาง ๆ ใหทางานรวมกน ไดสรางความ ่ ู ้ ั ้ ่ � ั ั ้ ่ ้ ื ั ่ ่ ้ ่ ี ทาทายใหม ๆ ในเรองของความปลอดภย และความนาเชอถอของระบบทจะใชรองรบ ดวยระบบควบคมพลงงาน ้ ั ุ ่ ื ั ื อตโนมตและแผงวงจรกรดอจฉรยะ ดงแสดงในภ�พที ๖ ่ ิ ั ิ ิ ั ั ั ๕.๓ ก�รศึกษ�อัจฉริยะ (Smart Education) เนื่องจากพื้นที่กองทัพเรือในสัตหีบนั้น เป็นที่ตั้งของ กองการฝึก ี ี ี กองเรือยุทธการ มีภารกิจหน้าท่ดาเนินการฝึกกาลังพล พัฒนาการฝึก จัดทาแบบฝึกและคู่มือการฝึกต่าง ๆ ท่เก่ยวข้อง � � � ตลอดจนด�าเนินการฝึกก�าลังพลทดแทน และก�าลังพลส�ารองให้แก่ กองเรือยุทธการ ดังนั้น เนื้อหาการเรียนการสอน ต้องเปล่ยนแปลงไปจากการใช้กระดาษไปสู่รูปแบบท่เป็นเทคโนโลยีดิจิทัล กองการฝึก ฯ เองก็ต้องมองหาหนทางใหม่ ๆ ี ี ในการสร้างสรรค์สื่อการเรียนการสอนและการน�าสื่อเหล่านี้มาใช้สอนผู้เรียนให้ได้ อาทิเช่น ๕.๓.๑ หนังสือและสื่อการเรียนแบบดิจิทัล การแจกเอกสารการเรียนการสอนในรูปแบบของไฟล์ PDF, DOCX, � ี ึ ิ ื PPTX, วีดีโอ และทาการส่งต่อผ่านบริการ Cloud ก็ได้เร่มกลายเป็นแนวทางพ้นฐานท่ถูกใช้กันในปัจจุบัน ซ่งในอนาคต เอกสารการเรียนการสอนเหล่านี้ก็จะถูกเปลี่ยนรูปแบบไปสู่การเป็น Immersive Textbook ที่สามารถถูกใช้เรียนรู้ได้ ทั้งใน และนอกห้องเรียน รวมถึงเปิดให้ผู้เรียนและผู้สอนสามารถสื่อสารกันได้โดยตรง � ๕.๓.๒ การสร้าง และใช้ส่อการเรียนแบบดิจิทัล อุปกรณ์บันทึกภาพและเสียงจะถูกนามาใช้บันทึกการเรียน ื การสอนที่เกิดขึ้นมากขึ้นเรื่อย ๆ ในขณะที่เทคโนโลยีอย่าง Smart Whiteboard เองก็จะช่วยให้สามารถบันทึกเนื้อหา การสอนทั้งการเขียนกระดาน, การเปิดไฟล์น�าเสนอ หรือการเปิดวีดีโอให้ผู้เรียน ผู้รับการฝึกดูนั้นง่ายขึ้น ๕.๓.๓ การน�าเทคโนโลยี Augmented Reality (AR), Virtual Reality (VR) และ Mixed Reality (MR) มาใช้ ภ�พที่ ๗ ตัวอย่างการน�าเทคโนโลยี AR / VR มาประยุกต์ใช้กับการฝึกปืนกลเรือ ี ท่มา : //www.roadtovr.com/gunnar-live-fire-test-shows-ar-can-revolutionize-decades-old-combat-procedures/ นาวิกศาสตร์ 58 ปีที่ ๑๐๖ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

การเรียนการสอน ซึ่งสามารถปฏิิสัมพันธ์กับผู้เรียนได้ แม้แต่วีดีโอแบบ ๓๖๐ องศาเองก็จะถูกน�ามาใช้ในการสอนด้วย ี � เช่นกัน จะทาให้ลดการใช้จ่ายในการเรียนการฝึกปฏิิบัติในสถานท่จริงมากมาย โดยเฉพาะการฝึกเดินเรือ การฝึกนักบิน การฝึกเรือด�าน�้า การฝึกยิงปืนเรือ เป็นต้น ก่อนที่จะไปฝึกปฏิิบัติจริง ดังแสดงในภ�พที่ ๗ ั ๕.๓.๔ ส่อสารภายในช้นเรียนด้วยแนวคิด Connected Classroom ครูและนักเรียนจะต้องมีแนวทางการส่อสาร ื ื ระหว่างกันในรูปแบบใหม่ที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อให้การสื่อสารสอบถามประเด็นต่างๆ สามารถเกิดขึ้นได้ทั้ง ในและนอกห้องเรียน ั ื ิ ึ ๕.๓.๕ การเรียนรู้ผ่านเกมส์ เพ่อให้การเรียนการสอนมีความน่าสนใจมากย่งข้น การเรียนรู้ผ่านเกมส์น้นก็จะกลาย มาเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่ช่วยดึงความสนใจจากผู้เรียนและผู้ได้รับการฝึกได้ดี ึ ี ๕.๓.๖ การทาแบบทดสอบออนไลน์ การทดสอบเพ่อช้วัดผลการเรียนรู้ของผู้เรียนน้นจะสามารถเกิดข้นได้ทุกท ี ่ ื � ั ทุกเวลาผ่านช่องทางออนไลน์ โดยเทคโนโลยีส�าหรับป้องกันการโกงการสอบแบบออนไลน์นั้นก็จะถูกน�ามาใช้งานด้วย ี ๕.๔ ก�รดูแลสุขภ�พท่ช�ญฉล�ด (Smart Healthcare) แม้เราจะเห็นโรงพยาบาลเอกชนหลายแห่งในปัจจุบัน � ี ได้พัฒนาคุณภาพบริการโดยเฉพาะการนาเทคโนโลยีมาใช้ในด้านต่าง ๆ ท้งระบบบันทึกข้อมูลผู้ป่วยท่แพทย์ และพยาบาล ั สามารถเข้าถึงและอัพเดทข้อมูลการรักษา การให้ยา ฯลฯ ได้แบบ Real time เพื่อประสิทธิภาพในการรักษาสูงสุด แต่ ั � ั ึ ื ั ข้อมูลเหล่าน้นยังถูกจากัดการเช่อมโยงใช้งานเพียงในเฉพาะสาขาหรือในโรงพยาบาลน้น ๆ เท่าน้น ซ่งหากมีการบูรณาการ ข้อมูลผู้ป่วยเข้าด้วยกัน และเช่อมโยงข้อมูลได้กับทุกโรงพยาบาลในประเทศ จะช่วยให้เกิดความสะดวกสบาย ื ในการเข้ารักษาพยาบาลโดยเฉพาะในกรณีฉุกเฉินได้เป็นอย่างมาก ในกรณีของโรงพยาบาลทหารเรือก็เช่นกัน ในปัจจุบัน ข้อมูลของผู้ป่วยแต่ละโรงพยาบาลทหารเรือยังไม่เช่อมโยงกัน กล่าวคือ หากผู้ป่วยท่เคยรักษาตัวหรือตรวจสุขภาพ ื ี ี ร่างกายท่ ร.พ. ทหารเรือในกรุงเทพ ก็จะไม่มีข้อมูลลิงค์ไปถึง การรักษาตัวท่สัตหีบ เรียกได้ว่าตรวจรักษาท่ใด ก็มีข้อมูล ี ี ี ื � เฉพาะท่โรงพยาบาลน้น จาเป็นต้องบูรณาการให้เช่อมโยงข้อมูลของกาลังพลแต่ละคน ทุก ๆ โรงพยาบาลท่เคยไปตรวจ � ี ั ั หรือรักษา และจะต้องออกแบบระบบฐานข้อมูลส่วนบุคคลท้งหมดแบบบูรณาการ ท้งข้อมูลส่วนตัว หน่วยสังกัด ั ประวัติการท�างาน ข้อมูลสุขภาพ ประวัติการตรวจสุขภาพประจ�าปี การรักษาพยาบาลที่ผ่านมา ยาที่แพ้ โรคประจ�า ตัวการท�าประกันชีวิต ประกันสุขภาพส่วนบุคคล (หากมี) รวมทั้งการฉีดวัคซีนป้องกันไวรัส COVID-19 หรือ วัคซีน ป้องกันไข้หวัดใหญ่ เป็นต้น ในภ�พที่ ๘ เรื่องการดูแลสุขภาพอัจฉริยะ (Smart Healthcare) นั้น นอกจากเทคโนโลยี IoT ปฏิิวัติอุปกรณ์ที่ เชื่อมต่อและเทคโนโลยีที่สวมใส่ประจ�าตัว ได้ท�าให้ผู้เชี่ยวชาญด้านการดูแลสุขภาพสามารถตรวจสอบผู้ป่วยจากระยะ ไกลด้วยเซ็นเซอร์และใช้ข้อมูลทางการแพทย์ของพวกเขาส�าหรับการวินิจฉัยการรักษาและใบสั่งยา เช่น สายรัดข้อมือ/ นิ้วมือ เพื่อวัดความดันโลหิต วัดค่าน�้าตาล วัดการนอนหลับ วัดจังหวะการเต้นของหัวใจ เป็นต้น การดูแลสุขภาพที่ ชาญฉลาดก็ยังมีการเปลี่ยนกระบวนทางการแพทย์สาหรับยุคดิจิทัล IoT และบริการด้านการดูแลสุขภาพบนคลาวด์ � ุ ึ ี ู ิ ้ ่ ้ � ั ่ ุ สงเสรมการตรวจสอบผปวยและการสงมอบการดแลสขภาพทด ซงมความสาคญตอการใหบรการดานการดแลสขภาพ ้ ู ่ ู ิ ี ี ่ ่ ่ ในศตวรรษ ท่ ๒๑ เป็นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเหล่าน้ ความเข้าใจในการใช้อุปกรณ์แอพพลิเคช่นและบริการไม่เพียงแต่ ี ั ี ี ั � ช่วยให้ผู้ป่วยรู้วิธีการจัดการสุขภาพและชีวิตตนเองท่ดีเท่าน้น แต่ยังช่วยให้โรงพยาบาลได้ยกระดับกระบวนการทางาน ึ ี ทางสาธารณสุขได้ดีข้นด้วยเช่นกัน โดยเฉพาะอย่างย่ง หากมีโรคติดต่อร้ายแรงระบาดอยู่ เทคโนโลยีเหล่าน้ จะช่วย ิ อัพเดทข้อมูลได้รวดเร็ว และเป็นประโยชน์กับการติดตามเฝ้าดูแล และยังสามารถตรวจวัดผ่านระบบทางไกล โดย ไม่ต้องมาโรงพยาบาลอีกด้วย นอกจากนั้น การใช้เทคโนโลยีเหล่านี้ ยังช่วยในการรายงานและตรวจสอบไปพร้อมกัน ื ื กับการเช่อมต่อแบบ end-to-end และความสามารถเช่อมโยงการจัดประเภทและการวิเคราะห์ข้อมูลความช่วยเหลือ ี ทางการแพทย์ระยะไกล การติดตาม และการแจ้งเตือน อุปกรณ์ท่เก่ยวข้องกับเทคโนโลยีฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ี นาวิกศาสตร์ 59 ปีที่ ๑๐๖ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

ภ�พที่ ๘ Smart Healthcare ื ิ ้ ิ ิ ั ุ ่ ู ั ู ้ ่ สาหรบระบบการดแลสขภาพอจฉรยะ ไดรบการเปดเผยเพอยกระดบการใหบรการทางการแพทยแกผปวยใน ้ ั ั � ่ ์ ื ่ ี ุ ิ ็ ้ ั ุ ่ ้ ่ ั ่ ั ิ ์ ้ และผูปวยนอก ผลการวจยพบวาโทรศพทมอถอ ทีมความสามารถระบตวดวยคลืนความถี่วทย (RFID) สามารถใชเปน ื แพลตฟอรมส�าหรบการสงมอบการดแลสขภาพทีดเยยม ์ ั ี ู ุ ่ ่ ่ ี ๕.๕ ระบบขนส่ง และจราจรอัจฉริยะ (Intelligent Transportation System: ITS) คือ ระบบที่ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ และการส่อสาร มาช่วยในการจัดการในระบบคมนาคม การขนส่ง และจราจร เพ่อช่วยในการเพ่ม ื ิ ื ประสิทธิภาพของระบบบนท้องถนน เพิ่มประสิทธิภาพความปลอดภัย และช่วยลดการติดขัดของการจราจร ฟังก์ชัน ของระบบ ฯ อาทิ ๕.๕.๑ ในภ�พที่ ๙ เมื่อมีรถยนต์เข้ามาในเขตทหาร หากเป็นรถที่ได้ลงทะเบียนไว้แล้ว จะมี RFID ประจ�ารถอยู่ ภ�พที่ ๙ การตรวจจับและติดตามคน-ยานพาหนะที่เข้ามาในเขตพื้นที่กองทัพเรือ นาวิกศาสตร์ 60 ปีที่ ๑๐๖ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

ี � สามารถติดตาม (Tracking) แต่หากเป็นรถยนต์บุคคลภายนอกท่เข้ามาติดต่อราชการ เราสามารถกาหนดเส้นทางการเดินรถ และติดตามรถด้วยระบบ tracking และ กล้อง IP camera ท่มีติดอยู่ตามเสา Smart Light Pole หากขับออกนอกเส้นทาง ี จะถูกแจ้งเตือนทันที หรือเมื่อยานพาหนะมีปัญหาข้อขัดข้อง ี ี ื ี ๕.๕.๒ ประเมินการขับข่ บันทึกลักษณะการขับรถของผู้ขับข่ในพ้นท่กองทัพเรือ ว่าก่อให้เกิดอันตรายหรือไม่ และน�ามาประเมินผลเป็นคะแนนในภายหลังได้ สาหรับบุคคลภายนอกท่เข้ามา หากขับรถผิดกฏิจราจรบ่อย ๆ � ี ในหน่วยทหาร ก็จะขึ้นเป็น blacklist สามารถปฏิิเสธการให้เข้ามาครั้งต่อไปได้ ด้วยระบบการตรวจสอบที่รองรับไว้ ๕.๕.๓ มีระบบ Smart Parking ที่ผู้ขับขี่สามารถทราบได้มีสถานที่ใดบ้างที่สามารถจอดรถได้ ที่จอดยังว่างอยู่ ื ี ี ๕.๕.๔ วิเคราะห์อุบัติเหตุ เม่อเกิดอุบัติเหตุสามารถวิเคราะห์ข้อมูลการขับข่และการเฉ่ยวชนจากเซ็นเซอร์ในแต่ละ จุดของรถได้ ๕.๕.๕ ระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ (Big data analytics) สามารถวิเคราะห์ยานพาหนะและผู้ขับขี่ได้ ๕.๕.๖ ป้องกันการขโมย เจ้าของรถสามารถสั่งดับเครื่องยนต์ได้จากทุกที่ผ่าน Smart Drive ๕.๕.๗ ประหยัดทั้งค่าใช้จ่ายเซิร์ฟเวอร์และการดูแลระบบ เพราะเก็บข้อมูลทั้งหมดไว้บนคลาวด์ ี ื ๕.๖ ระบบก�รจัดก�รก�รท่องเท่ยวกองทัพเรืออัจฉริยะ (Smart Navy Tourism System) เน่องจากกองทัพเรือ ื ื ี ในพ้นท่สัตหีบ มีแหล่งทัศนศึกษาเพ่อเรียนรู้ เช่น ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเลกองทัพเรือ พิพิธภัณฑ์เกาะไทย และมีแหล่ง ี ั ท่องเท่ยวทางธรรมชาติท่สวยงาม ทงเกาะแก่ง ชายหาด และสถานท่พกตากอากาศ รีสอร์ท เป็นต้น ซ่งเปิดให้ประชาชน ี ี ้ ั ึ ี ี ี ท่วไปได้เข้าไปท่องเท่ยว พักผ่อนหย่อนใจ และทัศนศึกษาได้ จะมีนักท่องเท่ยวแวะเวียนไปเท่ยวเสมอๆ โดยเฉพาะอย่าง ั ยิ่งช่วงวันหยุด อาทิ เกาะขาม เป็นสถานที่ที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก แต่กองทัพเรือได้จ�ากัดจ�านวนคนที่จะขึ้นไป เท่ยวเกาะได้แต่ละวัน บางวันมีนักท่องเท่ยวไปรอคอยเพ่อจะไปข้นเรือไปเกาะขาม แต่ไม่สามารถไปได้ เพราะถูกจากัด ี � ี ึ ื จ�านวนนักท่องเที่ยวขึ้นเกาะ นอกจากนั้น สถานที่พักตากอากาศชายทะเลในพื้นที่สัตหีบ ก็มีความนิยม จะท�าการจอง ั ี ี ยาก ไม่ได้รับความสะดวก ดังน้น แนวความคิดท่จะวางระบบบริหารจัดการท่ดีโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ ื ึ ั การส่อสารมาช่วย ดังน้น Smart Navy Tourism System จึงควรเกิดข้นโดยเร็ว เช่น การสร้างแอปพลิเคชันเพ่อ ื นักท่องเที่ยวหน่วยงาน สถาบันการศึกษา นักเรียน นักศึกษา ดาวน์โหลดได้ ส�าหรับการจองสถานที่ จองเวลา จองทัวร์ ห้องพัก จองตั๋วขึ้นเรือไปเกาะ จองห้องอาหารของสวัสดิการกองทัพเรือ เป็นต้น นอกจากนั้น จะต้องมีข้อมูล ข่าวสาร ที่จ�าเป็น ที่ควรรู้ รวมทั้งองค์ความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับสถานที่ท่องเที่ยวนั้น ๆ ด้วยระบบการสแกน QR code มีค�าอธิบาย หรือคลิปวีดีโอประกอบ เป็นต้น ๖. บทสรุป ี ื แนวความคิดในการพัฒนาพ้นท่กองทัพเรือ - สัตหีบ ให้เป็น Smart Navy Base น้น ผู้เขียนขอสรุปด้วยความหมาย ั ของค�าย่อของ “D.I.G.I.T.A.L” ๗ ตัวอักษร ดังนี้ D : Digital Mindset ก่อนอื่นต้องปรับกระบวนคิดของก�าลังพลในหน่วย หรืออาจเรียกว่า การตระหนักรู้ด้าน ดิจิทัล (Digital Awareness) เป็นการปรับกระบวนคิด วิสัยทัศน์ และความเชื่อมั่น ตั้งแต่ผู้บังคับบัญชาสูงสุดลงไปสู่ ็ ั ั ่ ี ิ ั กาลงพลทุกระดับ เรมจากผบงคบบัญชาทต้องนาเสนอและทาให้กาลงพลภายในหน่วยงานมองเหนว่าการคิดการจดการ ู้ ั � � � ั ่ � � ั ในเชิงบริหารยุคใหม่น้นจะต้องอยู่ในรูปแบบดิจิทัลท้งระบบ ซ่งผู้เขียนคิดว่า คา ๆ น้ เป็น Key Factor Success สาหรับ ั ึ � ี การเปลี่ยนผ่านไปสู่องค์กรดิจิทัล (Digital Transformation) ื ี ื ื ี I : (Network) Infrastructure ในพ้นท่กองทัพเรือในสัตหีบน้ การวางโครงสร้างระบบเครือข่ายเพ่อการเช่อมโยง นาวิกศาสตร์ 61 ปีที่ ๑๐๖ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

ั ื � ื ี ระหว่างอุปกรณ์ต้งแต่ 2 โครงข่ายเข้าด้วยกันส�าหรับการแลกเปล่ยนส่อสารข้อมูล สาหรับโครงสร้างระบบเครือข่ายพ้นฐาน ทั่วโลกนับเป็นปัจจัยที่ส�าคัญ การวางโครงสร้างที่ดีจะช่วยท�าให้การเลือกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและกันมีการท�างานอย่าง เป็นระบบ มีศักยภาพ และมีระบบ network infrastructure management system ช่วยในการตรวจสอบ ื เพ่อป้องกันระบบมีปัญหา โดยการใช้ สถาปัตยกรรมองค์กร (Enterprise Architecture: EA) บูรณาการข้อมูล และทรัพยากรร่วมกัน แล้วสร้างสภาวะแวดล้อมเทคโนโลยีสารสนเทศ ของหน่วยงานให้มีมาตรฐานทางฮาร์ดแวร์ ี ื ั และซอฟต์แวร์ท่เข้ากันได้ ข้ามหน่วยงานข้ามฟังก์ช่นงานภายในพ้นท่กองทัพเรือสัตหีบ และหน่วยงานภายนอกได้อย่าง ี ประสานสอดคล้อง G : (5)G Technology การนาเทคโนโลยี 5G มาประยุกต์ใช้ ในการสนับสนุนการเตรียมกาลัง การบริหารจัดการ � � � � ื การบารุงรักษา การฝึก การดูแลรักษาความปลอดภัย และการแพทย์ เป็นต้น ผลจะทาให้อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถส่อสาร ื ี ื ึ � ี และสามารถส่งผ่านข้อมูลระหว่างกันได้ซ่งจะนาไปสู่การปรับปรุงพัฒนาพ้นท่กองทัพเรือท่เช่อมโยงกันมาก และ 5G ท�าให้อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เชื่อมต่อกับระบบคลาวด์มีความหน่วงของเวลาที่ต�่ามาก จนท�าให้การควบคุม และสั่งการของ � � ื ่ ึ ี ี การฝึกจาลอง (Simulation) เป็นไปในแบบ Real Time ซ่งการใช้เทคโนโลยีน้ท่ต้นทุนตา เพ่อพัฒนาทักษะการเดินเรือ เทียบเรือ จอดเรือ ทั้งเรือผิวน�้า เรือด�าน�้า และทักษะการบินเบื้องต้นของศิษย์การบินทหารเรือก่อนที่จะเริ่มปฏิิบัติจริง I : Internet of Things (IoT) เป็น วัตถุ อุปกรณ์ พาหนะ สิ่งของเครื่องใช้ และสิ่งอ�านวยความสะดวกในชีวิต ื อ่น ๆ ท่มนุษย์สร้างข้น โดยมีการฝังตัวของวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ซอฟต์แวร์ เซ็นเซอร์ และการเช่อมต่อกับเครือข่าย ื ึ ี ิ ี ั ี ึ ซ่งวัตถุส่งของเหล่าน้ สามารถเก็บบันทึก และแลกเปล่ยนข้อมูลกันได้ อีกท้ง สามารถรับรู้สภาพแวดล้อม และถูกควบคุม ื ื ได้จากระยะไกล ผ่านโครงสร้างพ้นฐานการเช่อมต่อเข้ากับสมาร์ทโฟนหรืออุปกรณ์การส่อสารอ่น ๆ ถือเป็นอุปกรณ์ ื ื ส�าคัญอย่างยิ่งที่ขาดไม่ได้ของ Smart City หรือ Smart Navy Base และเครือข่ายไร้สาย 5G T : Tracking system ระบบการติดตาม เม่อมีรถยนต์เข้ามาในเขตทหาร หากเป็นรถท่ได้ลงทะเบียนไว้แล้ว จะม ี ื ี RFID ประจ�ารถอยู่ สามารถติดตาม (Tracking) แต่หากเป็นรถยนต์บุคคลภายนอกที่เข้ามาติดต่อราชการ เราสามารถ ก�าหนดเส้นทางการเดินรถ และติดตามรถด้วยระบบ Tracking และ กล้อง IP camera ที่มีติดอยู่ตามเสา Smart Light Pole หากขับออกนอกเส้นทางจะถูกแจ้งเตือนทันที หรือเมื่อยานพาหนะมีปัญหาข้อขัดข้อง เพื่อรักษาความปลอดภัย และลดความเสี่ยงในการถูกก่อการร้าย การก่อวินาศกรรม ในหน่วยงานราชการในพื้นที่สัตหีบ A : Augmented Reality (AR) / Virtual Reality (VR) การใช้เทคโนโลยี AR / VR มาประยุกต์ใช้ในการเรียน ่ ื ื ุ ้ ึ ิ ิ ิ การสอน การฝึกให้มากขน โดยเฉพาะหน่วยงาน กองการฝึก กองเรอยทธการ เพอเพมประสทธภาพการเรยน ่ ี � ี การฝึกปฏิิบัติ จะทาให้ลดการใช้จ่ายในการเรียนการฝึกปฏิิบัติในสถานท่จริงด้วย โดยเฉพาะการฝึกเดินเรือ การฝึกนักบิน และการฝึกเรือด�าน�้า เป็นต้น L : Learning Organization (LO) องค์การการเรียนรู้ เป็นองค์การท่ซ่งคนในองค์การได้ขยายขอบเขต ี ึ ั ื � ื ี ความสามารถของตนอย่างต่อเน่อง ท้งในระดับบุคคลระดับกลุ่มและระดับองค์การเพ่อนาไปสู่จุดหมายท่บุคคลในระดับต่าง ๆ ี ต้องการอย่างแท้จริงเป็นองค์กรท่มีความคิดใหม่ ๆ และการแตกแขนงของความคิดได้รับการยอมรับเอาใจใส่ ื ี ื ื ึ ั ี ี และเป็นองค์กรท่ซ่งบุคคลเรียนรู้อย่างต่อเน่อง ในเร่องของวิธีการท่จะเรียนรู้ไปด้วยกันท้งองค์การ ซ่งในพ้นท่กองทัพเรือ ึ ที่ได้วางระบบข้อมูลสารสนเทศเป็นศูนย์กลาง (Information- Centric) มีข้อมูล ข่าวสาร องค์ความรู้มากมายในระบบ ู ิ สารสนเทศ บคคลในหน่วยงานต้องเรยนร้อย่างต่อเนอง ร้จกพฒนาขดความสามารถตนเอง มความคดใหม่ ๆ ี ู ุ ั ั ี ี ่ ื เพื่อพัฒนาหน่วยงานของตน เป็นต้น

นาวิกศาสตร์ 62 ปีที่ ๑๐๖ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

ั ิ ้ ี ่ ุ ื ั ้ ั ั ่ ้ ิ ็ ดงนัน การพฒนาพืนทีกองทพเรอใหเกดการปรบปรงเปลียนแปลงและมการบรหารจดการเปนเลศ เปน Smart ั ็ ิ ่ ิ ั ื ้ ิ Navy Base ในยุคดจทลเพอประสานสอดคล้องกบแผน และนโยบายการพัฒนาเมือง Smart City ของรัฐบาลนน ั ั ู ์ ่ ุ ู ิ ่ ี ่ ่ ั ้ ั ่ ิ ผูน�าหรอผูบรหารสงสดจะอาศยแคความรู และภาวะผู้น�าแบบเดม ๆ ดจะไมเพยงพอทีจะขบเคลือนองคกร หนวยงาน ้ ื ้ ในยุคนี้แล้ว ผู้เขียนคิดว่า ทักษะที่ผู้น�าหรือผู้บริหารในยุคดิจิทัลต้องมีเพิ่มเติมในการบริหารก็คือ ความสามารถในการ นาเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาประยุกต์ใช้กับองค์กร หน่วยงานได้ และท่สาคัญคือ การตระหนักรู้ด้านดิจิทัล (Digital Awareness) ี � � งานท่ยากท่สุดไม่ใช่การแก้ปัญหาทางการเงิน หรือพัฒนานวัตกรรมใหม่ แต่คือปลูกจิตสานึก และการปลุกเร้าให้กาลังพล ี � � ี ั ื ทุกระดับเข้าใจ กระบวนการคิด วิสัยทัศน์ และความเช่อม่น ในการพัฒนาเปล่ยนแปลงองค์กรสู่ Digital Transformation ี ซึ่งแนวคิดของการพัฒนาที่ท�างานให้ เป็น Digital Workplace นั้น ไม่เพียงแต่ท�าให้เกิดความแตกต่างทางกายภาพ ี เท่าน้น แต่ยังทาให้รูปแบบการทางานจะแตกต่างจากแต่เดิม ท่จะเป็นลักษณะของการแบ่งปันข้อมูลกันมากข้น ึ � � ั มีโครงสร้างขององค์กรน้อยลง (More flat) รวมทั้งการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารมารองรับ Digital Workplace ก็จะมี ตอบสนองความต้องการที่ Real-time มากขึ้น และอัตโนมัติมากขึ้นกว่าเดิม จ�าเป็นต้องมี ื ี ื การออกแบบโครงสร้างระบบเครือข่ายพ้นฐาน (Network Infrastructure) ครอบคลุมพ้นท่กองทัพเรือของสัตหีบ � ั ท้งหมด โดย จาเป็นต้องใช้หลักการ สถาปัตยกรรมองค์กร (Enterprise Architecture: EA) บูรณาการข้อมูลและ ี ี ทรัพยากรร่วมกัน และท้ายท่สุดต้องเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) ท่ซ่งกาลังพลในหน่วยสามารถ � ึ ี ื ขยายขอบเขตความสามารถของตนอย่างต่อเน่อง ทงในระดับบุคคล ระดับกอง และระดบหน่วยงาน เป็นองค์กรทม ี ่ ั ั ้ � ความคิดใหม่ ๆ และการแตกแขนงของความคิดได้รับการยอมรับเอาใจใส่ และเป็นองค์กรท่ซ่งกาลังพลเรียนรู้ ี ึ ี ื ี อย่างต่อเน่อง หน่วยงานถึงจะสามารถปรับเปล่ยน พัฒนา ปรับปรุงได้ทันต่อการเปล่ยนแปลงของเทคโนโลยีใหม่ ๆ ี ท่เข้ามา ซ่งจะส่งผลให้กองทัพเรือ มีการบริหารจัดการเป็นเลิศตามวิสัยทัศน์ และแผนยุทธศาสตร์ ๒๐ ปี ของกองทัพเรือ ึ จากการคิดริเริ่มคิดวางแผน และนโยบายจากระดับพื้นที่สัตหีบก่อน ๗. เอกส�รอ้�งอิง ๑. Alvin Toffler. (1980). The Third Wave. First edition. United States. ๒. รัฐ ปัญโญวัฒน์. (๒๕๖๑, ๑๖ พฤษภาคม). The Third Wave คลื่นลูกที่สามแห่งยุคอินเตอร์เน็ต. สืบค้นจาก //rath.asia/2018/05/steve-case-the-third-wave ๓. ส�านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๖๑, ๑๘ มิถุนายน). ยุค Smart City ก�าลังมา ไทยเร่งเดินหน้า ๗ เมืองอัจริยะยกระดับคุณภาพชีวิต. สืบค้นจาก //www.ops.moe.go.th/ops2017/สาระน่ารู้/2057 ๔. Engineering Today. (๒๕๖๓, ๓ มกราคม). เมืองอัจฉริยะ (Smart City) คืออะไร และจะเกิดขึ้นได้อย่างไร. สืบค้นจาก //www.engineeringtoday.net/เมืองอัจฉริยะ-smart-city-คืออะไร ๕. Jeanne W. Ross, Peter Weill, David C. Robertson. (2005) Enterprise Architechture As Strategy. Creating A Foundation for Business Execution: Harvard Business Press นาวิกศาสตร์ 63 ปีที่ ๑๐๖ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

ลว ยตั้ง ชื่อเรือห ง นิยายตั้งชื่อเรือหลวง นิยา ว พลเรือโท พัน รักษแกว น รั พลเ อโท พั กษ แก รื “ร.ล. ตราด ร.ล. บางระจัน ร.ล. พงัน ร.ล. ธนบุรี” ชอเรอหลวงปรากฏทแถบรอบหมวกกะลาสทหารเรอไทย บอกวา เจาตวผสวมหมวกประจาการอยเรอลาใด ทหารเรอ ื  ่ ั ื ่ ื ี  ู   ู ํ ื ื ํ ี ี ั ิ   ื ิ ิ ี ่ ่ ื  ี ื ่  ี  ื บางชาตมชอเรอเปนแถบผาปะตดทหวไหลซายของเสอเครองแบบ เชน ทหารเรอสหรฐอเมรกา ซงหมวกกะลาสทมแถบบอก ้ ื ั ่ ึ ี ่  ่ ชือเรือเอาแบบอยางจากทหารเรืออังกฤษ เปนตนวา H.M.S. BELFAST (เรือลาดตระเวน) H.M.S. BULWARK (เรือบรรทุก ่ คอมมานโด) H.M.S. TEAL (เรือกวาดทุนระเบิด) ซึงอังกฤษปกครองโดยมีพระมหากษัตริยเปนองคประมุข เรือรบเปนเรือ   ของประเทศ จึงถือเปนเรือของพระมหากษัตริยหรือเรือหลวง His Majesty Ship โดยประเทศอืน ๆ ทีมีพระมหากษัตริย  ่ ่  ั   ื  ่ ํ ื ํ ํ ี ้ ั ี  ้  นาธรรมเนยมนไปใชกบคานาหนาเรอรบของประเทศตนกนมาก ดวยการนาชอประเทศแทรกเขาไปดวยรวมทง ั ํ ่ ประเทศไทย His Thai Majesty Ship (H.T.M.S.) ประเทศอื่นแทรกชือตางจากไทย เชน H.M.A.S.- ของออสเตรเลีย  ั ั  กองทัพเรือองกฤษมีกาเนิดอยางยาวนานจนจับจุดไมไดวา วันกองทัพเรือองกฤษเปนวันใด เดือนอะไร อังกฤษไมม ี ํ “วันกองทัพเรือ” หรือ Navy Day และอังกฤษโบราณมีการปกครองเปนแควน แตละแควนมีผูครองนครทีไมขึนแกกัน ่ ้  ี ็     ั ี ่ ื มกองทพของตนเอง แตงเครองแบบของตนเอง อยกนอยางชาวเกาะ แลวกไมพนพวกเดนมารก (Danes) จากทวปใหญ   ู  ั  ั ่ ู ั  ั ขามนาขามทะเลมาโจมตแถบแควนเบรกเชยร (Berkshire) ททางองกฤษกตอสปองกนตวไวได จนกระทงรชสมยพระเจา  ี    ํ  ั ้ ั    ็ ั ี  ่ ิ  ี ่   ี ั   ั  อลเฟรดมหาราช (Alfred the Great) ทรงรวบรวมแควนตาง ๆ ทหลงจากปราบปรามแควนตาง ๆ แลว รวมเขาดวยกน ั   ่ ่ ทรงพิจารณาเห็นวา การปองกันตัวทีดีทีสุดของเกาะก็คือ สมุททานุภาพ (Sea Power) โดยมีกําลังทางเรือทีแข็งแรง ่  พระเจาอัลเฟรด ทรงออกแบบเรือใหมีขนาดใหญและแข็งแรงกวาเรือแกลลีย (Galleys) ของพวกเดนมารกทีขาม ่ ั   ็ ั ํ ํ ี ึ ั  ื ่ ื ทะเลเหนอมาโจมตเกาะองกฤษ โดยไดสรางเรอทสรางตอมาถงรชสมยพระเจาเอดการ (Edgar) มจานวนถง ๕,๐๐๐ ลา ี  ึ   ี แบงออกเปน ๔ กองเรือ ประจําฐานทัพรอบเกาะอังกฤษ พระเจากรุงอังกฤษตอ ๆ มา พระเจาเอ็ดเวิรด (Edward)  ี ่ ิ ี   ่ ิ ี พระเจาฮาโรลด (Harold) พระเจาวลเลยม (William) และพระราชนเอลซาเบธท ๑ (Elizabeth I) ตางเสรมสรางกองทพเรอ  ั  ิ ิ ื ท่ตองใชเรือทาสงครามกับเดนมารกและฝร่งเศสหลายคร้งในนามของ King’s Ships จนกระท่งใน ค.ศ. ๑๗๔๐ ั ํ ี ั ั ้ เรอ Centurion เรอรบใบปนใหญ ๖๐ กระบอก ไดเดนทางรอบโลกเปนครงแรกในนามของ H.M.S. Centurion (History of ื ั    ิ  ื ั  ั ั ั ุ ็ ู  ี ุ the Royal Navy; A.C. Hamshire 1982) ตรงกบรชสมยสมเดจพระเจาอยหวบรมโกศ แหงกรงศรอยธยา (พ.ศ. ๒๒๗๖-๒๓๐๑)  ่ ้ ทีเรือทหารเรืออังกฤษมี H.M.S. นําชื่อเรือตังแตนั้นมา   ี ํ ั ุ ่  ี ื  ่ ั  ุ การยทธททราฟลการ (Cape Trafalgar) นอกฝงเดนมารก วนท ๒๑ ตลาคม ค.ศ. ๑๘๐๕ ระหวางกองเรอองกฤษ (๒๗ ลา)  ั ั ่ ั กบกองเรอผสมฝรงเศสกบสเปน (๓๓ ลา) ทชยชนะเปนขององกฤษ ทาใหทหารเรอองกฤษเปนเจาทะเลตงแตนนมาและ ื   ั ั ้ ํ  ื ั ั   ั ํ ่ ี ้ ื ั ี ั ิ ั   ่ ี  ิ  ึ ี เปนหวหอกในการสรางจกรภพองกฤษทดวงอาทตยไมตกดน ในเวลาตอมาไปจนถงจารตประเพณของทหารเรอองกฤษ  ั ่ เปนแบบอยางของทหารเรอทวโลก ซงชอเรอรบของประเทศทมพระมหากษตรยจะนาหนาดวย H.M. (His-Her Majesty)  ื  ่ ื ่ ึ ั ื ํ  ี ิ ั   ่ ี ตอทายดวยช่อประเทศ เชน H.M.A.S SYDNEY ของออสเตรเลีย H.M.Ne.S.Ruyter ของเนเธอรแลนด เปนตน สวนไทย ื    ใช H.T.M.S. ไมใช H.M.T.S. เหมอนเขา กตองฝากกรภาษาองกฤษวา นา Thai ไปใสไวตรงกลาง His Majesty  ู ื ั ็  ู  ํ  ตองตามหลักภาษาอังกฤษหรือไม H.T.M.S. หรือ H.M.T.S จะถูกตองกวากัน นาวิกศาสตร 64 าคม ๒๕๖๖ รกฎ ปที่ ๑๐๖ เลมที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖ ปที่ ๑๐๖ เลมที่ ๗ ก

ิ ิ ื ์  ั ื ิ ่ ื ื ี ี ื ํ  ื   ื ื เรอรบไทยโบราณยคเรอพายมชอเรอออกสาเนยงทางอทธฤทธหรอจกรวงศ เชน เรอทองขวานฟา เรอทองบาบน เรอเสอ ื ิ ่ ุ  ิ ุ  ํ  ื ื ั ้ ั ุ ี ั  ั ั ่ ี ิ ื ทยานชล เรอเสอคารณสนธ เปนตน จนกระทงการจดหาเรอพฆาตโดย “ราชนาวสมาคม” เปนตวตงตวตระดมทนสาธารณชน  ้ ิ ื ั ี ี ่ ื ี ื ื ั ื     ่ ่ ี ั ในรชสมยรชกาลท ๖ ซอไดเรอพฆาตเรอตอรปโด (ทองกฤษออกแบบเพอปราบเรอตอรปโดของเยอรมนในสงครามโลก ั ครงท ๑) ไดเดนทางถงกรงเทพฯ เทยบทาราชวรดฐ วนท ๗ ตลาคม พ.ศ. ๒๔๖๓ แลวขนระหวางประจาการเปน ึ ั ิ   ี ้ ้ ั  ํ ึ ุ ี ่ ี ุ  ่  ิ ้ ่ ร.ร.ล. พระรวง คือเปน “เรือรบหลวง” ซึงเรือลําอืนก็ ร.ร.ล. ตามไปดวยในสมัยนัน ่ ้ พิธีปลอยเรือตอรปโดใหญลงนํา ณ อูกันติเอริ ริอูนิติ เดลลัดดริอาติโก ประเทศอิตาลี  ภายหลงการเปลยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ คณะทหารขนบรหารแผนดนคงนกถงภยคกคามทางทะเลทม ี ึ ั ้ ั ุ ึ ิ ี ่ ี  ่ ิ ึ  ั ่ ี  ื  ื บทเรยนสมย ร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ. ๒๔๓๖) ทกองเรอภาคตะวนออกไกลของฝรงเศสจากไซงอนปดอาวไทยและนาเรอสลปกบ ํ ่ ี ั ั ั ุ ํ ั ิ  ้  ํ     ั ิ ่ ิ  เรือปน ๓ ลา มาจอดบรเวณปลายถนนสาทร ใกลสถานทตฝรงเศสรมแมนาเจาพระยา บงคับใหไทยยกดนแดนฝงซายของ ู ี ั ี ํ  ่ ิ  ั ้ ็ ํ แมนาโขงใหลาว ยกเสยมราฐ พระตะบอง จาปาศักด์ ใหกัมพูชา และเสียคาปรบกรณทหารฝรงเศสบาดเจบลมตายคราวไทย  ึ ิ ั  ั ํ ื ั ปราบฮอทางเหนอ คณะรฐบาลจงเสนอสภาผแทนราษฎรออก “พระราชบญญตบารงกาลงทางเรอ พ.ศ. ๒๔๗๘” ไดเงน ิ ํ ื  ุ ั ู  ุ ุ ํ ั  ่ ี  ั ื ี ํ ั ิ ํ ิ  ื ื ั   ี  พเศษรวมกบงบประมาณประจาปของกองทพสรางเรอจากญปนและอตาล ไดเรอปนหนก ๒ ลา เรอฝกนกเรยน (สลป) ๒ ลา ุ ํ ็ ื ื ื ํ  ้ ื ื เรอตอรปโดใหญ ๗ ลา เรอตอรปโดเลก ๓ ลา เรอดานา ๔ ลา และเรอทนระเบด เรอลาเลียงกบเคร่องบนทะเลจานวนหนง ่ ึ ํ ํ ื  ิ ั ํ ํ ิ ํ    ื ั ั ี  ํ ั ั ิ ุ ํ ั  “พระราชบญญตบารงกาลงทางเรอ ฉบบน เปนฉบบแรกของประเทศไทย และคงเปนฉบบสดทายของประเทศไทยดวย” ุ ้ ั ้ ึ เมอไดเรอใหม “ยกแผง” เปนเรอหลายประเภท หลายลา กเปนเวลาทตองพจารณาการ “ตงชอเรอ” ซงการทหารเรอไทย ื ื ่ ื ่ ิ ั    ื  ี ื  ่ ็ ื ํ ่ เริมเปนรูปเปนรางในรัชสมัยรัชกาลที่ ๔ ในนามกรมอรสุมพล (เรือไอนํา) และกรมบัญชาการเรือกลและปอม รัชสมัย ้ ่ ั ่ ้ ั ี ั ิ  ื ั ื ั  ี ้ ุ ่ ื ี รชกาลท ๕ จดตง “กรมทหารเรอ” วนท ๘ เมษายน พ.ศ. ๒๔๓๐ (รวมทงกรมยทธนาธการ หรอทหารบก ทตอมาถอวา ่ ั วันนีเปน “วันกองทัพไทย”) ซึงถือไดวาเปน “กองทัพเรือ” อยางเริ่มแรก แตก็ยงมิไดมีหลักการหลักเกณฑในการตังชือ ่  ้ ้ ่ ื ี ่ ื ั ้ ่ ื  ื ื ั ื ี ็ เรอรบหรอเรอหลวง บางทอาจเปนโหรหลวงหรอเสนาบดหรอพระเจาแผนดน กเปนไดในการตงชอเรอ จนกระทงภายหลง ั ิ     ื ื  ั ั การเปลยนแปลงการปกครอง กองทพเรอกไดออก “ระเบยบกองทพเรอ วาดวยการตงชอเรอหลวง พ.ศ. ๒๔๗๘” ั ้ ี ่ ็  ื ่  ื ื ี  ้ ั เพอเปนหลกเกณฑในการตงชอเรอ เพอขอพระราชทานนามเรอหลวงตอไป ระเบยบนออกตาม ๆ มาหลายฉบบ  ั  ื ั ้ ื ื ่ ่ ื ี ี ่ ื ่  ่ ่ ้ ฉบับแรก ๆ “ฟุงเฟอ” เกินความเปนไปได เชน ในการสงครามโลกครังที ๑ ทีมีเรือบรรทุกเครืองบิน เรือประจัญบาน ื ุ ื ื เรือลาดตระเวนสงคราม เรือลาดตระเวนหมเกราะ ฯลฯ ระเบียบก็ออกมาใหมีช่อเรือทุกชนิด เชน เรือบรรทุกเคร่องบินช่อนก ุ  “สดาย” (ในรามเกียรติ์) เรือประจัญบานชืออดีตพระมหากษัตริย หรือวีรบุรุษทางเรือของอังกฤษ เชน เรือประจัญบาน ่ H.M.S. King George V H.M.S. Nelson เรือลาดตระเวนชือตามเมืองสําคัญชายทะเล เชน H.M.S. Exeter เรือพิฆาต ่ ็ ื  ่ ิ ิ ่ ชอตามอศวนโบราณ เชน H.M.S. Ajax เรอฟรเกตชอตามแมนา เชน H.M.S. Yarra เปนตน อยางไรกตาม ั ื ื      ํ ้ นาวิกศาสตร 65 ปที่ ๑๐๖ เลมที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

็ ั  ื ี ั ี ื ุ ่ ้ ิ ั ั ั ื ื  ํ ั ระเบยบการตงชอทกฉบบกมหลกการคลายกน คอ เรอลาสาคญตงชอตามอดตพระมหากษตรย หรอเมองหลวง ื ่ ั ้ ํ ื ี   ้ ํ ื  ่ ั ื ื  ื   ุ ํ ่ ื เรอสลปตามชอแมนา เรอตอรปโดใหญชอตามหวเมองชายทะเล เรอตอรปโดเลกชอตาม “อาเภอ” ชายทะเลทชายแดน ี ่ ื ื ่ ็ ่  ่ ้ ้ (คลองใหญ ตากใบ และกันตัง) เรือลําเลียงชือตามเกาะ ฯลฯ ทังนี “ยกแผง” คือ เรือตอรปโดใหญ จํานวน ๘ ลํา ทีผูคิด ้ ่ ้ ตังชือก็ตองไลเรียงชือหัวเมืองชายทะเลทังในอาวไทย และทะเลอันดามัน ่ ิ ี ื ระเบยบการตงชอเรอหลวงดงเดมน กเปลยนแปลงไปทงชอระเบยบ และเนอหา เรมตงแตเปน “ระเบยบกองทพเรอท ่ ี ่ ื ่ ั ็ ้ ั ้ ี ้ ี ื ้   ่ ิ ั ่ ้ ั ี ี ้ ั ื ื ื ั ั ี ี ่ ่  ั ั   ู ้ ้ ื ั  ื ๗๗ วาดวยการแบงชนเรอ หมเรอ และการตงชอเรอหลวง ฉบบลงวนท ๑๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๐๖” ตามดวย “ฉบบท ๒” ื ่  ่ ี ี ื ่  ื ื พ.ศ. ๒๕๒๔ “ฉบบท ๓” พ.ศ. ๒๕๒๔ ซงใชอยในปจจบนทมเรอพฆาต เรอฟรเกต เรอคอรเวต เรอเรวโจมต ี ็ ิ ี ั ิ ื  ่ ู ุ ึ ั   เรือดํานํา เรือทุนระเบิด เรือตรวจการณ เรือสํารวจ และเรือหนาทีพิเศษ อยในระเบียบ ไมมีเรือตอรปโด ทังนี หลักการ  ้ ่  ู ้ ้  ี ํ ื  ของระเบยบกคลายระเบยบขององกฤษ อยางเรอลาสาคญจะตงชอตามอดตพระมหากษตรย เชน ร.ล. นเรศวร   ี ็ ิ ั ื ั ่ ี ้ ั ั ํ ร.ล. ตากสิน ในทุกวันนี การไมมีเรือตอรปโดในระเบียบอาจจะคิดวาไมมีการใชเรือตอรปโดในอนาคต ้    ั ่  การใหชอเรอตอรปโดใหญ กตามททราบกนอยวาชอเมองชายทะเลฝงตะวนออกของอาวไทย ๔ เมอง เปนชอ  ื ี ็ ื ื  ื ั  ื ่   ่ ู  ื ่  เรือหมด ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด แถมดวย “คลองใหญ” สําหรับเรือตอรปโดเล็ก สวนทางฝงตะวันตกของอาวไทย ้ ตังแตเพชรบุรีถึงนราธิวาส มีเพียงชุมพร ปตตานี และสงขลาเทานันเปนชือเรือ นอกนั้นตกกระปองหมด และทางทะเล ่ ้ ้ ่ ่ อันดามันตังแตระนองลงไปถึงสตูลก็มีเพียงภูเก็ตเมืองเดียวทีเรือชือ ร.ล. ภูเก็ต  ่ ่   ชือเมืองฝงตะวันออกอาวไทยทุกเมืองเปนชือเรือตอรปโด ฝงตะวันออกบางเมือง ฝงอันดามัน ร.ล. ภูเก็ต ลําเดียว นาวิกศาสตร 66 ปที่ ๑๐๖ เลมที่ ๗ ก รกฎ าคม ๒๕๖๖ ปที่ ๑๐๖ เลมที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

ื ั ื ุ   ็ ุ  ื ่ ื ื ื   ื ่      ั  สรปกคอ ชอเมอง ๔ เมอง ทกเมองทางฝงตะวนออกของอาวไทย เปนชอเรอตอรปโดใหญ สวนฝงตะวนตกของอาวไทย และทะเลอันดามัน เลือกจากบางเมือง ่ ดังนัน เห็นไดวาเมืองฝงตะวันออกของอาวไทยมี “เสนห” ตอผูคิดตังชือเรือเปนอันมาก ผูนันอาจเปนเรือเอกใน   ้ ้ ้  ั   ็ ั  กองประวตศาสตร อาจเปนนาวาตรในกรมยทธการ อาจเปนนาวาโทในกรมกาลงพล ฯลฯ อยางไรกตาม นาจะเปนเพราะ  ี ิ ุ ํ   ี   ิ ั  ี   ิ ฝงตะวันออกม “เรองราว” ในประวตศาสตรชาตมากกวาฝงตะวนตกทบานเมองคอนขางจะ “เรยบรอย” กวาฝงตะวนออก  ่ ี ื ั ื     ั ่    ิ ั ั  ุ   ึ ี ดงปตตาน รชสมยพอขนรามคําแหงมหาราช (ประมาณ พ.ศ. ๑๘๒๒-๑๘๔๑) ไดแผนดนทางใตถงนครศรธรรมราช ี ั ั ุ ื  ั  ั้  สมยพระเจาอทอง (พระองคแรกของกรงศรอยุธยา) ประเทศ ๑๖ หวเมอง รวมทงมะละกา (แหลมมลายู) ไดถวาย ู ี บรรณาการแกกรุงศรีอยธยา จน พ.ศ. ๑๙๙๘ ในรัชสมัยพระบรมไตรโลกนาถ มะละกาเปนขบถทรงปราบขบถได และ ุ ่   ี ื  ี  ่ ึ   ํ ั ุ  ี พ.ศ. ๒๑๗๗ ปตตาน ไมสงบรรณาการมายงอยธยา ซงอยธยาสงกาลงไปตเมองปตตานทตอมาเปนชอของเรอตอรปโดใหญ  ื ั ื ี ่   ุ ่ ่ ่ ลําหนึง “ปตตานี” ดูจะเปนชือที่ “ไมธรรมดา” ปตตานีมีชือมาจากชาวประมงชือ เอ็นซิก ตานี ชาวบานเรียกเขาวา ่ ้ “ปะตานี” เดิมเปนคนเมืองโกตามะลิมัย จะเดินทางไปอยธยาแตลมปวย จึงตังบานริมทะเลทีเขาลมปวย ซึงตอมาก็มี ุ ่ ่ การใชชื่อของเขาเปนชื่อหมูบานนัน  ้ ั ึ ิ ั ิ ิ วนหนงพญาทาวนภา (รายาอนทรา) กษตรยแหงอาณาจกรลงกาสกะ เสดจจากเมองโกตามะลมยเพอลาสตว  ื ิ  ั ั ั ุ ั  ็  ่ ื ่   ี ึ ู ้  ํ ํ ื  ่ ู ั  ํ ้ ิ ผานหมบานปะตาน ทรงเหนภมประเทศสวยงาม ทะเลนาลก นาไมทวม มเกาะกาบงคลนลมทะเลเหมาะแกการทาทาเรอ ็   ื ํ ี  ้ ั  และจอดเรือ มีแมนําไหลผาน จึงทรงยายเมืองหลวงมายงปะตานี ใน พ.ศ. ๒๐๕๔ โปรตุเกส มะละกา ทําการคากับ ่ ู ่  สยาม ญวน จีน และญี่ปุน รวมทังหัวเมืองในแหลมมลาย ปะตานีจึงเจริญมันคงตามไปดวย จนกระทังวันหนึง ทาวนภา ่ ้ ี ี ่  ํ  ั ึ  ประชวรไมมหมอใดรกษาได แตชาวปาไซอสลามคนหนงรกษาได พระองคจงเปลยนมานบถอศาสนาอสลามททาให  ี  ่ ่ ึ ิ ั ั ิ ื    ุ ุ  ปะตานกลายเปนปตตานดารสสลาม (Patani Darussalam) ทรงพระยศสลตาน ทรงมพระโอรสและพระธดาสามพระองค  ี ิ ี ี ่ ่ ทีทรงอภิเษกกับสุลตานและเจานายรัฐอืน ๆ ปกครองรัฐปตตานีและรัฐใกลเคียงโดยเชือมสัมพันธไมตรีกับตางประเทศ ่ ุ รวมทังอยธยา ้ ุ ื  ี ุ ื ็  ่ ั ุ ิ ุ ั สลตาน มซฟฟาร เสดจเยอนกรงศรอยธยา แตขนเคองในพระทย เรอง กนสกร จนถง พ.ศ. ๒๑๐๖ พระเจาบเรงนอง ื ุ ึ  ู  ุ   ํ ุ แหงพมาทา “สงครามชางเผอก” กบไทย เพราะไทยไมใหชางเผอกทมหลายเชอกตามทพมาขอ สลตาน มซฟฟาร ยกทพบก  ี ั  ั  ู ั ื ี  ่ ่   ื   ี ื ทัพเรือมาชวยกรุงศรีอยุธยา แตสงครามยุติเสียกอน ทัพปตตานีถือโอกาสจะยึดกรุงศรีอยุธยาเกิดการสรบ สุลตาน ู ํ  ิ  ี สนพระชนม พระศพฝงไวบรเวณปากแมนาเจาพระยา พระอนชา มนโซร ลงเรอรบตดปนใหญหนกลบปตตานไปได    ื  ุ ิ  ั  ้ ี ั  ้  ิ  ู ื  ้ แลวทรงขนครองราชย แตมการแยงชงราชสมบตกนนงนง จนกระทงรชทายาทชายไมหลงเหลออย และใน พ.ศ. ๒๑๒๗ ั ึ  ั ุ   ี ิ ิ ั  ่ ั ั ี ้ ิ  ึ ี   ราชธดาองคแรกของสลตาน บาฮาดร ชาห ทรงขนมาเปน “ราชนคนแรก” ของอาณาจกรปตตาน ทรงพระนาม  ิ ู ุ ั   ้ ่ “ฮีเจา” (สีเขียว) องคนองชือ บิงู (สีนําเงิน) และอูงู (สีมวง) ตามลําดับ ้   ิ ี ราชน ฮเจา ทรงพระปรชาสามารถมากทงดานการคาและการตางประเทศ ทรงถวายดอกไมเงนดอกไมทองแก  ั  ี  ิ ี  ั  ิ   ี ุ  ิ ้ ู ี พระเจาทรงธรรมแหงอยธยา ราชน ฮเจา สนพระชนม พ.ศ. ๒๑๕๙ ราชน บง ทรงครองราชยตอ แลวสรางความสมพนธ  ั ิ    ิ ี ํ  ่ ั กบรฐกลนตนทเปนอสลามดวยกน พรอมกบเตรยมพรอมทาสงครามกบอยธยา โปรดใหสรางกาแพงเมองทแขงแรง ั ั ี ็ ี  ิ ั ื ่  ํ ุ ี   ั ั ั  ุ  (กําแพงราชินีบิงู) และหลอปนใหญหลายกระบอกไวสูรบกับอยธยา ื ่ ั ี ั “เราไมมทางรวาพระเจาแผนดนสยามจะยกทพมาตเราเมอใด เราควรปองกนตวกอนโดยจดหาปนใหญ  ี    ั    ั  ิ  ู จํานวนมาก”ราชินี บิงู บอกกลาวแกทหารหลังถูกทวงวาไมมีปนบอกขายกัน ซึงราชินียาวา “ถาเชนนันเราก็สรางเอง” ้ ่ ้ ํ ๋  ั  ี ื  ู  ิ แลวกไดชายชาวจน เตาเตยน ผสรางมสยดไมสาเรจมาทางานรวบรวมทองเหลอง ตะกว หลอปนใหญได ๓ กระบอก ตดลอ  ํ ่ ็ ี  ิ  ํ ็   ั   ้ ่ ้ ้ ๒ ลอ สองกระบอกแรกปากกระบอก ๑๑ นิว ทรงตังชือวา “ศรีนครา” และ “ศรีปตานี” อีกหนึงกระบอกขนาด ๓ นิว ่ นาวิกศาสตร 67 ปที่ ๑๐๖ เลมที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

ุ ิ ้ ่ ชือวา “มหาเสลา” การทดลองยงไดอํานาจทําลายสูง ซึงปนทัง ๓ กระบอก ถูกใชในการปองกันการบุกรุกของอยธยา ่ ใน พ.ศ. ๒๑๗๒ ๒๑๗๕ และ ๒๑๗๖ ึ ู ี ั ั ื   ั    ปตตานถกกลนตนยดครองใน พ.ศ. ๒๒๒๘ โดยปนใหญปองกนเมองไมได ใน พ.ศ. ๒๓๒๙ พระบาทสมเดจ ็  พระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ยกทัพปราบปรามหัวเมืองภาคใต ไดเมืองปตตานี ก็ไดขนปนศรีปตานี และศรีนครากลับกรุงเทพฯ ุ ื  ื   ี ุ ทางเรอ เรอทบรรทกปนศรนคราโดนพายจม เหลอแตปนศรปตานถงกรงเทพฯ ประดษฐานไวหนาอาคารกระทรวง ิ  ี  ึ ี ุ ี ่ ื  ุ  ั ้ ี ี กลาโหมทกวนนในนาม “นางพญาตาน” สวนปนมหาเสลาหายไประหวางการครอบครองของกลนตน (วนทร เลยววารณ,  ิ  ิ ั ี ั ่ ประวัติศาสตรทีเราลืม, สํานักพิมพ ๑๑๓)   ่ ่ ในบรรดาชือเรือตอรปโดใหญ ชือ “ปตตานี” ที่เปนเมืองฝงตะวันตกของอาวไทยเปนชือที “เฮียว” ทีอยในภาคใต ้ ่ ่ ่ ู   ู ของไทย แมปจจบนทมการกอความไมสงบทภาคใตอยบางนน “ปโล” (Patani United Liberation Organization) กยง ็  ุ  ่ ี ั ี ่ ั  ้ ั  ี ู  ่ เปนผู “เฮียว” ทีทางการตองรับมืออยทุกวันนี อยางไรก็ตาม เรือปตตานีปฏิบัติงานอยางเงียบ ๆ ไมเหมือน เรือชลบุรี  ้ ู    ้ และสงขลา ทีทําการรบที่เกาะชาง พ.ศ. ๒๔๘๔ ่ ภาพถายเรือตอรปโดไดรับความเสียหายจากการรบที่เกาะชาง (ภาพถายจากเรือรบฝรั่งเศส) นาวิกศาสตร 68 ปที่ ๑๐๖ เลมที่ ๗ ก รกฎ าคม ๒๕๖๖ ปที่ ๑๐๖ เลมที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

ื ั    ี ่  ิ ั  ฝงตะวนออกของอาวไทยมประวตทางการเมองและการทองเทยวในประเทศและนอกประเทศมากกวาฝงตะวนตก ั ี   ื  ี ั ั ็  ั ั  ้ นบตงแตรชสมยสมเดจพระราเมศวร องคท ๒ แหงกรงศรอยธยา (พ.ศ. ๑๙๓๑-๑๙๓๘ ครองราชย) ทรงปราบปรามเมองเหนอ  ี ุ ุ ื ่ ่ ั ั ี แลวไปทางตะวนออกทชลบร พระยากมพชายกทพมาต และกวาดตอนผคนจากชลบรและจนทบร ๖-๗ พนคนไปกมพชา ี ี ุ ุ ุ ี ี ั ู    ั ู ู ั ั รัชสมัยสมเด็จพระไชยราชาธิราช (พ.ศ. ๒๐๗๗-๒๐๘๙) รัชกาลที ๑๓ แหงกรุงศรีอยธยาไดยกกองทัพไทยไปตี ่ ุ ู ่ กัมพูชาทีราชธานีอย ณ กรุงละแวก โดยกองทัพไทยพายแพและทหารไทยถูกจับเปนเชลยจํานวนมาก  ุ ่ รัชสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ (พ.ศ. ๒๐๙๑-๒๑๑๒) รัชกาลที ๑๕ กรุงศรีอยธยา ภายหลังเสร็จศึกพมาไดยก ้ กองทัพไปตีเขมรใน พ.ศ. ๒๐๙๙ ทังทัพบกและทัพเรือ ปรากฏวา “ทัพเรือยกไปไมทันทัพบก” เปนเหตุใหเสียทัพ รัชสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช (พ.ศ. ๒๑๓๓-๒๑๔๘) ยกทัพไปตีเขมร พ.ศ. ๒๑๔๖ ไดชัยชนะเด็ดขาด ั ู    ั ุ ี ั ื  รชสมยสมเดจพระเจาทรงธรรม (พ.ศ. ๒๑๕๔-๒๑๗๑) กมพชาไมสงบรรณาการแกกรงศรอยุธยา “ทพเรอไทย ็ ั ่ ั ั ิ  ั    ั ู ี คอยทพบก เปนเวลานานกเรมขาดแคลนเสบยงอาหาร ตองถอยทพกอน” สวนทพบกไทยถกกองทพพระไชยเชษฐา ็ ของเขมรโจมตีแตกพาย ่ รัชสมัยสมเด็จพระสรรเพชญที ๙ (พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๒๗๕) โปรดใหยกทัพไทยไปชวยเขมร จากการถูกญวนรุกราน ุ ทําใหเขมรสงบรรณาการตอกรุงศรีอยธยา ั ู ิ ์ รชสมยสมเดจพระเจาตากสนมหาราช (พ.ศ. ๒๓๑๑-๒๓๒๕) แหงกรงธนบร ขยายอาณาเขตไดกมพชา (จาปาศกด)  ํ ั ี ิ  ั ุ ั  ็ ุ จดญวนใต ทรงยกทัพเรือกูชาติจากจันทบุรีถึงอยธยาใน พ.ศ. ๒๓๑๑  ุ ิ รชสมยพระบาทสมเดจพระพทธยอดฟาจฬาโลก (พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๕๒) แหงกรงรตนโกสนทร ทรงใหพระยายมราช ั ็ ั ุ   ั ุ  ุ  นํากําลังไปปราบปรามการจลาจลในกัมพูชา รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระน่งเกลาเจาอยหัว (พ.ศ. ๒๓๖๗-๒๓๙๔) หลังสงคราม “อานามสยามยุทธ” เปนเวลาเกือบ ๑๕ ป  ู ั กับลาว ญวน และกัมพูชา จึงสงบศึก  ู รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยหัว (พ.ศ. ๒๔๑๑-๒๔๕๓) ทรงยอมยกเมืองพระตะบอง เสียมราฐ ุ ่ และศรีโสภณ ใหแกกัมพูชาของฝรังเศสยคลาอาณานิคม ู  ื รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจาอยหัวภูมิพลอดุลยเดช (พ.ศ. ๒๔๘๙-๒๕๑๙) กัมพูชายนคํารองตอศาลโลกปลาย ่ ิ ิ ่ ื ี ู ึ  ู  พ.ศ. ๒๕๐๒ วา ดนแดนเหนอปราสาทพระวหารเปนของกมพชา และใหไทยถอนทหารทยดครองดนแดนอย ไทยแพคด ี   ั  ิ ี ื ี  ํ   (ระหวางการดาเนนคด กองเรอมการเตรยมพรอมซงผเขยนเปน ตนปน ร.ล. ไผ (LSM) กตองเตรยมพรอมดวย) ใน พ.ศ. ๒๕๔๖   ็ ี ิ ี  ี    ึ ู ่  ้ นักแสดงหญิงกลาววา นครวัด (Angkor Wat) นัน ไทยเปนผูสราง เกิดเรืองถึงการเผาโรงแรมไทยในกรุงพนมเปญ และใน  ่ พ.ศ. ๒๕๖๕ ภาพยนตรไทยเรื่อง “บุพเพสันนิวาส ๒” ไปฉายในกัมพูชามีภาพดอก “ลําดวน” (lamduan) ทีชาวเขมร ่ ํ  ่ ู  ั  ั ถอวาเปนดอกไมประจาชาตปรากฏในภาพยนตร จนกระทงแหลงกาซใตทะเลระหวางกมพชากบไทย แหลงเอราวณ ั  ิ  ั  ื    ั ในปจจุบันกับแหลงอุบล (Ubon) ในอนาคตทียงตองเจรจากัน to rekindle debate (บางกอกโพสต, ๒๒ ส.ค. ๖๕) ่ ู ปจจุบัน กัมพูชาอยภายใตการบริหารงานของ สมเด็จอัคคมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน (Samdech Akka Moha Sena ่  ู ่  ํ ี ี ิ Padei Techo Hun Sen) ในฐานะนายกรฐมนตร เปนผทมบทบาทโดดเดนในการเมองภมภาค ทาอะไรทตางชาตนกไมถง ี ื  ู   ั ึ ิ ี ึ ่ ุ ี  ่  ี ี ิ  ี ึ ่ ี  เชน การประชมของอาเซยนทกรงพนมเปญ ใน พ.ศ. ๒๕๒๔ ไดเตรยมออกแถลงการณทพาดพงถงการทจนวาดเสนประ ี ุ  ิ รอบทะเลจนใต วาเปนทะเลประวัตศาสตรของจีน โดยฟลปปนสประทวงจีนตอศาลโลก ซ่งศาลช้วาจนละเมด “กฎหมายทะเล”  ี   ึ    ิ  ี ิ ี  ่ ่ (LAW OF THE SEA) แตกัมพูชาก็ไมออกการแถลงการณเสียเฉย ๆ และเมือวันที ๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ รัฐมนตรี  ่ วาการตางประเทศสหรัฐอเมริกา นายบลินเก็น (Antony Blinken) ไดเตือนสมเด็จ ฮุน เซน ในทีประชุมกลุมอาเซียน ่ ในกรุงพนมเปญถึงการทีกัมพูชาใหจีนมีโครงการกอสรางฐานทัพเรือทีเรียม - urged Hun Sen to be transparent ่ นาวิกศาสตร 69 ปที่ ๑๐๖ เลมที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

ั Chinese military activities Ream naval base. (Asia Focus, Aug 8, 2022) มีผลกระทบตอความม่นคง ี ั ิ ิ  ็ ็ ื ั  ุ   ู ื  ื ี  ิ ของอาเซยน สมเดจ ฮน เซน แถลงวา ฐานทพเรอยนดตอนรบเรอมตรประเทศ แตโดยภมศาสตรกเหมอนวาเปนกลอนประต ู ปดอาวไทยถาเขาตองการ

่ ้ ดังนัน ดินแดนฝงตะวันออกของอาวไทยมีประวัติศาสตรทางการเมือง การสงคราม และการสังคม ทีหลากหลาย ิ  ื ื ั  ิ ู  ้ ่ ั  ุ ื    ื มากมายกวาฝงตะวนตก อาจเปนนมตใหผคดตงชอเรอตอรปโดใหญดวยนามทกเมองของฝงตะวนออกเปนชอเรอ ชลบร ี ุ ่ ื     ั  ิ   ี ุ ี     ่ ั ี ุ ั ี ั ระยอง จนทบร และตราด ในขณะทฝงตะวนตกของอาวไทยเปนเพยง ชมพร ปตตาน และสงขลา และฝงทะเลอนดามน ั   ่ ่ ภูเก็ตชือเดียวทีเปนชือเรือ และถือไดวา กัมพูชา เปน “คูปรับยอดฮิต” ทีภูมิศาสตรขมศักยภาพทหารเรือไทย ่  ่ ็   ี ่ ื ิ ิ ิ ้ ั ั ิ   ั ื ภมรฐประวตศาสตรอาจเปนนมตในการการตงชอเรอหลวงในอดต แตภมรฐศาสตรเปนประเดนททหารเรอไทย  ู ั ิ ื ่ ู ี ตอง “แกลํา” ในการอยกนซอย ซึงประวัติศาสตรบอกวาฝงตะวันออกของอาวไทย “มีเรือง” มากกวาฝงตะวันตกและ ่  ่ ู  ่ ทะเลอันดามัน มามากมายหลายสมัยหลายรัชกาลโดย “กัมพูชา” เปน “ดาราเอก” ของเรือง นาวิกศาสตร 70 ปที่ ๑๐๖ เลมที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖ ปที่ ๑๐๖ เลมที่ ๗ ก รกฎ าคม ๒๕๖๖

Soft Power

w of t P S er o

ภัยคุกคามที่พึงระวัง ภัยคุกคามที่พึงระวัง

พลเรือเอก ทวีวุฒิ พงศ์พิพัฒน์ พลเ รือเอก ทวีวุฒิ พงศ์พิพัฒน์

่ ำ ำ ั ำ ้ ำ ่ ้ ่ ั ่ ็ ำ ่ ่ ้ ้ � ึ ั การใช้กาลังอำานาจอำย่างนมนวลั (ขณะนย่งไมมคำาแปลัอำย่างเปนทางการ จงขอำใช้คำาวา Soft Power ในลัาดับต่อำ ๆ ไป) ่ � ้ ิ ็ เปนคำำาท้ไดัรบการเร้ย่กแลัะให้้นย่ามโดัย่ Joseph S. Nye, Jr. ในห้นงสืือำ Soft Power : The Means to Success ั ั ์ ิ ่ ์ ่ � ิ ั ิ � in World Politics นกวช้าการจากมห้าวทย่าลััย่ฮารวารดั เมือำ พ.ศ. ๒๕๔๗ โดัย่ Nye ไดักลัาววา แนวคำดัพืนฐานขอำง ้ ำ ื ้ ้ ้ ั ้ ้ อำานาจในการทำาให้ผู้อำนปฏิบต่ต่ามคำวามต่้อำงการขอำงเรา มวิธีการททาไดัโดัย่ใช้กาลังบงคำบ การลั่อำดัวย่ผู้ลัต่อำบแทน ั ำ ้ ั ิ � ำ ้ ั ้ ้ � ิ ึ ื ้ ็ � ื แลัะการจ้งใจให้้รวมมอำ โดัย่ Nye ให้้คำวามเห้นวา การสืรางแรงจ้งใจในวธีท้สืามลังท่นนอำย่กวาสือำงวธีแรกมาก ซึ่งกคำอำ ิ � ้ ็ ่ ้ ิ ่ ้ ่ ้ ่ การใช้ Soft Power นนเอำง ทงน ในปจจบนมการใช้ Soft Power กนอำย่างกวางขวาง ไมวาจะเปนช้าต่ต่ะวนต่ก ั ั ้ ่ ั ้ � ั ้ � ั � ่ ั ็ ้ ่ ิ ั ั ำ ็ � ็ ้ ิ ิ ช้าต่ต่ะวนอำอำก ห้รอำแมกระทงสืห้รฐอำเมรกากมการใช้ Soft Power อำย่างมาก ต่ลัอำดัจนจน ซึ่งกาลังเต่บโต่อำย่างกลัาแขง ิ ่ ้ ้ ้ ั � ้ ั ื ่ ึ ่ ้ ั ็ กไดัม้การใช้้ Soft Power เช้นเดั้ย่วกน ิ อำันท�จริงแลั้ว Soft Power ห้รอำการใช้คำวามนมนวลัไดั้เกดัมานานต่�งแต่ย่่คำโบราณแลั้ว แลัะมิใช้่เพ้ย่งประเทศ ้ ้ ่ ั ่ ่ ื ็ ิ มห้าอำานาจอำย่างเดัย่ว ประเทศอำน ๆ กมการใช้ Soft Power ในการดัาเนนนโย่บาย่ขอำงต่นเอำง เพอำให้บรรลัวต่ถุประสืงคำ ์ � ั ่ ื � ื ำ ่ ้ ้ ำ ้ ่ ้ ิ ็ ิ ้ ้ ื � ั ้ ้ � ท้ต่อำงการ Soft Power นั�น ถุาเปร้ย่บเท้ย่บแลัวกคำอำ การใช้้มาต่รการทางสืงคำมจต่วทย่า โดัย่แทรกอำย่ในเรือำงต่่าง ๆ ่ ั ิ ำ ่ ิ ึ ้ ้ ้ แลัะพย่าย่ามโนมนาวแทรกซึ่มแนวคำวามคำดัแลัะวถุ้ช้้วต่ประจาวน โดัย่ไมให้้รสืกต่ว ิ ึ ั ้ ำ ื ำ Hard Power หรอการใช้้กาลงอานาจบัังคัับั ั ิ ิ ั ็ ั ื ิ ่ � ำ ้ � ่ ื ่ ในย่คำโบราณการใช้กาลังเขาทาสืงคำรามเพอำแย่งช้งทรพย่ากร กคำอำ การแย่งช้งทรพย่์สืน เงนทอำง เพช้รพลัอำย่ รวมทง ้ ั ำ ั ิ ั ื ั ำ ั ็ � ่ ึ ้ ้ ำ ้ ็ ่ � ิ ื ็ ั ื กวาดัต่อำนผู้้คำนเปนแรงงาน ซึ่งถุอำวาเปนทรพย่ากรอำนม้คำา น้กคำอำการใช้้กาลัังบงคำบ ห้รอำ Hard Power เขาดัาเนนการ ั ิ ้ ่ ้ ิ ั ้ ื ่ � ื � ื ั ้ ้ ื ิ ึ ้ � ่ ึ ต่อำมาเมอำมการพฒนาเทคำโนโลัย่เกดัขน รวมถุงการเขาสืย่่คำอำต่สืาห้กรรมขอำงช้าต่ต่ะวนต่ก มดันปน มปน แลัะเคำรอำงจกรกลั ั ้ ้ ้ ่ ้ ้ ่ ่ ำ ื ใช้การเขาสืย่คำการลั่าอำาณานิคำม เพอำต่กต่วงผู้ลัประโย่ช้น์แลัะทรัพย่ากรขอำงประเทศมห้าอำานาจต่อำประเทศท�ดัอำย่กวา ่ � ่ ้ ื ื ็ ึ � ื ิ การทต่แบบทวา “Gun Boat Diplomacy” ห้รอำการทต่แบบเรอำปน กเกดัขนในเดัอำนกรกฎาคำม คำ.ศ. ๑๘๕๓ ้ ้ � ื ้ ่ ิ ้ ื ์ ิ ำ ั ื ั ้ ้ ่ ้ ิ ในสืมย่โช้กนโย่ช้โนบ ญี่ปนถุกสืห้รฐอำเมรกาขมขโดัย่สืงเรอำรบนาโดัย่ พลัเรอำจต่วา แมทธีว เพอำรร เขาปดัปากอำาวโต่เกย่ว ่ � ่ ่ ั � ่ ่ ้ ิ ่ ้ ็ ั ั ั � ิ ิ ้ ็ ้ ั ็ ้ บบบงคำบให้ญี่ปนเปดัประเทศคำาขาย่ดัวย่ นอำกจากนน ประเทศเลักแลัะทลัาห้ลังกถุกช้าต่ต่ะวนต่กไมวาจะเปนอำงกฤษ � ้ ้ ่ ้ ้ � � ั ั ่ ่ ฝรังเศสื ฮอำลัันดัา สืห้รฐอำเมรกา สืเปน โปรต่่เกสื เขาย่ดัคำรอำงเปนอำาณานคำม เพื�อำกอำบโกย่ผู้ลัประโย่ช้นเขาสื้ประเทศ ิ ้ ั ็ ิ ึ ์ ้ � ็ ้ ขอำงต่นเอำงอำย่างนาเศราสืลัดัแลัะนาลัะอำาย่เปนท้สื่ดั � ่ ่ ่ นาวิกศาสตร์ 71 ปีที่ ๑๐๖ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

พลเรือจัตวา แมทธิว เพอร์รี

� การใช้้ Soft Power ในระยะเริมแรก � ื ่ ่ � � ั ั ้ ้ ั ื ื ่ Soft Power คำอำ การทรฐบาลัใช้สือำต่าง ๆ ในการโฆษณาห้รอำโพรโมต่วฒนธีรรมขอำงต่นเอำง อำย่างเช้น ฝรงเศสืในช้วง ่ ั � ศต่วรรษท ๑๗ แลัะ ๑๘ ไดั้โพรโมต่วัฒนธีรรมขอำงต่ัวเอำงไปท�วย่โรป จนกระท�งภาษาฝร�งเศสืไดั้กลัาย่เป็นภาษาทางการท้ต่ ่ ั ั ้ � ้ แลัะแมแต่่ภาษาท้ใช้้ในศาลัขอำงบางประเทศ � ั ็ ั ้ � ่ ้ ้ ่ ำ ั ในช้วงสืงคำรามโลักคำรั�งท้ ๑ ไดัม้การพฒนาการใช้้ Soft Power อำย่างเห้นไดัช้ดั โดัย่แต่่ลัะประเทศไดัต่ังสืานกงาน ้ ื � � ิ � ื ื ้ เพอำช้วนเช้อำในสื�งทต่นต่อำงการ ย่กต่ัวอำย่่างเช้่น อำังกฤษกับเย่อำรมน้ ไดั้พย่าย่ามช้วนเช้อำให้้ประช้าช้นช้าวอำเมรกันเห้็นว่า ิ � ่ ั ็ ื ำ ิ ่ ั ั ้ ็ ็ � ต่นเปนฝ�าย่ดั้ ในขณะท้ สืห้รฐอำเมรกาย่งไมเขารวมสืงคำราม คำวามสืาเรจขอำงอำงกฤษเมือำเท้ย่บกบเย่อำรมน้ กคำอำ แทนท้ � � ั ่ ิ จะทาการโพรโมต่อำย่างกวางขวาง อำงกฤษมงเนนไปท้ช้นช้ันสื้งในสืห้รฐอำเมรกา � ้ ่ ่ ั ั ้ � ำ ้ ้ ั ้ � ้ � ในภาย่ห้ลัง สืห้รฐอำเมรกาไดักลัาย่เปนอำกประเทศทใช้ขอำมลัขาวสืารแลัะวฒนธีรรม เพอำจดัประสืงคำทางการทต่ ่ ้ ื ่ ์ ้ ้ ั ั ิ ็ ั ้ � ่ โดัย่สืห้รฐอำเมรกาไดัจดัต่ังห้นวย่งานสืาห้รบราย่งานขาว ซึ่งผู้้จดัทาจะต่อำงทาให้้ภาพพจนขอำงสืห้รฐอำเมรกาต่่อำสืาย่ต่า � ิ ำ ั ึ ้ ้ ิ ั ั ั ำ ำ ่ ์ ่ ช้าวโลักอำย่้แงบวก ่ การประดัิษฐวทย่ขนมาใน คำ.ศ. ๑๙๒๐ ก็ทาให้ห้ลัาย่ประเทศห้ันมาให้คำวามสืำาคำญี่กบการถุ่าย่ทอำดัการสื�อำสืาร ื ์ ิ ั � ่ ั ึ ำ ้ ้ ้ ์ ์ ่ ั ่ ั ื ไปในห้ลัาย่ ๆ ภาษาทวโลัก เช้น การแขงขนกนระห้วางลัทธีฟาสืซึ่สืต่ แลัะนาซึ่เย่อำรมน ในการทาภาพย่นต่รช้วนเช้อำ แลัะ � � ิ ั ิ ั ่ ำ ั ิ ่ ่ ึ ั ้ � ั ิ ้ � ้ ั ั ภาย่ห้ลังอำงกฤษเอำงกต่ระห้นกในเรอำงน แลัะไดัจดัต่งสืถุานวทย่ BBC เพอำอำอำกอำากาศในย่โรปในทกภาษารวมถุงภาษาอำารบก ็ � ื ั ่ ื � ่ ็ ่ ้ ้ ้ ้ ้ โดัย่ในสืวนขอำงสืห้รัฐอำเมริกาเอำงบางสื่วนไดัอำย่ในรปคำวามสืำาเรจขอำงฮอำลัลัวดั ท�โฆษณาวัฒนธีรรมขอำงสืห้รัฐอำเมริกา ้ ำ ื � ้ ่ ื ต่อำสืาย่ต่าช้าวโลักในช้่วงสืงคำราม ในภาย่ห้ลังวทย่ไดักลัาย่เปนเคำรอำงมอำทสืาคำญี่แลัะถุกเรย่กวาเสืย่งจากอำเมริกาห้รอำ ั ้ ื ่ ่ ็ ้ ้ � ิ ้ ั ็ ิ � ่ VOA (Voice of America) กไดัเต่บโต่อำย่่างรวดัเรวในช้วงสืงคำรามโลักคำรั�งท้ ๒ ็ ้ นาวิกศาสตร์ 72 ปีที่ ๑๐๖ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

ั ิ ี ้ � � บัทบัาทของช้าติิติาง ๆ ทีใช้้ Hard Power และ Soft Power ทีเกดขนกบัสยามในอดติ ่ � ้ ้ ่ ้ � ำ ้ ่ ่ ่ ็ ้ ้ ต่ามทกลัาวแลัววาในย่คำโบราณมการใช้ Hard Power เพอำบบบงคำบให้ช้าต่ทดัอำย่กวาย่อำมทาต่าม ห้รอำเปนการใช้ ้ ั ั ื ้ ื ้ � � ิ ่ ่ ั ั ้ ้ ่ ้ � กาลัังทห้ารเข้ารกรานประเทศทดัอำย่กว่าน�นเอำง ในสืมย่โบราณในขณะท�ประเทศไทย่ย่ังเป็นการรวมกลัมเป็นอำาณาจักร ำ ่ ่ ั ื ั � ั ั ั ็ ้ ้ ่ ่ ้ ั ั ื เช้น อำาณาจกรสืโขทย่ อำาณาจกรศรอำย่ธีย่า กมการสืงคำรามต่อำกน ห้รอำมสืงคำรามกบอำาณาจกรเพอำนบาน เช้น อำาณาจกร ่ ้ ลัานนา อำาณาจกรลัานช้้าง รวมถุงอำาณาจกรพ่กาม อำาณาจกรขอำมห้รอำแมแต่่อำาณาจกรอำานาม ห้รอำญี่วน กเพื�อำขย่าย่ ั ั ึ ็ ื ้ ื ้ ้ ั ั � ้ ั ิ ่ ็ ื ้ � ึ � ิ ่ ้ ั � อำาณาเขต่ แลัะแสืวงห้าทรัพย่ากร ซึ่งมทงคำนทเปนทรพย่ากรอำนมคำากวาทรพย่์สืนเงนทอำง เพอำผู้ลัประโย่ช้น์แกช้าต่ ิ ่ ั ั ้ ขอำงต่น นอำกจากการใช้้ Hard Power ต่ามท้กลัาวแลัว กไดัม้การใช้้ Soft Power คำวบคำ้กนไปดัวย่ จะขอำย่กต่วอำย่าง � ็ ้ ั ั ่ ่ ้ ่ � ประเทศมห้าอำำานาจบางประเทศท้ใช้้ Soft Power แลัะ Hard Power ดัังน � ้ ฮอลนดาหรอวลนดา ิ ั ั ื ิ ็ ั ้ ำ ้ ่ ั ั ในสืมย่แผู้นดันสืมเดัจพระนาราย่ณ ระห้วาง พ.ศ. ๒๑๙๙-๒๒๓๑ ฮอำลัันดัาไดัเขามาทาการคำาขาย่กบอำาณาจกร ่ ์ ้ กร่งศร้อำย่ธีย่า ในระย่ะต่นกม้การคำาขาย่กนธีรรมดัา ซึ่งกสืรางคำวามรารวย่ให้้กบฮอำลัันดัาห้รอำวลัันดัาอำย่างมาก ต่่อำมา ็ ็ ื ั ้ ่ ้ ิ ่ ั ้ ึ � � ำ ั ื ำ ื ั ่ ่ ้ ่ เกดักรณพพาทระห้วางฮอำลันดัากับกรงศรอำย่ธีย่า ฮอำลันดัาจงถุอำโอำกาสืนากอำงเรอำมาปดัปากแมนาเจาพระย่า กรงศรอำย่ธีย่า ำ � ิ ึ ิ ้ ่ ่ ้ ้ ิ ่ ้ ่ � ำ ้ ิ ั ิ ั ้ ไมม้กาลัังพอำทจะขดัขน จงต่อำงย่อำมต่ามขอำเร้ย่กรอำงขอำงฮอำลัันดัา ทาให้เกดัสืนธีสืญี่ญี่าทสืย่าม สืมย่กรงศร้อำย่่ธีย่า ั � ่ ้ ึ ้ ำ ื ้ � ทากบบรษทอำนเดั้ย่ต่ะวนอำอำกขอำงฮอำลัันดัา เมือำวนท้ ๒๒ สืงห้าคำม พ.ศ. ๒๒๐๗ ห้รอำ คำ.ศ. ๑๖๖๔ โดัย่นอำกจากจะให้้ ั ั � ั ิ ื ำ ิ ิ ั ิ ้ ั ั ิ ้ ั ้ ้ ่ � ิ ิ � ำ ่ ั สืทธีผู้้กขาดัการคำาบางประการแกบรษทฯ แลัว ย่งไดักาห้นดัสืทธีิในเรือำงอำำานาจศาลั โดัย่สืร่ปวา ถุาพนกงานบรษทฯ ิ ่ ็ ึ ้ ้ � ่ ิ กอำอำาช้ญี่ากรรมราย่แรงในสืย่าม ต่อำงสืงให้ฮอำลันดัาพจารณาโทษต่ามกฎห้มาย่ขอำงฮอำลันดัา ซึ่งแสืดังให้เห้นถุง ้ ั ึ ้ ั ั ำ ิ ้ ิ ิ ิ การเกดัสืทธีสืภาพนอำกอำาณาเขต่ขนคำรงแรกขอำงสืย่ามแลัะการดัาเนนการขอำงฮอำลันดัา กคำอำ การใช้ Hard Power ็ � ั ื � ึ ั โดัย่ Gun Boat บ้บบงคำบให้้กร่งศร้อำย่ธีย่าย่นย่อำมทาต่ามท้ต่นต่อำงการ ั ้ � ่ ิ ำ ฝรังเศส � ์ ็ ็ ่ ่ ั ้ ่ ั ์ ่ ้ � ห้ลังจากเห้ต่การณทฮอำลันดัาคำกคำามกรงศรอำย่่ธีย่า สืมเดัจพระนาราย่ณกเกรงวากรงศรอำย่่ธีย่าจะไมปลัอำดัภย่จาก ่ ่ ั ้ ั ่ ้ ื ั ็ การคำ่กคำามแลัะย่ดัคำรอำงโดัย่ฮอำลัันดัา จงโปรดัเกลัาฯ ให้้กอำสืรางแลัะพฒนาเมอำงลัพบ่ร้ขึ�น เพื�อำใช้้เปนท้�ประทบรวมทัง � ้ ึ ึ ื ้ ั � ื ่ ั ้ ึ ั ำ � ิ ั ั ั ่ � ั ้ พย่าย่ามเจรญี่สืมพนธีไมต่รกบฝรงเศสื เพอำให้ช้วย่เห้ลัอำในการสืรางปอำมสืาห้รบปอำงกนภย่คำกคำามอำนอำาจจะเกดัขน ิ ้ ้ ั ื ่ ั � ั ่ ์ ี � ่ ั ั ้ ในรช้สืมย่ขอำงพระอำงคำทรงประทบอำย่้ท้ลัพบ่ร้ปลัะประมาณ ๘ เดัอำน จะประทบอำย่ท้กร่งศร้อำย่ธีย่าประมาณ ๔ เดัอำน ื ์ ั ้ ั ิ ิ � ่ ็ ั ้ ั ์ เทานั�น การเจรญี่สืมพนธีไมต่ร้กบพระเจาห้ลั่ย่สืท้ ๑๔ นั�น เจาพระย่าวไช้ย่เย่นทร ข่นนางไทย่ช้าวกร้กเปนต่วกลัางใน การต่ดัต่อำทงสืน ทงนเจาพระย่าวไช้ย่เย่นทร กมเจต่นาแอำบแฝงบางประการ กลัาวคำอำ ต่อำงการใช้ฝรงเศสืสืนบสืนนแลัะ ั � ื ่ ิ ้ ั ิ ้ � ่ � ิ ้ ั � ็ ่ ้ ้ � ์ ั ้ � ์ ั ็ ่ ิ ำ ้ ั ิ ็ ์ ิ ่ � ั เปนเกราะกาบงต่วเจาพระย่าวไช้ย่เย่นทรเอำง ห้ากสืนแผู้นดันขอำงสืมเดัจพระนาราย่ณแลัว โดัย่กลัอำบาย่ขอำงฝรงเศสืใน ั ิ ั � ็ ้ ้ ำ ่ ้ ็ ่ ื ่ ั คำรงแรกกเปนการสืงนาย่ช้างแลัะทห้ารมารบราช้การแลัะช้วย่เห้ลัอำในการกอำสืรางปอำมปราการ รวมทงดัาเนนการคำาขาย่ ่ � ็ ์ � ่ ็ ่ ้ ิ ่ ื ึ ่ � ั ้ ั ำ ั ื � แต่จดัมงห้มาย่สืาคำญี่กคำอำ ช้กช้วนให้สืมเดัจพระนาราย่ณเขารต่ เพอำนบถุอำศาสืนาคำรสืต่ ซึ่งห้ากเปนไปต่ามทวางแผู้นไว ้ ื ้ ้ ็ ์ ่ ็ ้ ่ � ื � กสืามารถุท้จะคำวบคำ่มกร่งศร้อำย่ธีย่าเขาไปอำย่้ในคำรสืต่จกรไดั ซึ่งน้กคำอำ การใช้้ Soft Power นันเอำง แต่่อำย่างไรกต่าม ั ิ ็ ้ � ่ ็ � ึ ็ ื ็ ้ ึ สืมเดัจพระนาราย่ณเลังเห้นถุงผู้ลัเสืย่แห้งการเขารต่ จงทรงอำนญี่าต่ให้ราษฎรสืามารถุเลัอำกนบถุอำศาสืนาใดักไดั ้ ั ึ ็ ื ่ ้ ์ ็ ้ ้ ่ ั ั ้ ่ ์ � ็ ่ แต่สืาห้รบพระอำงคำทานไดัทรงแจงกบทางฝรงเศสืวาขอำพจารณากอำน เนอำงจากเปนเรอำงขอำงศรทธีาแลัะจต่ใจ เมอำ ั ่ ิ ื ่ ื ำ � � ิ ้ � ั ื แผู้นการขั�นนไมสืาเรจ เจาพระย่าวไช้ย่เย่นทรกเต่ร้ย่มการกบฝรังเศสื เพื�อำย่ดักร่งศร้อำย่ธีย่า โดัย่ใช้้ Hard Power คำอำ ั � ึ ้ ็ ำ ้ ์ ่ ื ิ ็ � ่ ่ ่ ำ ์ ่ � ำ ั ั ิ ้ กาลัังทห้ารเขาดัาเนนการ เมือำม้โอำกาสือำนเห้มาะสืม แต่่เปนคำราวเคำราะห้ดั้ขอำงกร่งศร้อำย่ธีย่า แมวาช้วงปลัาย่รช้กาลั ็ ้ ำ ขอำงสืมเดั็จพระนาราย่ณ์ เจาพระย่าวไช้ย่เย่นทรจะเรอำงอำานาจในราช้สืำานกมาก แต่ในขณะท�สืมเดัจพระนาราย่ณ์กาลัง ั ็ ้ ้ ์ ั ำ ิ ื ่ ื ั ้ � ำ ปวย่ใกลัสืวรรคำต่ ไดัมอำบอำานาจสืทธีขาดัให้กบพระเพทราช้า ซึ่งเปนผู้มอำานาจแลัะกาลังทห้ารในบงคำบบญี่ช้าเพอำกากบ ำ � ั ึ � ิ ั ้ ้ ั ั ้ ้ ั ำ ้ ็ � ิ ำ � ่ ่ ั ิ ั � � ึ ั ่ ิ ็ ้ ดัแลัราช้การแผู้นดัน ทงน พระเพทราช้าแลัะขนห้ลัวงสืรศกดั (บต่รบญี่ธีรรมขอำงพระเพทราช้าซึ่งเปนพระราช้โอำรสืลับ ่ � ้ นาวิกศาสตร์ 73 ปีที่ ๑๐๖ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

� ั ้ ้ ้ ์ ิ ึ ิ ้ ้ ขอำงสืมเดั็จพระนาราย่ณ์) มคำวามเกลัย่ดัช้ังพวกฝรง โดัย่เฉพาะเขาใจถุงพฤต่กรรมขอำงเจาพระย่าวไช้ย่เย่นทรอำย่้่แลัว � เมอำสืนแผู้นดันสืมเดัจพระนาราย่ณ์ พระเพทราช้าจึงปราบดัาภิเษกขนเปนพระมห้ากษัต่รย่แลัะสืถุาปนาราช้วงศ์ � ึ ็ ็ ิ ่ ์ ิ ิ � ื ่ ึ ำ ิ ั ิ ั บ้านพลั้ห้ลัวงข�น ห้ลัังจากน�นจึงไดัจับเจ้าพระย่าวิไช้ย่เย่นทร์ประห้ารช้้วต่ แลัะเกดัรบพงกับกาลัังทห้ารฝร�งเศสืท � ้ ้ ่ ื ั ิ � ิ ั ้ ึ ้ ปอำมวไช้ย่เย่นทร (ปอำมวไช้ย่ประสืทธีิในปจจ่บน) เปนเวลัานานถุง ๒ เดัอำน จนสืามารถุเจรจาสืงบศกแลัะขบไลัฝรั�งเศสื ิ ่ ็ ั ์ ึ � ็ ่ อำอำกจากกร่งศร้อำย่ธีย่าไปไดั จงเปนอำนย่ต่การม้บทบาทขอำงฝรังเศสื ฮอำลัันดัา โปรต่่เกสื แลัะฝรังเศสื ในย่คำต่่อำมา ิ ั ่ � ้ ึ ่ ั ่ ้ ั นอำกจากเห้ต่การณ์ในคำร�งน�นแลั้ว ในรช้สืมย่พระบาทสืมเดั็จพระจ่ลัจอำมเกลั้าเจ้าอำย่่ห้ัว ฝร�งเศสืก็ไดั้ใช้ Hard Power ั ั ้ ั ิ ้ โดัย่วธี Gun Boat Diplomacy อำ้กคำรัง � ้ ้ ่ ้ ื ื ิ ้ � ื ่ ้ � ำ ่ ั � ้ โดัย่ใน ร.ศ. ๑๑๒ ไดัใช้เรอำปนผู้านปากนาบกฝาเขามาในแมนาเจาพระย่า แลัะเกดัสืรบกบทห้ารเรอำทปอำมพระจลัจอำมเกลัา ้ ่ ้ ำ ้ � � ้ ้ ื ็ ทห้ารทัง ๒ ฝ�าย่บาดัเจบลัมต่าย่ไปจานวนห้นึง โดัย่ฝรังเศสืบาดัเจบแลัะต่าย่เลักนอำย่ แต่่ฝรังเศสืไดัห้าเห้ต่่ถุอำโอำกาสื ็ � ำ � ้ ็ � ้ ้ ั ่ ้ ึ เรย่กคำาปฏิกรรมสืงคำรามจากสืย่ามถุง ๓ ลัานฟรงก แลัะย่ึดัดันแดันฝงซึ่าย่แมนาโขง ไปจากสืย่ามอำกดัวย่ ิ ้ � ำ ์ � ่ ิ ้ ั ็ ็ ่ ่ ้ ั ้ ่ ้ ้ � ิ ้ ้ � ั ้ ิ อำนทจรงแลัว เคำาลัางในการเขามารกรานสืย่ามไดัเรมต่นมาต่งแต่ต่นกรงรต่นโกสืนทรแลัว โดัย่ในต่อำนต่นกเปน ้ ิ ้ ์ � ั การคำาขาย่ เผู้ย่แพรศาสืนา ซึ่งกคำอำ ใช้้ Soft Power เมือำสืบโอำกาสืจงใช้้ Hard Power เขาดัาเนนการ ิ ่ ้ ำ ้ ็ ื � ึ ึ � องกฤษ ั ้ ั ่ ิ ั ้ ้ ั ่ เช้นเดัย่วกน อำงกฤษมการต่ดัต่อำคำาขาย่กบสืย่ามเปน ็ ั ิ ระย่ะเวลัานาน โดัย่เฉพาะอำย่่างย่�งในสืมย่รต่นโกสืินทร ์ ั ้ ั ั ั � ึ ห้ลัังจากอำงกฤษย่ดัคำรอำงพมาไดั ซึ่งต่รงกบสืมย่รช้กาลัท้ ๓ � ึ ั ่ ื ่ ็ ื ้ ั ้ � กคำบคำลัานเขามาย่งสืย่าม เพอำเขามาคำาขาย่กอำน แลัะห้า ้ ื ็ โอำกาสืเขาย่ึดัคำรอำง ซึ่งกคำอำ Soft Power แลัะต่ามดัวย่ ้ � ึ ้ ั Hard Power จนกระท�งในแผู้่นดัินพระบาทสืมเดั็จ ่ พระจลัจอำมเกลัาเจาอำย่ห้ว สืย่ามจาเปนต่อำงย่กไทรบร ้ ่ ้ ็ ำ ้ ั ่ ้ ้ ้ ื ้ เกาะห้มาก แลัะห้ัวเมอำงฝาย่ใต่ ให้อำงกฤษไปเพ�อำรกษา ั � ั ื ดันแดันสืวนให้ญี่ไว ้ ิ ่ ่ ่ ั � ั ำ � ั ิ ั การดัาเนนการขอำงทงอำงกฤษแลัะฝรงเศสืในย่คำนน � ิ � เป็นการดัาเนินช้นดัห้มาปาต่อำลักแกะ เพอำผู้ลัประโย่ช้น ์ ำ ื ้ � ่ ิ ้ ั แห้งช้าต่ขอำงต่น ซึ่งนอำกจากดันแดันแลัวย่งทาให้้สืย่ามต่อำง ิ ำ ่ � ึ ้ ิ ้ สื้ญี่เสื้ย่สืิทธีสืภาพนอำกอำาณาเขต่ให้กับประเทศดัังกลั่าว � ็ ซึ่งถุอำเปนคำวามขมขื�นขอำงสืย่ามเปนอำย่างย่ง ่ ึ � ็ ิ ื จน ี ่ ้ ้ จนมการต่ดัต่อำคำาขาย่กับสืย่ามมาเป็นระย่ะเวลัา ิ ้ ย่าวนาน นบต่งแต่อำาณาจกรสืโขทย่ ใน พ.ศ. ๑๘๓๕ ซึ่งต่รงกบ � ั ั � ั ั ่ ั ่ ึ ์ ั ราช้วงศห้ย่วน ในรช้สืมย่พระจกรพรรดักบไลั ขาน แลัะต่รงกับ ่ ั ่ ั ิ ำ ั � ่ ่ ำ ิ ั รช้สืมย่พอำขนรามคำาแห้งมห้าราช้ การดัาเนนการในคำรงนน � ั ั ์ ่ ่ ำ � ิ ้ ้ ้ การใช้ Hard Power ของ ฝรั่งเศส เรมต่นจากพอำขนรามคำาแห้งมห้าราช้ ไดัมพระราช้สืาสืน ่ ั ั ื ้ � ึ ่ ในสมัย ร.ศ. ๑๑๒ โดยวิธี Gun Boat Diplomacy จากสืโขทย่ เพอำขอำเป็นไมต่รแลัะสืงถุงพระจกรพรรดั ิ นาวิกศาสตร์ 74 ปีที่ ๑๐๖ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

้ ่ ้ ั ่ ่ ้ ่ กบไลั ขาน โดัย่ผู้านขาห้ลัวงให้ญี่ฝาย่รกษาคำวามเรย่บรอำย่ � ขอำงมณฑลักวางต่ง (เมอำงกวางต่งเปนเมอำงห้นาดัาน ื ่ ้ ่ ่ ื ็ ้ ้ ่ ็ ิ ิ ้ ื ้ � ึ ั ื ่ ่ ทเรอำสืนคำาไทย่ทกย่คำทกสืมย่จะเดันทางไปถุงเปนเมอำงแรก ็ ึ รวมทงราช้ทต่แทบทกช้ดัขอำงไทย่กจะไปถุงทเมอำงนกอำน) � ่ ั ่ ้ ้ ้ ่ � � ื ำ ่ ั ่ ้ ื ในสืมย่พอำขนรามคำาแห้งไดัสื่งเคำรอำงราช้บรรณาการแลัะ � ้ ้ ึ มการสืงคำณะราช้ทต่ไปต่ลัอำดันบจาก พ.ศ. ๑๘๓๕ จนถุง ่ ั พ.ศ. ๑๘๖๕ รวม ๑๔ คำรง คำอำ เฉลัย่ทกปีในขณะท ้ � ื ้ � ่ � ั � ้ ื ั ่ ้ � ั ้ ่ � ิ ั จนสืงคำณะทต่ ๔ คำรง นคำอำจดัเรมต่นคำวามสืมพนธี ์ ้ ้ ั ่ ้ � ้ ระห้วางจนกบไทย่ทปรากฏิอำอำกมาในรปแบบขอำง ั ์ ้ ั คำวามสืมพนธีทางการทต่แบบบรรณาการซึ่งระบบ � ึ ้ ้ ั ั คำวามสืมพนธีทางการทต่ แลัะการคำาแบบบรรณาการน � ้ ์ ้ ต่อำมาในสืมัย่อำย่ธีย่าจะใช้คำาวา “ระบบจ�มกอำง” ่ ่ ้ ำ ิ ่ สืวนภาษาจ้นจะใช้้คำำาวา “เจงก่ง” ่ ิ ่ ิ � ์ ้ ิ ั � ื ่ ั ระบบคำวามสืมพนธีแบบจมกอำง ห้รอำเจงกง นน ั เจรญี่รงเรอำงเปนอำย่างมากในสืมย่กรงศรอำย่ธีย่า โดัย่ ั ่ ่ ็ ื ้ ่ ่ ่ ิ ั ประมาณ พ.ศ. ๑๙๑๑ ซึ่งต่รงกับปลัาย่รัช้สืมย่ขอำงพระเจา ้ ึ � ้ ั ้ ่ � ้ ิ ่ ่ ้ ิ อำทอำง ปฐมกษต่รย่แห้งกรงศรอำย่ธีย่า ไดัเรมมการสืง ่ ่ ์ � ้ ่ � คำณะราช้ท้ต่บรรณาการไปจ้นให้มอำ้กคำรั�ง แต่่ในคำรังนไดั ้ สืงไปถุงเมอำงนานกง อำนเปนเมอำงห้ลัวงขอำงราช้วงศห้มง ์ ่ ื ึ ั ิ ็ ิ ื � ในขณะนัน แลัะไดัสืงต่่อำเนือำงอำย่างสืมาเสืมอำ � � ่ ำ ้ ่ ้ คำวามสืัมพันธี์ทางการคำ้ากับจนในระบบบรรณาการ ั � ่ สืมย่อำย่ธีย่านบต่งแต่การสืถุาปนากรงศรอำย่ธีย่า พ.ศ. ๑๘๙๓ ่ ั ่ ั ้ ่ ั ่ ็ ึ เรอำย่มาจนถุงราว พ.ศ. ๒๑๖๓ อำนเปนปสืดัทาย่ขอำง ื ี ้ � ็ สืมเดัจพระเอำกาทศรถุ รวมระย่ะเวลัาประมาณ ๒๗๐ ป ี ้ ั อำย่ธีย่าไดัสืงคำณะทต่บรรณาการอำอำกไปจนรวมถุง ๔๖ คำร�ง ้ ึ ้ ่ ่ ่ เฉลั้ย่ประมาณ ๕ ปเศษ เกอำบ ๖ ปต่่อำคำรัง ซึ่งไมนบรวม ั � � ึ ี ื ี � � ื เรอำสืาเภาคำ้าขาย่ขอำงเอำกช้นท�มากกว่านห้ลัาย่สืิบเทา ้ ่ ำ ้ � ั ่ แลัะในช้วงปลัาย่กรงศรอำย่ธีย่า ต่งแต่รช้สืมย่ขอำงพระเจา ้ ่ ้ ่ ั ่ ั ้ ิ ทรงธีรรมท�เร�มใน พ.ศ. ๒๑๖๓ เป็นต่้นมา จนถุึงประมาณ พ.ศ. ๒๒๕๒ ห้รอำต่รงกบรช้สืมย่ขอำงพระเจาเสือำห้รอำ ั ้ ั ั ื ื ื ่ ี ่ ้ � ิ ้ ขนห้ลัวงสืรศักดั รวม ๘๙ ป มการสืงคำณะทต่บรรณาการ ั ี ่ � � ื ี ่ ้ ั � ั ้ การเสียดินแดนไทยแก่ฝรั่งเศส และอังกฤษ ๑๓ คำรง เฉลัย่ ๖ ปเศษ เกอำบ ๗ ปต่อำคำรง แมวาต่วเลัขขอำง ้ ิ ์ ่ ้ ั ่ การสืงคำณะทต่บรรณาการขอำงกษต่รย่อำย่ธีย่าไมสืงมาก ่ ่ ่ ิ � ้ แต่่การคำาภาคำเอำกช้นกลัับเจรญี่รงเรอำงเปนอำย่่างย่ง ็ ิ ื นาวิกศาสตร์ 75 ปีที่ ๑๐๖ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

ั ่ � ่ ้ ั ้ ่ ั ้ ็ ้ ิ � ้ � ื ห้ลังจากเสืย่กรงศรอำย่ธีย่ากบพมาในคำรงท ๒ เมอำ พ.ศ. ๒๓๑๐ แลัะสืมเดัจพระเจาต่ากสืนมห้าราช้ไดักอำบก ้ ้ ั ้ ั เอำกราช้ไดั้แลัว การแกปญี่ห้าอำนดับแรกขอำงสืมเดั็จพระเจาต่ากสืินมห้าราช้ คำือำ เรอำงปากท้อำง ดังนน ทรงรบสืงเรอำสืาเภา ำ ่ ื ้ ั ้ � ั ้ ื ั � ่ ั ้ ิ ั � ราช้ท้ต่ไปย่งจ้น โดัย่อำาศย่ร้ปแบบการคำาในระบบบรรณาการต่ามแบบสืมย่กร่งศร้อำย่ธีย่าดัังเดัม แลัะใน พ.ศ. ๒๓๒๐ ั ำ ้ ั ้ ่ ้ ทรงไดัรบอำน่ญี่าต่จากฝ�าย่จ้นให้้สืงคำณะท้ต่บรรณาการจากไทย่ไปจ้นไดั สืมเดัจพระเจากร่งธีนบ่ร้ไดัใช้้วธีการคำาสืาเภา ้ ิ ้ ็ ้ � โดัย่อำาศย่ร้ปแบบการคำาในระบบบรรณาการกบจ้นเพือำห้าราย่ไดัมาจ่นเจอำภาย่ในกร่งธีนบ่ร้ ั ั ้ ้ ื ั ี ึ ึ ั ั � ็ � ต่่อำมาคำรังสืมย่รช้กาลัท้ ๑ จนถุงรช้กาลัท้ ๓ ใน พ.ศ. ๒๓๒๕ ถุง ๒๓๙๔ เปนเวลัา ๖๙ ป ไทย่สืงท้ต่ไปจ้น ๓๓ คำรั�ง ่ � � ในคำรงรช้กาลัพระบาทสืมเดัจพระจอำมเกลัาเจาอำย่ห้ว รช้กาลัท ๔ นน ไดัมการสืงคำณะราช้ทต่ไทย่เดันทางไป “จมกอำง” � ้ ้ ้ � ิ ้ ่ ั ั ้ ่ ั ้ ั ้ � ั ิ ้ ็ ิ ้ ั ื � ิ ั ่ ์ ้ ห้รอำเจรญี่พระราช้ไมต่รกับจน โดัย่ระบบการคำ้าแบบบรรณาการเป็นคำรงสืดัท้าย่ในประวัต่ศาสืต่ร์คำวามสืัมพนธีใน ้ ่ ั ลัักษณะนระห้วางไทย่กบจ้น � เรือสำาเภาจีน ซึ่งมาค้าขายกับชาติต่าง ๆ ้ ้ ่ ็ ้ ่ ต่อำมาใน พ.ศ. ๒๔๒๑ ห้ลัังจากทพระบาทสืมเดัจพระจลัจอำมเกลัาเจาอำย่ห้ว คำรอำงราช้ย่ไดัประมาณ ๑๐ ป ี ้ � ์ ั ้ ่ ิ ้ ้ ้ ั ื ้ ทางฝาย่จนไดัมห้นงสือำมาทวงแลัะเต่อำนให้ฝาย่ไทย่ดัาเนนการสืงคำณะราช้ทต่บรรณาการไปจนอำก ้ ื � � ำ ้ ้ ่ ็ � ำ ั ำ ้ ต่ามเดัิม เพอำย่นย่นอำานาจขอำงจน ซึ่งในขณะนนกาลังสืนคำลัอำน แลัะใน พ.ศ. ๒๔๒๕ พระบาทสืมเดัจ � ั ั ั � ื ื ึ � ั � ้ ์ ้ ้ ่ ้ ้ พระจลัจอำมเกลัาเจาอำย่ห้ว รช้กาลัท ๕ จงไดัมพระราช้สืาสืนปฏิเสืธีขอำผู้กพนคำวามสืมพนธีในรปแบบบรรณาการ ่ ั ้ ้ ั ิ ึ ์ ้ ้ ั ั ั ์ ่ ้ ้ ิ ึ � ิ ื � ็ ่ ิ ้ ี � ั ้ ่ ้ กบจน จงถุอำวา พ.ศ. ๒๔๒๕ เปนปทสืนสืดัคำวามสืมพนธีทางการคำาในรปแบบบรรณาการกบจนอำย่างสืนเช้ง ั ั นาวิกศาสตร์ 76 ปีที่ ๑๐๖ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

ิ ้ ิ ั ำ ์ ้ ำ ่ � ั ้ ั ิ แต่มไดัเกดัขอำพพาทบาดัห้มางใดั ๆ กน ต่รงกนขามรปแบบการคำาสืาเภาแลัะกาปนย่นต่ขอำงภาคำเอำกช้น ้ ้ ำ ำ ื � ื ็ ้ ั ั ้ ิ ิ ่ ้ ิ � � กลับเจรญี่รงเรอำงมากย่งขน การคำาขาวขอำงไทย่ดัาเนนไปอำย่างเปนลัาเปนสืน เนอำงจากจนจาเปนต่อำงขอำซึ่อำ ึ ื � ้ ำ ่ � ็ ็ ่ ื ็ ้ � ็ ั ้ ่ ขาวจากไทย่ ต่ลัอำดัเวลัาบรรดัาพอำคำาจ้นท้เดันทางมาจากเมอำงจ้นกไดัเปลั้ย่นสืถุานะเปน “เจาสืว” เปนเจาขอำงกจการ ิ ้ ็ � ิ ้ ้ ั ้ ็ ั ื ้ ั ิ � ้ ั ั ่ เจรญี่มงคำงรงเรอำง บางคำนกเขารบราช้การไปพรอำม ๆ กบการทาการคำา ไดัรบพระราช้ทานบรรดัาศกดัแลัะสืบสืกลั ื � ิ ั ่ ้ ่ � ำ ั ้ เจรญี่กาวห้นามาจนปจจ่บนน ้ � ั ้ ิ ้ ็ ้ � ำ ์ � ื ่ ำ ั ้ สืาห้รบการคำาผู้านราช้ท้ต่บรรณาการ ห้รอำจิมกอำง นัน สืมเดัจพระเจาบรมวงศเธีอำ กรมพระย่าดัารงราช้าน่ภาพ ้ � ้ ั � ่ ิ ้ � � ท้ไดัทรงอำธีบาย่เก้ย่วกบเรือำงนไววา ้ ่ ่ “...เหตุที่เมืองไที่ยจะเป็นไมืตุรี่กับกัรีงจนนน เกัดแตุดวยเรีองกัารีไป็มืาค้าขายถึงกันที่างที่ะเล เมืองไที่ยมืสินค้า ้ ื � ั ั ่ ุ � � ื ิ ็ ิ ่ ั ึ ื ุ ้ ็ ่ ่ � ั � ึ ุ ่ ้ � หลายอยาง ซึ่งเป็็นของตุองกัารีในเมืืองจ่นแตุโบรีาณมืาเหมืือนกัับที่กัวนน่ เมืืองจ่นกัมื่สิินค้้าหลายอยางที่่ไที่ยตุองกัารี ้ ่ � ่ เหมืือนกััน กัารีไป็มืาค้้าขายกัับเมืืองจ่น... ไที่ยไดผลป็รีะโยชนมืากั แตุป็รีะเพณ่จ่นในค้รีังนัน ถึาเมืืองตุางป็รีะเที่ศไป็ ์ ้ � ้ ุ ้ ่ ้ ึ ่ ้ ้ ้ ่ ้ ค้าขาย ตุองมืเค้รีองบรีรีณากัารีไป็ถึวายพรีะเจากัรีงจนจงป็ลอยใหค้าขายไดโดยสิะดวกั เพรีาะเหตุนจงมืป็รีะเพณ ่ ึ ่ ื � ่ � ุ ุ ิ ื ่ ่ ั ึ ้ ิ ุ ่ ่ ที่ถึวายบรีรีณากัารีแกั่พรีะเจากัรีงจน ไมืแตุป็รีะเที่ศเรีา ถึงป็รีะเที่ศอนกัอยางเดยวกัน ค้วามืจรีงบค้ค้ลตุางชาตุกัน � ั � ็ ่ ่ ่ ั ้ จะมืชาตุใดที่รีกัใค้รีชอบพอกันยืดยาวมืาย�งกัวาไที่ยกับจนนไมืเหนมื ดวยไมืเค้ยเป็นศัตุรีกัน เค้ยแตุไป็มืาค้าขายแลกั ้ ่ ่ ่ ่ ั ่ ู ็ ั ่ ่ ิ ่ � ็ ิ ่ ่ � ั ้ ่ ั � ั ั � ่ ู ี ่ ็ ั � ึ ้ ั ุ ผลป็รีะโยชน์ตุอกันมืาได้เลยรีอยป็ ค้วามืรีสิึกัที่งสิองป็กัตุิ จงเป็นอันหนงอนเดยวกันมืาแตุ่โบรีาณจนตุรีาบเที่่าที่กัวนน...” ึ ิ ิ ้ ่ ้ ั ่ ดัังนั�น การต่ดัต่่อำม้คำวามสืมพนธีกบจ้นกคำอำวาจ้นไดัใช้้ Soft Power โดัย่การคำาขาย่สืนคำาแลัะเผู้ย่แพรอำารย่ธีรรม ้ ็ ์ ื ั ั ้ � ั ำ ็ ้ ่ ้ ิ มาย่งสืย่ามโดัย่เปนการกระทาฉนมต่ร มไดัม้การกาวราว แลัะจอำงจะย่ดัคำรอำงประเทศอำืน ดัังเช้น ช้าต่ต่ะวนต่กซึ่งจอำง � � ึ ั ิ ้ ั ิ ้ ึ ่ � ั ้ � ำ ิ จะต่กต่วงผู้ลัประโย่ช้นจากประเทศท้ดัอำย่กวา โดัย่ใช้้ทัง Soft Power แลัะ Hard Power เขาดัาเนนการ ้ ์ การใช้้ Soft Power ในปััจจบััน ุ ิ ่ เนื�อำงจากคำวามเจรญี่ขอำงโลักแลัะประเทศต่่าง ๆ ม้มากขึน ดัังนัน ห้ลัังจากสืงคำรามโลักคำรั�งท้ ๒ จนกระทังการย่ต่ ิ � � � � สืงคำรามเย่นระห้วางสืห้รฐอำเมรกากบสืห้ภาพโซึ่เวย่ต่ การใช้กาลังเพอำทาสืงคำรามขนาดัให้ญี่กแทบจะไมเกดัขน ็ ำ ่ ็ ื � ั ั ้ ั ึ ่ � ่ ิ ิ ้ ำ ็ ั ิ ่ ็ ่ � ั ็ ่ ำ แต่่อำย่างไรกต่ามการใช้้ Hard Power กย่งคำงม้อำย่้ท่กประเทศโดัย่เฉพาะอำย่างย่งประเทศมห้าอำำานาจ กย่งสืะสืมกาลััง ้ ทห้ารเพื�อำเปนอำำานาจต่่อำรอำงทางดัานการท้ต่ ็ ่ ิ ่ ั � แต่่การใช้้ Soft Power กย่งม้อำย่างต่่อำเนือำงแลัะเพิ�มขึน มห้าอำำานาจ เช้น สืห้รฐอำเมรกา กใช้้ Soft Power ให้้เปน � ็ ็ ั ็ ประโย่ช้นโดัย่การประช้าสืมพนธีห้รอำใช้กาลังทห้าร โดัย่อำอำกมาในรปแบบขอำงการแลักเปลัย่นบคำลัากร การฝกรวม แลัะ ์ ั ้ � ่ ั ื ึ ์ ั ่ ้ ้ ำ กองเรือบรรทุกเครื่องบิน แสดงถึง Hard Power นาวิกศาสตร์ 77 ปีที่ ๑๐๖ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

์ ื ิ ื ่ ิ ื ั ึ ่ ้ ้ โคำรงการช้่วย่เห้ลัอำดั้านมนษย่ธีรรม เพอำแสืดังภาพพจนต่ัวเอำงให้ดั้ข�น รวมท�งให้ช้าต่อำ�นเป็นมต่รแลัะสืนับสืนนการใช้ ้ � ็ ้ ั ่ ื � ่ ์ ่ ื ็ � สือำต่าง ๆ โดัย่เฉพาะสือำโทรทศน จะเห้นไดัจากการใช้สืถุานโทรทศนต่าง ๆ เช้น CNN เปนเคำรอำงมอำแพรขาวในแงมมให้ ้ ่ ื ์ ้ � ่ ่ ื ้ ่ ั ั ิ ่ ่ ่ ช้าวโลักเห้นวาศต่ร้ขอำงสืห้รฐอำเมรกา คำอำ คำนช้ัวราย่ ย่กต่วอำย่างเช้น สืงคำรามอำรก CNN กอำอำกมาประโคำมขาววา อำรก ื ั ็ ั � ้ ิ ่ ั ิ ั ็ ่ ์ ้ ่ ื ่ ั ้ ่ � คำรอำบคำรอำงอำาว่ธีนิวเคำลั้ย่ร ม้อำาว่ธีเคำม้ช้วะ แลัะเป็นอำันต่ราย่ต่อำโลัก เพอำห้าเห้ต่เข้าโจมต่แลัะจับกมประธีานาธีิบดั้ ซึ่ดัดััม ่ ิ ้ ิ ่ ั ฮสืเซึ่น จนกระทงถุกศาลัขอำงอำรกต่ดัสืนประห้ารช้วต่ แต่ภาย่ห้ลังจงทราบวา อำรก โดัย่ ซึ่ดัดัม ฮสืเซึ่น ไมมอำาวธีนวเคำลัย่ร ์ ้ ิ ั ่ ้ ิ ่ � ั ั ั ้ ่ ึ ิ ั ั ่ ิ ั ้ ็ ่ ั ่ ิ ั ้ ้ ็ ้ ่ แลัะอำาวธีเคำมช้วะในคำรอำบคำรอำง แต่ประธีานาธีบดั ซึ่ดัดัม ฮสืเซึ่น กต่าย่ไปเสืย่แลัว แลัะสืห้รฐอำเมรกากสืามารถุ ้ ้ ่ ั � ำ ั ั ้ ่ ื ิ ้ ิ ั ่ ็ ้ คำรอำบคำรอำงบอำนามนขอำงอำรกไดัต่ามต่อำงการ ห้รอำแมแต่วฒนธีรรมการกนอำย่ สืห้รฐอำเมรกากเผู้ย่แพรอำาห้ารขย่ะ (Junk ่ ิ ั ็ ็ ้ ั ้ Food) เช้น แมคำโดันลั ทาให้วย่รนไทย่ห้รอำคำนไทย่ เปลัย่นวฒนธีรรมการกนต่ามไปดัวย่ ทางดัานภาพย่นต่รฮอำลัลัวดักเปน � ้ ิ ้ ่ ั ำ ้ ์ ้ ื ่ ่ ั ิ ้ ิ ำ ้ ิ ั ้ ต่วการสืาคำญี่ให้เกดัการคำรอำบงาทางดั้านวฒนธีรรม นอำกจากสืห้รัฐอำเมรกาแลัวช้าต่อำน ๆ กมการใช้ Soft Power ้ ็ � ั ำ ื ิ ั ่ ์ ิ กนอำย่างกวางขวาง ช้าต่ต่ะวนต่ก เช้น อำงกฤษ ฝรังเศสื กใช้้สืือำโทรทศน วทย่ ห้รอำต่ังสืถุาบนต่่าง ๆ ในประเทศต่่าง ๆ ั ้ ั ั ่ ื ั � ็ ่ � � � � � ั ็ ่ ้ ่ เช้น British Council เปนต่น ในสืวนขอำงจ้นม้การต่ังสืถุาบนขงจือำขึนในประเทศต่่าง ๆ รวมทังประเทศไทย่ เพื�อำเปน ็ � ้ � � ่ ั ั ต่วกลัางในการเผู้ย่แพรวฒนธีรรม รวมทังการช้วย่เห้ลัอำทางดัานมน่ษย่ธีรรมให้้กบประเทศต่่าง ๆ ท้ย่ากจน โดัย่เฉพาะ ื ่ ั อำย่่างย่�งประเทศในแอำฟริกา ไม่ใช้่เท่าน�น ขณะนวย่รนไทย่นอำกจากจะคำลั�งไคำลัวัฒนธีรรมต่่างช้าต่ิเช้่นต่ะวันต่กแลั้ว � ้ ั ิ ่ ่ ั ้ ั ื ้ ้ ั ่ ่ � ้ ้ ั � ่ ประเทศในเอำเช้้ย่ เช้น เกาห้ลั้ ญี่ปน เรากไมลัะเวน วย่รนไทย่คำลัังไคำลัทังดัาราเกาห้ลั้ ห้รอำแมกระทังนกรอำงวงดันต่ร้ ่ ้ ่ � ็ � � � ่ ้ ์ จากแดันกมจ รวมทังภาพย่นต่รเกาห้ลั้ ญี่ปน จ้น กไมลัะเวน ขณะท้ Soft Power ขอำงไทย่ เช้น มวย่ไทย่ อำาห้ารไทย่ � ่ ็ � ่ ิ � ิ ้ การแสืดังขอำงไทย่กเริมม้การพ้ดักนอำย่างกวางขวาง แต่่แทจรงแลัวย่งไมม้การต่ังห้นวย่งานมากากบดั้แลั แลัะเผู้ย่แพร ่ ่ ั ำ ั � ่ ิ ้ ็ ั ้ ้ � ่ ้ ็ ่ อำย่างเปนร้ปธีรรมเช้นจ้น ซึ่งผู้้เข้ย่นเกรงวาต่่อำไปกจะเลัอำนห้าย่เห้มอำนไฟไห้มป�าในท้สื่ดั ื � ่ � ึ ็ ่ ื ้ การฝึกร่วมการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม ่ ้ ้ � ็ ่ � ึ � ดัังนั�น จะเห้นไดัวา ขณะน Soft Power เขามาม้บทบาทแลัะขย่าย่ขอำบเขต่ย่ิงกวา Hard Power ซึ่งพวกเราคำวร ้ ั ้ จะต่ระห้นกแลัะห้าทางแกไขโดัย่เรว ็ นาวิกศาสตร์ 78 ปีที่ ๑๐๖ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

ุ สรปั ั � ้ ่ ิ � ิ � ้ � ิ ็ ็ � จากววฒนาการแลัะคำวามเจรญี่ขอำงโลักทเปลัย่นแปลังไปอำย่างรวดัเรว Soft Power กาลังเปนสืงทนากลัวทจะคำรอำบงา ำ ่ ้ ั ำ ้ ั ้ ิ ้ ั � � ึ ่ ั ่ ั ั ั ั ้� จต่ใจแลัะเปลัย่นแปลังคำนไทย่โดัย่ไมรต่ว ดังนน ช้าวไทย่คำวรจะต่ระห้นกถุงภย่คำกคำามนอำย่างจรงจง โดัย่การปรบต่ว ั ั ิ ่ ้ ำ ้ ้ ้ ื � ั พย่าย่ามอำย่่าให้วัฒนธีรรมต่่างช้าต่ิเข้ามาคำรอำบงา ขณะเดั้ย่วกัน คำวรจะต่�งห้น่วย่งานโดัย่เฉพาะให้มาดัแลัในเรอำงน ้ � ิ ่ � รวมทงประช้าช้นต่อำงช้วย่กนเสืรมสืรางแลัะฟนฟวฒนธีรรมขอำงเรา แลัะเผู้ย่แพร Soft Power ขอำงเราบาง อำย่าเปนทาสื ั ั ื ้ ็ ้ ่ ั ่ ้ ้ � ่ ำ ่ ้ ิ ่ ั ้ ำ ั ้ ั ้ ทางดัานวฒนธีรรม แลัะถุกคำรอำบงาโดัย่งาย่ อำย่างไรกต่าม แมวาในปจจบนจะมการดัาเนนการเกย่วกบ Soft Power แลัว ็ ั ้ ่ � ้ ึ � ิ ำ ้ ้ ั ่ ็ ็ � ้ ็ ำ ื Hard Power ห้รอำกาลัังทห้ารท้�เขมแขง กคำวรจะต่อำงดัาเนนการคำวบคำ้กนไปดัวย่ ซึ่งนอำกจาก Hard Power ท้เปน ื ึ ้ ื ำ ั ้ ำ ิ � ึ ั ั ้ � ้ กาลังทห้ารแลัว Hard Power อำกอำย่างห้นงกคำอำ การคำรอำบงาทางเศรษฐกจ ซึ่งเรอำงนต่อำงพงระวงให้จงห้นก ทงน � ้ � ึ ่ ้ � ็ ั � ้ ำ การใช้ Hard Power กย่งไมมวนห้มดัไป เพอำเปนอำานาจต่อำรอำงทาให้เกดัการเจรจากนต่อำไป ต่ราบใดัทแต่ลัะช้าต่ ิ ิ ้ ั ่ ่ ้ ่ ำ ้ ั ่ ั ็ ็ � � ื ึ ั ำ ึ ่ ็ ิ ์ ย่งคำำานงถุงผู้ลัประโย่ช้นแห้งช้าต่ขอำงต่นเปนสืาคำญี่ ั ้ ำ � � ์ ุ ั ั ้ � ึ ิ ั หมายเหติของผู้้เขยน เนือำงจากปจจ่บนนม้การพ้ดัถุงประโย่ช้น ขอำดั้ แลัะการดัาเนนการเก้ย่วกบ Soft Power ี ้ ำ อำย่างกวางขวาง จงไดันาเสืนอำการดัาเนนการ Soft Power ในอำ้กม่มมอำงห้นึงวาคำวรจะต่อำงระมดัระวงอำย่่างไรบาง ิ ้ ั ั � ำ ้ ้ ้ ึ ่ ่ เอกสารอางอง ้ ิ ิ ิ ั ิ ่ ์ ั ั คำวามรในประวต่ศาสืต่ร เลัม ๑ ฉบบราช้บณฑต่ย่สืถุาน. (๒๕๕๔). กร่งเทพฯ : ราช้บณฑต่ย่สืถุาน. ั ้ ้ ื นาย่ทอำงพบ (เผู้าทอำง ทอำงเจอำ). (๒๕๕๕). พาช้มอำาห้ารอำรอำย่ ต่ามรอำย่ต่านานเกา เลัาเรือำงจ้นในไทย่. ั ่ ำ ่ ่ ่ � ิ ิ ั กร่งเทพฯ : สืย่าม เอำมแอำนดั บ้ พบลัช้ช้ิง. � ์ ็ ์ ิ วรษฐ ลัิมทอำงก่ลั. (๒๕๕๒). China Vision มงกรฝ�าวกฤต่. ผู้้จดัการ ๓๖๐. ิ ั ั � ้ Joseph S. Nye, Jr. (๒๐๐๔). Soft Power : The Means to Success in World Politics. //en.wikipedia.org/wiki/Gunboat_diplomacy. //www.telegraph.co.uk/news/uknews/defence/9104170/Gunboat-diplomacy-works-says- head-of-Royal-Navy.html. นาวิกศาสตร์ 79 ปีที่ ๑๐๖ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

่  ั ื ่ weather deck ดาดฟาเปด บรรดารายชอของนายทหารเรอองกฤษทผาน ี ื  ั ่ ั  ุ  ั ื ู ั   ดาดฟาบนสุดหรือดาดฟาทีเปดออกสูภายนอกเรือ การคดเลอกและรอการบรรจใหเปนผบงคบบญชาหนวย ในทะเล (command at sea) wetting ship weather guesser คาสแลงทใชเรยกนายทหารอตนยมวทยา (the ิ ุ ิ ุ ี ํ  ่ ี Meteorological Officer หรือ the Met Officer) weekend warrior คําสแลงใชเรียกกําลังพลสํารองของทหารเรือ wet a stripe  ื ่ ึ สแลงชาวเรอ หมายถง การดมฉลอง เชน นายทหาร ื ่ ่ ทีไดรับการเลือนชันยศใหม นิยมใชในราชนาวีอังกฤษ ้ wet behind the ears ี ี ่ ั ิ ั ี ั ํ คาสแลงในราชนาวองกฤษ หมายถง ทหารใหม  กระบวนการอตโนมตทฉดนาทวลาเรอภายนอก ํ ื ้ ํ ั ึ ่ ่ ้ (green sailor) ดวยนําทะเล เพือขจัด หรือลดกัมมันตรังสี หรือสารเคมี สวนในกองทพเรอสหรฐอเมรกานยมใช wet down ทีตกลงสูเรือ ิ    ื ั ั ิ ่ wet as a mess deck scrubber whale boat เรือไว ่ สํานวนทีใชในความหมายไรประโยชนอยางสินเชิง  ้ wet List ั ็ ื เรอเลกเหมาะกบทะเลทมคลนลม เนองจากหวเรอ ่ ื ั ื ่ ่ ี ี ื  ่ ื ู ื ี ้ ั ี และทายเรอสง เรอประเภทนเดมขบเคลอนดวยกระเชยง  ิ ื ็  ั ื   ั ่ หรอใบเรอ ตอมาไดรบการพฒนาเปนเครองยนตขนาดเลก ื ื  นาวิกศาสตร 81 ปที่ ๑๐๖ เลมที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

whistle ship’s หวูดเรือ wind your neck! หุบปาก

ี ้ ั   ิ ้ ื ํ  ั ุ ุ อปกรณสงเสยงโดยใชไอนา หรออากาศ มกตดตง ความหมายเดียวกันกับ shut up หยดพูด หรือเงียบ บริเวณปลองหนาของเรือ และฟง ้  white hat นายทหารชันประทวน windward ทวนลม สูลมหรือตานลม

 เมอเปนสานวนมความหมายแตกตางออกไป เชน ่ ํ  ี  ื  ั ั ี “getting windward of someone” มนย ไดรบประโยชน  คาสแลงในกองทพเรอสหรฐอเมรกา หมายถง นายทหาร บางอยางจากคนนัน ิ ึ ั  ํ ้ ั ื ี ํ  ี ่ ั ี  ้ ชนประทวน สวนในราชนาวองกฤษคาทใชเรยกรวม wipe out ั ่ นายทหารตํากวาสัญญาบัตร คือ lower deck ่ ี ํ ื ุ  คาสแลงทใชแทน drunk เมาสรา หรอบางโอกาส wind bird เครืองวัดกําลังลม หมายถึง เหนือย ่ ่  wooden คําสแลง หมายถึง ทึม โงเงาเตาตุน ่ ี ี ่ หรออกชอหนงเรยกวา อะนโมมเตอร (anemometer) ิ  ื ่  ื ึ ี นาวิกศาสตร 82 ปที่ ๑๐๖ เลมที่ ๗ ก รกฎ าคม ๒๕๖๖ ปที่ ๑๐๖ เลมที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

นาวิกศาสตร 83 ปที่ ๑๐๖ เลมที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

นาวิกศาสตร 84 ปที่ ๑๐๖ เลมที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖ ปที่ ๑๐๖ เลมที่ ๗ ก รกฎ าคม ๒๕๖๖

่ จริิยธริริม เริอง ริจกนิิสััยคนิกบงานิริาชการิ ั � ั ้ � ิ ้ ี ี � � ำ ั ุ ้ ้ � ิ � ิ สวัสดีครับสมาชิกผู้ติดีติามรัายการับทควัามธรัรัมะ “ข้อคดีปลูกจิติสานึกจิรัยธรัรัม” ทก ๆ ทานึ ติลูอดีจินึผู้ทสนึใจิทงหลูาย ่ ั ั ิ ิ � ึ ้ ่ ็ � ุ ึ � ั ี ั ำ เนึอหาแหงจิรัยธรัรัมซึ่งไดี�นึามาจิากหนึงสอ “หลูกรัาชิการั” ทพรัะบาทสมเดีจิพรัะมงกฎเกลู�าเจิ�าอยหวั ทรังพรัะรัาชินึพนึธไวั� ิ ์ ้ ่ � ้ ั ิ ำ � � ั � ำ ำ ำ ั � ซึ่งไดี�นึามาเสนึอแลูะทาควัามเข้าใจิมาติามลูาดีบ ในึครัังนึีข้อนึาเรั้อง “การัรัจิกนึสยคนึ” มานึาเสนึอ ึ � ้ � ำ ิ ั ่ ั ั มนึุษย์เปนึสติวัสังคม จิะติ�องมีการัอย่รัวัมกนึ มีการัปฏิิบัติิหนึ�าที�การังานึรัวัมกนึ ติลูอดีถึึงมีปฏิิสัมพนึธในึกจิกรัรัม ั ์ ิ ์ ้ ่ ็ ั ั ั ึ ิ ้ ั ี � � � � ่ ี ่ ์ ์ ั ติาง ๆ รัวัมกนึ ดีงนึนึ การัศึกษาเรัยนึรันึสยข้องกนึแลูะกนึ จิงเปนึสงทมปรัะโยชินึเพรัาะจิะไดีใชิสรัางควัามสมพนึธอนึดี ี � ั ั ี ิ ั ็ ึ ั � � ั ึ ั ั � ้ ้ ั ่ ้ ี ่ ิ � ี ั � ิ ติ่อกนึ เข้าใจิในึชิวัติควัามติองการัข้องกนึแลูะกนึ ซึ่�งจิะก่อใหเกดีควัามรัักใครั เคารัพเชิ�อถึอ มีควัามสามัคคชิวัยเหลูอกนึ ั ้ ิ ำ ่ ่ ่ ั ไมเกดีปญหาติอการัอย แลูะทางานึรัวัมกนึ ่ ั ำ ั ่ ่ ั ั ิ ั คาวัา นึสย ในึพจินึานึกรัมฉบบรัาชิบณฑิิติยสถึานึ ไดี�ให�ควัามหมายไวั�วัา ลูกษณะข้องควัามปรัะพฤติิ หรั้อปฏิิบติิ ุ � ิ ั ี ิ ิ จินึเปนึปกติเคยชินึ เชินึ มนึสยทเปนึคนึตินึสาย เปนึตินึ แลูะในึควัามหมายทางพทธศึาสนึา หมายถึง เปนึลูกษณะข้องกเลูส ้ � � ็ ็ ็ ็ ิ ่ ึ ี ั ุ ิ ี � ี ้ ้ ั ์ � ิ � ี ั ี ำ � ึ � ปรัะเภทหนึงทนึอนึเนึองอยในึสนึดีานึ ดีงนึนึ การัเรัยนึรันึสยข้องคนึจิงเปนึสงทสาคญ มปรัะโยชินึในึการัศึกษาเข้าใจิคนึ ึ ็ � ึ � ั � ่ ั ั ้ ำ � ้ ้ � ึ � ิ ี � � � ั ่ � � ้ � � ้ ่ ี ั ำ ใชิในึการัสอสารั การัทางานึอย่รัวัมกนึ แลูะการัใชิชิวัติทจิาติองเกยวัข้องติอกนึ เพรัาะเมอไดีรัถึงนึสยข้องกนึแลูะกนึแลูวั � ี ั ิ ั ั ั ี ่ ิ � ำ ็ � ำ ็ ั การัเติรัยมการั การัปรัับติวัเข้าหากนึ จิะเปนึสิงทีไมข้ดีใจิกนึ หรั้อจิาเปนึกจิะทาให�ผู้ดีใจินึ�อยทีสดี ติามสานึวันึไทยทีวัา ็ ั � ่ ุ ั � ำ � เอาใจิเข้ามาใสใจิเรัา เปนึติ�นึ ่ ็ ้ ั � ิ ์ ุ ั ้ ั ่ ี ึ พรัะพทธเจิาทรังหยงรัถึงนึสยข้องคนึ ทรังแสดีงถึงลูกษณะนึสยข้องคนึไวั หรัอเรัยกติามศึพททางศึาสนึาวัา จิรัติ ๖ � ั ิ � ิ � ึ ั กลูาวัค้อ ่ ี ี ั ็ ั ๑. รัาคจิรัติ หมายถึง จิรัติข้องคนึทมอารัมณหนึกไปในึทางรักสวัยรักงาม ชิอบควัามเปนึรัะเบยบเรัยบรัอย ชิอบควัามสะอาดี ิ ี ิ ึ � ี ั ์ � ิ ิ ั � ั ั ี ปรัะณติ ดีงนึันึ ถึ�าจิาเปนึจิะติ�องเกียวัข้องกบบคคลูรัาคจิรัติ จิะติ�องรัะวััง เรัยนึรั แลูะปฏิิบติิติามลูกษณะนึสยดีงกลูาวั � ็ ั ้ � ั ั ี ุ ่ � ำ ุ � ข้องบคคลูนึันึดี�วัย ี ์ � ิ � ี ๒. โทสจิรัติ หมายถึง จิรัติข้องคนึทมอารัมณหนึกไปในึทางโทสะ มกโกรัธงาย เจิาอารัมณ อะไรันึดีอะไรัหนึอยกโกรัธ ิ ิ ั ์ ็ ่ ั ึ ่ ถึาจิะติองเกยวัข้องกบบคคลูโทสจิรัิติ จิะติองเป็นึคนึคลูองแคลูวัวัองไวั เข้าใจิแลูะอดีทนึติ่ออารัมณ์โกรัธไดี เปนึคนึ � � ่ ่ ุ ี ็ ั ่ � � � � � ่ ็ ั หนึกแนึนึ ใจิเยนึ ิ ่ ็ � ิ ็ ั ั ์ ็ ่ ๓. โมหจิรัติ หมายถึึง จิรัติข้องคนึทีหนึกไปในึทางลูุมหลูง ชิอบในึเรั้องทรััพยสมบติิ เกบเลูกเกบนึ�อย เหนึแกไดี� ็ � ำ ุ ชิอบเอารัดีเอาเปรัยบผู้อนึ การัจิะเข้าถึงบคคลูจิาพวักโมหจิรัติไดีนึนึ จิะติองเปนึคนึชิอบให เสยสลูะ ใจิใหญ โอบออมอารั ี � � ี ่ ้ � ี ั � ็ ิ � � ้ � � ึ ั ์ � ึ � ั ็ ั ิ ี ่ ิ ิ ้ ้ � ่ � ั ิ ิ ๔. วัติกจิรัติ หมายถึง บุคคลูผู้มอารัมณหนึกไปในึทางชิอบคิดี ติดีสนึใจิไมเดีดีข้าดี ไมกลูาติดีสนึใจิ มเรัองใหพจิารัณา ี ี � ิ ุ ิ ี ึ นึดีหนึอยจิะใชิเวัลูาไติรัติรัองเปนึเวัลูานึานึ การัจิะเข้าถึงบคคลูจิาพวักนึไดี จิะติองเปนึคนึใจิเยนึ ยอมเสยเวัลูาในึการัอธบาย ่ � ็ ่ � ็ � � ำ ็ มากหนึอย ไมรับรั�อนึ รัอไดี�คอยไดี� ่ ่ ี นาวิกศาสตร์ 85 ปีที่ ๑๐๖ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

ั ่ ่ � ่ ุ ์ ุ ่ ิ ิ � � ั ๕. สทธาจิรัติ หมายถึึง บคคลูที�หนึกไปในึทางอารัมณแหงควัามเชิ้อ แติเชิ้อโดียไมพจิารัณา เชิ้ออยางไรั�เหติไรั�ผู้ลู ุ � ็ ำ ุ ็ � � จิะเปนึคนึที�ถึ้กคนึอ้นึหลูอกลูวังไดี�งาย การัจิะเข้าถึึงบคคลูจิาพวักนึี จิะติ�องเปนึคนึเข้าใจิพ้ดี เข้าใจิอธบายเหติผู้ลู ิ � ่ � ๖. พทธจิรัติ หมายถึง บคคลูท�หนึกไปในึทางเจิาควัามคดี ปญญาดี มควัามเฉลูียวัฉลูาดี มีปฏิภาณไหวัพรับดี การัจิะเข้าถึง ี ิ ิ ิ � ี ี � ี ั ุ ึ ิ ั ุ ึ ิ ี ิ ั ุ ิ ั ี ุ ุ บคคลูพทธจิรัติไดี� จิะติ�องเปนึคนึมเหติผู้ลู มหลูกการัในึการัติดีสนึใจิ ิ ็ ้ ้ ั ั ิ ่ � � ้ ้ ในึหนึงสอหลูกรัาชิการั กลูาวัไวัวัา “ควัามรัจิกนึสยคนึ ข้อนึเปนึสงสาคญสาหรับผู้มหนึาทติดีติอกบผู้อนึ ไมวัาจิะเปนึผู้ใหญ ่ ่ � � ั ั ้ � � ั ่ � ี ิ � ้ � ำ ี ่ ั � � ิ ี ั ็ ็ ำ ่ � ิ ่ ้ ิ ์ หรัอผู้นึอย” ซึ่�งปรัะสงคจิะใหผู้�รัับรัาชิการัไดี�รัจิักเรัียนึรั�ถึึงนึสัยข้องคนึ เพรัาะจิะติองปฏิบัติรัาชิการัรัวัมกนึ ไดีเรัียนึรันึสย � ้ ้ ้ ั ้ � � � ิ � � ้ ั ิ ึ ้ � ิ � ั ั � ้ ิ ั � ้ ี ้ � ิ ั � � ์ ้ ั ั � ข้องผู้ใติบงคบบญชิา เพอปรัะโยชินึในึการัสงใหปฏิบติงานึ ไดีเรัยนึรันึสยข้องผู้บงคบบญชิา เพอปรัะโยชินึในึการัสนึอง ั ์ ั ั � ิ � ่ ้ � � ่ ่ ำ � ิ ิ ี ั ั � � ำ ้ ี ี นึโยบาย ติลูอดีถึงไดีเรัยนึรันึสยข้องคนึทจิะแติงติงใหดีารังติาแหนึงบรัหารัหนึวัย เพอใหเกดีควัามเรัยบรัอยติามปรัะสงคข้อง � ์ ึ � ุ ั ำ ่ ่ ิ ่ ั � ั ั ้ � ี ้ ทางรัาชิการันึนึ ๆ ถึอวัาสาคญ เพรัาะเกยวักบควัามเจิรัญรังเรัองข้องหนึวัยงานึ แลูะควัามสงบสข้ข้องกาลูงพลูภายในึหนึวัยงานึ ุ ำ ่ ิ ี ำ � ึ ี � ี ็ ้ � ั ี ้ � ึ ั ิ ี � ี ั จิงติองเลูอกคนึทมควัามรั มควัามสามารัถึ ในึข้อนึมนึกวัชิาการัไดีปรัะมวัลูถึง หลูกข้องคนึทมนึสยปรัะสบกบควัามสาเรัจิไวั � ั � ี � ั ๙ ปรัะการั ดีงนึี� ี � � ี ิ � ั ี � � ็ ั � ี � ี � ำ ่ ๑. กลูาทจิะเปลูยนึแปลูง หมายถึึง มควัามกลูาทจิะเปลูยนึแปลูงการับรัหารัหนึวัย ใหปรัะสบกบควัามสาเรัจิ คนึทวัไป ำ ี � � � � ั � � ี ี � กลูวัควัามลูมเหลูวั แติผู้�บรัหารัทดี จิะติองกลูาทจิะกาวัข้ามควัามลูมเหลูวัไปใหไดี จิงพรัอมทจิะเผู้ชิญกบควัามยากลูาบาก � � ี ้ ่ � ึ ิ ั ิ � � เปลูียนึแปลูงไปส้ควัามสาเรัจิ ่ � ็ ำ � ั � ี ิ ี ิ ิ � ั ๒. มีเป้าหมายในึชิวัติทชิดีเจินึ หมายถึึง มีเป้าหมายในึการัปฏิบัติิหนึาท มีการัวัางแผู้นึการัปฏิบัติิอย่างรัอบคอบ รัดีกุม ี ๓. กลูาเผู้ชิิญกับควัามลูมเหลูวัแลู�วัเรั�มติ�นึใหม หมายถึึง เปนึผู้�ไม่กลูวัติ่อควัามลูมเหลูวั โดียคดีวั่า ควัามลูมเหลูวัไม่ใชิ ่ ิ ้ ็ ิ � � ่ � ั � ำ เรัองลูะอาย แติควัรัลูะอายถึาไมกลูาจิะทาอะไรัเลูย ควัามลูมเหลูวัทาใหรัถึงวัธการัแกไข้ แลูะเรัมตินึใหม เพอไปสเปาหมาย ้ ้ � � ึ � � � ำ � ี � ้ ่ ่ ิ � ้ ิ � ้ ่ � ่ ่ � ิ ทีติังไวั� ทีดีีกวัาเดีม � � � ำ � ๔. มุงมันึในึควัามคดีจินึกวั่าจิะปรัะสบผู้ลูสาเรัจิ หมายถึึง เปนึคนึทีมีควัามเชิ้�อมันึในึตินึเอง จิะมุงมันึพยายามทีจิะ ่ � ิ ็ � ่ � ็ ็ ำ ้ ิ ำ ่ ดีาเนึนึไปส้เปาหมายควัามสาเรัจิให�จิงไดี� ้ ็ � ่ � ้ ์ ็ ิ ็ ์ ำ ั ิ ั ำ ิ � ็ ึ ้ � ้ ั ์ ั ๕. รับฟังคาวัจิารัณจิากคนึอนึ หมายถึง เปนึผู้รับฟังคาวัจิารัณข้องคนึอนึ โดียคดีวัาจิะเปนึข้อมลู เปนึปรัะโยชินึ เปนึแนึวัทาง ิ � ในึการัพจิารัณาหาแนึวัทางทีเหมาะสมอ้นึ ๆ ไดี� � ี ึ ิ ั � ิ ่ ี ั ็ ั ๖. มทศึนึคติเชิงบวัก มวัสยทศึนึกวัางไกลู หมายถึง เปนึผู้มควัามเหนึทกวัางไกลูไมคบแคบ แลูะเปนึผู้ทมทศึนึคติเชิงบวัก � ิ ์ ้ � ั ้ � ี ี � ี ิ ็ ั ็ � ี ิ ั ุ ำ ไมท�อแท�ท�อถึอย ซึ่งจิะเปนึการัให�กาลูงใจิในึการัพฒนึาฝ่่าฟัันึอปสรัรัคไปส้เปาหมายไดี� ็ ่ ่ ึ � ั ้ ำ ี ิ � � ี ็ ๗. มภาวัะควัามเปนึผู้้นึาส้ง หมายถึึง เปนึผู้้ทีสามารัถึนึาผู้้อ้นึให�ปฏิิบติิติามไดี� มควัามเชิ้อมั�นึในึแนึวัคดีข้องตินึเอง � � � ำ ็ � ั ้ ุ ่ แลูะพรั�อมทีจิะรัวัมม้อรัวัมใจิกบทกคนึ เพ้�อปฏิิบติิให�บรัรัลูผู้ลูติามเปาหมาย � ั ั ุ ่ ึ ั � ี ิ ้ ุ ั ั ิ � ี ๘. ใหควัามสาคญกบคนึอนึ หมายถึง ในึการัทางานึทกอยาง จิะติองมผู้รัวัมปฏิบติดีวัยเสมอ การัใหเกยรัติ ใหควัามสาคญ ่ ้ � ำ � � ิ � ั ำ � ำ ่ � ั ็ � ั ่ กบผู้้อ้นึ จิะเปนึการัสรั�างควัามสามคค เปนึการัเติิมพลูงให�ปฏิิบติิงานึรัวัมกนึ ั ี ั ็ ั ุ ำ ี ่ ิ ี � ั ั ิ ิ � ิ � � ๙. ดีาเนึนึชิวัติดีวัยควัามไม่ปรัะมาท หมายถึง การัปฏิบติงานึทกครัง จิะติองมข้นึติอนึในึการัวัางแผู้นึ มีการัไติรัติรัอง ั ึ ่ ให�รัอบคอบ เพ้�อไมให�เกดีควัามเสี�ยงติอควัามลู�มเหลูวั ่ ิ ์ � ั ิ ั ั � ั ั ิ ึ ้ ี ่ ิ � ี ำ ำ � ั ึ ั ุ ั � ้ ิ � ิ ดีงนึนึ การัรัจิกนึสยข้องคนึ จิงมควัามสาคญอยางมากในึการัปฏิบติรัาชิการั ทาให�รัถึึงวัธสรัางมนึษยสมพนึธใหเกดีข้นึ � ้ ้ ในึหมคณะ ไดีรัถึงนึสยแลูะแนึวัคิดีข้องแติลูะคนึวัามอย่างไรั เพอใหการัปรัะสานึงานึการัปฏิบติรัาชิการัรั่วัมกนึ ั ่ ้ ึ � ั ิ ั ่ ิ ี � ิ ่ � ำ ี ่ � ิ ่ ุ ุ ำ ่ ็ ่ ั ปรัะสบผู้ลูสาเรัจิ ไมมอปสรัรัคปญหา ติลูอดีถึึงสามารัถึเลู้อกบคคลูผู้้จิะดีารังติาแหนึงบรัหารัหนึวัยงานึไดี�อยางถึ้กติ�อง ำ ุ ์ ็ ำ � ุ เพ้อควัามสาเรัจิแลูะบรัรัลูติามวััติถึปรัะสงคข้องทางรัาชิการั นาวิกศาสตร์ 86 ปีที่ ๑๐๖ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

สหรัฐอเมริกา

ำ ิ ้ � ื กองทััพเรอสหรฐอเมรกา ทัดสอบการปล่่อยยานใต้้นาไรคนขัับจากเฮล่คอปเต้อร ์ ิ ั ้ ั ิ ้ กองทััพเรืือสหรืฐอเมรืกาได้้สาธิิตการืปล่่อยยานใตนาไรืคนขัับแบบ Teledyne Slocum Underwater Glider ำ � ู � ่ ำ � ่ ่ ็ ้ � จากทัางอากาศโด้ยใช้เฮล่ิคอปเตอรื์ MH-53E Sea Dragon ซึ่งเปนรืปแบบใหม่ขัองการืปล่อยยานใต้นาทัปกต ิ � ็ � ่ ำ � จะปล่่อยแล่ะเกบขั่นมาด้้วยเรืือผิิวนาเทัานัน ่ ำ ั ั � ื ิ ่ ่ � ่ ่ ิ ่ ื กองทัพเรือสหรืัฐอเมรืกา โด้ยหนวยเฉพาะกิจทั ๕๒ (TF-52) ซึ่งเปนหนวยตอตานทันรืะเบด้ขัองกองกาล่งทัางเรือ ็ ้ ่ ื ิ ภาคพนตะวนออกกล่าง กองบญช้าการืสหรืฐอเมรืกาสวนกล่าง (US Naval Forces Central Command : NAVCENT) � ั ั ่ ั ่ ์ ่ ิ ่ ่ ่ ั ่ � ื ้ � ่ � ิ ่ ่ ั ิ ิ ่ ู ่ ทัมพนทัรืบผิด้ช้อบอยในบรืเวณอาวเปอรืเซึ่ยแล่ะตะวนออกกล่าง หนวย TF-52 มภารืกจในการืตอตานทันรืะเบด้ในทัะเล่ ์ � เพือความปล่อด้ภยขัองเสนทัางคมนาคม ได้้แก ช้องแคบฮอรืม่ซึ่ ช้องแคบบบเอล่มนเด้บ แล่ะคล่องส่เอซึ่ ซึ่่ง TF-52 ่ � ั ั ้ ั ่ ่ ั ่ ิ ่ ้ ่ ้ ้ ิ ้ ่ ้ ่ ่ ื ่ ื ั ่ ้ � ั ิ ได้มงเนนในด้านเทัคโนโล่ยการืตอตานทันรืะเบด้ แล่ะพฒนาวธิการืตาง ๆ เพอรืกษาความปล่อด้ภยใหแกเรือสนคา ่ ทัจะตองเด้นทัางผิานบรืเวณนานนาด้งกล่่าว ่ ่ ั � ำ ่ � ้ ิ ิ ิ ำ การืทัด้สอบปล่อยยานสารืวจ Slocum ได้ด้าเนนการืรืะหวางการืฝึกทัางทัะเล่นานาช้าติ ๒๐๒๓ ในพนทั ่ � ึ ่ ่ ื � ำ ้ � ั ่ ้ ็ ั ์ � ่ ำ ตะวนออกกล่าง เมือหวงเด้อน ก่มภาพนธิ-ม่นาคม ๒๕๖๖ ทัผิานมา โด้ยเปนการืฝึึกรืวมกบกองกาล่งทัางเรืือภาคพืน ื ั ่ ั � ยโรืป-แอฟรืกา ม่เรืือรืบ ๓๕ ล่า แล่ะยานไรืคนขัับกวา ๓๐ ล่า เขัารืวมในการืฝึึก ซึ่่งม่การืทัด้สอบรืะบบยานไรืคนขัับ ่ � ้ ำ ้ ำ ่ ้ ิ ่ � ่ ์ ำ ั ำ ิ ้ ำ ่ ในสภาวะตาง ๆ แล่ะบรืษทั Teledyne ก็ได้นายานสารืวจ Slocum ทัด้สอบการืปล่อยล่งนาจากเฮล่ิคอปเตอรื MH-53 � ำ ่ ็ � � ำ � ์ ู ้ � ำ ทัความเรืวตาแล่ะความสงตา แล่ะปล่่อยยานล่งจากแรืมปทัายเครืืองล่งนา ำ � ้ ่ ำ ยาน Slocum เป็นยานสารืวจใตนาอัตโนมต ม่ขั่ด้ความสามารืถในการืสารืวจภมิปรืะเทัศแล่ะวัตถใตนา ได้้แก ่ ำ ำ ิ ั ้ ู � ู ั ขัอมล่ทัางสม่ทัรืศาสตรื เช้น อ่ณหภม ความเคม การืนาไฟฟา เส่ยงใตนา แล่ะการืรืวบรืวมภาพใตนา เพื�อจด้ทัาขัอมล่ ำ ู ้ ้ ำ ้ ้ ู ิ ็ ้ � ์ ำ ่ � ำ แผินทัแล่ะสภาพภมปรืะเทัศใตนา � ้ ่ ู ิ � ำ แหล่่งที่่มา : //www.navalnews.com/event-news/cne-2023/2023/06/us-navy-tests-air-deployment-of-underwater-glider/ � นาวิกศาสตร์ 87 ปีที่ ๑๐๖ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

ฟิล่ิปปินส์

� ิ ิ ่ ั ิ ่ � ั ิ ่ ิ ์ � การฝึึกปฏิิบต้การทัางทัะเล่ขัองหนวยยามฝึงฟล่ปปนส ญี่่ปน แล่ะสหรฐอเมรกา � ่ ่ ิ เมื�อวนทั ๒ มถ่นายน พ.ศ. ๒๕๖๖ ได้้ม่พธิ่เปด้การืฝึึกปฏิิบตการืทัางทัะเล่ รืะหวางหนวยยามฝึงฟล่ปปนส ญปน ่ � ่ ั ์ ่ � ิ ิ ั � ิ ิ ิ ิ ่ ่ ่ � ิ ิ แล่ะสหรืฐอเมรืกา ณ ทัาเรืือกรื่งมะนล่า ปรืะเทัศฟล่ปปนส โด้ยหนวยยามฝึงสหรืฐอเมรืกาได้้สงเรืือ USCGC Stratton ์ ั ่ ิ ิ ั ่ ิ ิ ึ แล่ะหนวยยามฝึงญปนได้สงเรือ Akitsushima เขัารืวมการืฝึกด้งกล่าว การืฝึกนมวตถปรืะสงคเพอเปนการืสรืางความรืวมมอ ื ้ ่ ้ ้ ั ื ึ � ็ ่ ์ ื ่ ่ ่ � ่ ั � ่ ่ ่ � � ่ ่ ั ิ รืะหวางช้าตพนธิมตรืในการืรืักษาความม�นคงทัางทัะเล่ในภูมภาค รืวมถงสนบสนนนโยบายอนโด้แปซึ่ฟก ิ ่ ่ ิ ิ ิ ่ ั ั ิ ื ั ้ ั ื ่ � ้ ่ ำ ่ ทัเปด้กวางแล่ะเสรื ปรืะกอบด้วยการืฝึกวางแผิน การืคนหาแล่ะช้วยเหล่อผิปรืะสบภย โด้ยใช้เรือ อากาศยาน แล่ะกาล่งพล่ ึ ิ ้ ู ้ ้ � จากหนวยยามฝึงสหรืฐอเมรืกา ๑๐๐ นาย หนวยยามฝึงฟล่ปปนส ๒๐๐ นาย แล่ะหนวยยามฝึงญปน ๗๐ นาย � ่ ่ ิ ์ � ่ � ิ ั ิ ่ ่ � ่ ่ ่ ิ ื ่ � ์ ์ � ิ ้ ่ � ึ ้ ิ ้ ิ ิ ื � ่ � ั ่ หวงเวล่าการืฝึกเรืมขันภายหล่งจากทัเกด้เหตการืณทัเรือยามฝึงจนได้เขัาสกด้กนเรือตรืวจการืณขัองฟล่ปปนส ์ � ่ ั ั ิ ่ ื ิ ่ ่ � ์ ื ื ้ � ื ่ ื ิ ิ ่ เมอหวงเด้อนทัผิานมา รืวมถงเรือยามฝึงจนได้มการืแล่นตด้ตามเรือรืบขัองกองทัพเรือฟล่ปปนส BRP Malabrigo ิ ่ ั � ่ ่ ้ ้ ้ ในรืะยะหางเพยง ๗๐๐ หล่าด้วย แตทัางการืจนได้ช้แจงวา เรือรืบฟล่ปปนสได้แล่นเขัาไปใกล่เขัตแนวปะการืง Ayungin Shoal ่ ้ ่ � ่ ่ ้ ่ ั ่ ้ ิ ์ ิ ่ ื ิ � ่ ้ ์ ิ ิ ่ ่ ิ ้ ่ ู ื ้ ้ ่ ื ำ ่ ่ ็ บรืเวณหมเกาะสแปรืตล่ย์ รืวมถงได้นาเรือเขัาไปใกล่เรือขัองจนด้วย อยางไรืกตาม หนวยยามฝึงฟล่ปปนสได้แถล่งขัาววา ิ ่ ่ ้ � ่ การืฝึึกน่ไมม่ปรืะเด้นทัเกยวขัองกบกรืณ่พพาทัด้งกล่่าว แตเปนการืฝึึกเพือเตรื่ยมความพรือมแล่ะพฒนาขั่ด้ความสามารืถ ้ � ็ ่ ่ � ่ ั ็ ้ � ั ิ ั ้ ่ ่ � ในด้้านการืคนหา ช้วยเหล่อผิูปรืะสบภย แล่ะการืรืกษากฎหมายในทัะเล่ขัองหนวยยามฝึงขัองทัังสามปรืะเทัศ � ้ ั ่ ั ื

� แหล่่งที่่มา : //www.navalnews.com/naval-news/2023/06/philippines-japan-and-us-coast-guards-start-maritime-drills/ นาวิกศาสตร์ 88 ปีที่ ๑๐๖ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

่ มาเล่เซย ิ � มาเล่เซ่ยจดหาเครืองบนล่าดต้ะเวนทัางทัะเล่แบบ ATR 72 MPA ั ่ ั ิ ิ ำ ั ั ิ ่ ้ ั กรืะทัรืวงกล่าโหมมาเล่เซึ่ยได้ล่งนามทัาสญญากบบรืษทั Leonardo ขัองอตาล่ ในการืจด้หาเครืองบนล่าด้ตรืะเวน ื � ั ้ ทัางทัะเล่แบบ ATR 72 MPA จานวน ๒ ล่า ภายในงานนทัรืรืศการืทัางทัะเล่แล่ะเทัคโนโล่ยปองกนปรืะเทัศล่งกาว หรือ ่ ิ ่ ำ ื ำ ั � ั ่ ่ ิ � � ื LIMA 2023 ณ เกาะล่งกาว่ ปรืะเทัศมาเล่เซึ่่ย เมือช้วงปล่ายเด้อน พฤษภาคม ๒๕๖๖ ทัผิานมา ซึ่่งบรืษทั Leonardo ั ่ ิ ั � � ่ ได้้ยนขัอเสนอใหแกมาเล่เซึ่่ยมาตังแตเด้อน ต่ล่าคม ๒๕๖๕ ในด้้านการืจด้หาเครืืองบนล่าด้ตรืะเวนทัางทัะเล่ รืวมถ่ง ้ ื � ่ ื ้ ั � ่ ่ รืะบบสนบสน่นแล่ะการืฝึึกอบรืมทัเกยวขัอง � ้ เครืืองบน ATR 72 MPA เปนเครืืองบนแบบเครืืองยนตใบพด้ Turboprop ๒ เครืืองยนต ทัได้้รืบการืออกแบบ ็ � � ิ ์ � ่ ์ ั � ิ � ั ั ิ ั ำ ั ิ ั � ่ ั ั � มาสาหรืบปฏิิบตการืในทัะเล่ ซึ่่งเปนรืนพเศษทัพฒนามาจากเครืืองบน ATR 72-600 โด้ยได้้รืบการืพฒนาจากบรืษทั ิ ็ ิ ่ � ่ ่ ้ ่ � ำ ั ื ิ ั Leonardo สำาหรืบใช้ในภารืกิจตรืวจการืณ์ ล่าด้ตรืะเวนทัางทัะเล่ การืปรืาบเรือด้ำานา การืตอตานภยคกคามผิวนา ้ ำ � ื � ั ั ่ ่ � ำ ั ื ิ ่ ่ ั ้ � � ู ำ การืคนหาช้วยเหล่อผิปรืะสบภย การืรืกษาสงแวด้ล่อม การืล่าเล่ยงผิปวย แล่ะการืล่าเล่ยงขันสงทัวไป เครืองบนด้งกล่าว ้ ่ ้ ิ ู ้ � ์ ื � ั � ำ ้ ่ ่ ่ ์ ่ ิ � จะได้รืบการืตด้ตงอปกรืณทัสาคญได้แก รืะบบตรืวจการืณเปาหมาย รืะบบสอสารื การืควบคมสงการื การืรืวบรืวมขัาวสารื ั ้ ่ ั ั ้ ่ � แล่ะการืล่าด้ตรืะเวน หรือ C4ISR สาหรืบการืปฏิบตการืในทัะเล่แล่ะช้ายฝึง นอกจากน ยงมขัด้ความสามารืถในการืรืวบรืวม ิ ่ ่ � ั ั ื ิ ่ ั ำ ้ ์ � ิ ่ ำ ำ ้ � ็ ำ ิ ้ ่ ำ ขัาวสารืทัางอเล่กทัรือนกส การืคนหาเปาเรืือผิิวนาแล่ะเรืือด้านา การืตอตานการืกรืะทัาผิิด้กฎหมายทัางทัะเล่ รืวมถ่ง สามารืถพฒนาไปเปนอากาศยานปรืาบเรืือด้านาแล่ะตอตานเรืือผิิวนาอยางเตมรืปแบบได้้ ็ ั � ำ � ่ ำ ำ ่ ู ้ ็ ั � ขั้อมูล่ทัวไป เครืองบินล่าดต้ระเวนทัางทัะเล่ ATR 72 MPA � ความยาว ๒๗.๑๗ เมตรื ำ ้ ั ความกวางล่าต้ว ๒.๕๗ เมตรื ี ความยาวปก ๒๗.๐๕ เมตรื ั ิ � ั ั ำ นาหนกต้วเปล่่า ๑๓,๓๐๐ กโล่กรืม ำ � ั นาหนกบนขันสงส่ด ๒๓,๐๐๐ กโล่กรืม ั ู ิ ิ � ้ ความจ่เชื้อเพล่ง ๕,๐๐๐ กโล่กรืม � ั ิ ื ิ ิ ู ั ำ � นาหนกบรรทั่กสงส่ด ๗,๔๐๐ กโล่กรืม ั ั � เครืองยนต้ ์ ใบพด้ Turboprop ๒ เครืื�องยนต ์ ู ็ ความเรวสงส่ด ๒๘๐ นอต รศม่ทัาการ ๘๒๕ ไมล่ทัะเล่ ั ำ ์ เพดานบนสงส่ด ๗,๖๐๐ เมตรื ิ ู � แหล่่งที่่มา : //www.navaltoday.com/2023/05/29/malaysia-orders-two-atr-72-mpa-from-leonardo/ นาวิกศาสตร์ 89 ปีที่ ๑๐๖ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

่� ญี่่�ปน � ื � ่ � ิ ่ ่ ่ เรอรบระบบเอจ่สรนใหมขัองญี่่ปนจะต้ดต้ังทัอยงแบบ ๑๒๘ เซล่ ่ ิ ิ ำ ็ � ่ ่ ้ � ิ กรืะทัรืวงกล่าโหมญปนได้้อน่มตใหบรืษทั Mitsubishi Heavy Industry (MHI) เปนผิูด้าเนนการืตอเรืือรืบทัตด้ � ่ ั ิ ้ ่ ิ ั ตังรืะบบเอจ่ส (Aegis Systems Equipped Vessel : ASEV) รืนใหมล่าทัหนง แล่ะบรืษทั Japan Marine United ำ � ่ � ่ ิ ั ่ ่ ่ � � ้ ่ ิ ำ ่ ำ (JMU) เปนผิูตอเรืือล่าทัสอง โด้ยเรืือ ASEV จะได้้รืบการืตด้ตังรืะบบทัอยงอาว่ธิปล่่อยนาวถ่ทัางด้ิง (Vertical Launch ็ � ั ิ � ิ ่ ู ้ ่ ่ ่ ิ ำ ื ำ ิ ำ ้ System : VLS) จานวน ๑๒๘ เซึ่ล่ ใช้สาหรืับอาว่ธิปล่อยนาวถพ�นสอากาศพสัยกล่างแบบ SM-3 Block 2A ทั�ได้รืับการืพัฒนา ่ ิ ่ ั ่ ่ ำ ั ้ ั ่ ่ ่ ิ � รืวมกนรืะหวางญปนแล่ะสหรืฐอเมรืกา อาวธิปล่อยนาวถด้งกล่าวมขัด้ความสามารืถในการืตอตานอากาศยาน จรืวด้รือน ่ ่ ่ ่ ่ � ่ ิ � ำ ิ อาว่ธิไฮเปอรืโซึ่นก ขั่ปนาว่ธิ แล่ะเรืือผิิวนา รืวมถ่งการืปรืบปรื่งอาว่ธิปล่่อยนาวถ่พืนสูพืน Type 12 ทัผิล่ตในปรืะเทัศ � � ั ่ ิ ์ � ่ ำ ่ ่ ่ ้ ่ � ่ ้ ั ื ่ � ่ ่ ั ิ ิ ำ � ้ ่ ญปนด้วย นอกจากการืพฒนารืะบบอาวธิปล่อยนาวถแล่ว เรือ ASEV ยงมแผินทัจะตด้ตงรืะบบตอตานอาวธิปล่อย ่ � ั ำ ื ิ ิ ิ นาวถ่ไฮเปอรืโซึ่นกวถ่โคจรืเหนอช้ันบรืรืยากาศ (Glide Phase Interceptor) แล่ะเรืด้ารืแบบ SPY-7 ์ ์ � ่ ่ ้ ่ ่ ื ้ ู เรือ ASEV ยงมขัด้ความสามารืถในการืต่อตเปาหมายรืวม โด้ยใช้การืแช้รืขัอมล่ตามเวล่าจรืิงรืะหวางเรืด้ารืขัอง ้ ่ ั ์ ์ � ั ั ำ � ่ � ั ั ิ � ิ ่ ่ ื ั เรือพฆาตช้นมายาขัองญปน กบเรือรืบขัองกองทัพเรือสหรืฐอเมรืกา นอกจากน สานกงานจด้หายทัโธิปกรืณ เทัคโนโล่ย แล่ะ ื ั ์ ่ ่ ื ่ ั ่ ่ � ำ ่ ิ ำ ื � การืสงกาล่งบารืงขัองญปน มแผินทัจะตด้ตงรืะบบเสาอากาศวทัยรืวมการื หรือ United Combined Radio Antenna ั ่ � ่ � ่ ิ ั � ็ ่ � ่ � ื ำ ั ่ ิ ื ่ ้ ั ้ ั (UNICORN) บนเรือด้วย ซึ่งปจจบนรืะบบ UNICORN นกได้รืบการืตด้ตงบนเรือฟรืเกตขัองกองกาล่งปองกนตนเอง ้ ิ ั ่ � ทัางทัะเล่ญปนแล่ว ่ ้ � ่ ั แตเด้มนน กองกาล่งปองกนตนเองญปนได้เรืยกเรืือ ASEV วาเปนเรืือปองกนภยขัปนาวธิ (Ballistic Missile ่ ่ ิ ั ่ ่ ่ ็ � ้ ้ ่ � ั ั ำ ้ ั � ็ ่ ่ ั ำ ่ ั ู ่ � Defense : BMD) ซึ่งมความเรืวไมสงมากแล่ะมขัด้จากด้ในการืปฏิบตการืเฉพาะเขัตช้ายฝึง อยางไรืกตาม เมอภยคกคาม ่ ื ็ � ่ ิ ิ ั � ่ ่ � � ั ในทัะเล่ม่มากขั่น จ่งได้้ม่การืปรืบปรื่งใหเรืือม่ขั่ด้ความสามารืถอเนกปรืะสงคมากยงขั่น ซึ่่งเรืือ ASEV นัน ออกแบบโด้ย � � ิ ์ ้ � ิ ิ ้ ์ ำ ่ ขัยายขันาด้มาจากเรืือพฆาตอาว่ธิปล่่อยนาวถ่ แตเพิ�มขั่ด้ความสามารืถในการืตอตานขั่ปนาว่ธิแล่ะอาว่ธิไฮเปอรืโซึ่นก ่ ิ � ซึ่่งเรืือ ASEV ล่าแรืกจะเรืิมตอในป ๒๕๖๗ แล่ะคาด้วาจะเขัาปรืะจาการืภายในป ๒๕๗๐ ี � ี ่ ำ ำ ้ ่ แหล่่งที่่มา : //www.navalnews.com/naval-news/2023/06/japans-new-asev-ships-will-boast-an-impressive-128-vls-cells/ � นาวิกศาสตร์ 90 ปีที่ ๑๐๖ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖

� ิ ้ ็ ้ พล.ร.อ.เชังชัาย ชัมเชังแพทย ผู้บ.ที่ร. เป็นป็ระธานจััดงานเที่ิดพิระเกยรตัิ จัอมพิลี้เรอ สมเด็จัพิระเจัาบรมวงศ์เธอ ื ิ ิ ์ ิ ั ำ ี ิ � ื ั ้ ิ ั เจัาฟาบรพิตัรสข้มพินธ กรมพิระนครสวรรควรพินตั เนองใน “วนบรพิตัร” ป็ระจัาป็ ๒๕๖๖ ณ ยศ.ที่ร. ตั.ศาลี้ายา อ.พิที่ธมณฑลี้ ุ ้ ุ ั ์ ุ ุ � จั.นครป็ฐม เมือ ๒๙ มิ.ย. ๖๖

ผบ.ทร. ร่วมชมการแสดงกาชาดคอนเสิร์ตั ครังที่้ ๔๙ เฉลี้ิมพิระเก้ยรตัิ องค์บิดาข้องที่ห้ารเรือไที่ย “แสงที่ิพิยแห้่งอาภากร ์ � � � ์ เส้ยงที่ิพิยจัากราชนาว้” รอบป็ระชาชน ซี้ง กองที่ัพิเรือ ร่วมกับ สภากาชาดไที่ย จััดให้้ม้ข้้น ณ ห้อป็ระชุมให้ญ่่ ศ้นยวัฒนธรรม ์ � แห้่งป็ระเที่ศไที่ย เข้ตัห้้วยข้วาง กรุงเที่พิฯ เมือ ๒๗ มิ.ย. ๖๖ �

็ ้ ้ ่ ์ ิ ั ผบ.ทร. เป็็นป็ระธานในการจััดงานเลี้�ยงแสดงความยินดแลี้ะมอบเงิน ผบ.ทร. เป็นป็ระธานในการแถลี้งข้าวการจัดการแสดงกาชาดคอนเสรตั ้ ้ ั ึ ั ่ ้ ้ ็ ั ั ื � ้ ำ ็ ั รางวลี้พิเศษให้แกนกกฬาแลี้ะผู้ฝึกสอน ที่เป็นกาลี้งพิลี้กองที่พิเรอ แลี้ะเป็นตัวแที่น ครั�งที่้� ๔๙ พิุที่ธศักราช ๒๕๖๖ เที่ิดพิระเก้ยรตัิ องค์บิดาข้องที่ห้ารเรือไที่ย ิ ่ ั ่ ์ ที่้มชาตัไที่ย เข้้ารวมการแข้งข้นก้ฬาซีเกมส ครังที่ ๓๒ ณ ราชอาณาจัักรกมพิ้ชา “แสงที่ิพิย์แห้่งอาภากร เส้ยงที่ิพิย์จัากราชนาว้” ณ ห้้องเจั้าพิระยา ห้อป็ระชุม ิ � � ้ ั ้ ้ ิ ุ ้ ่ ้ � ้ ั ื ้ โดยพิธจัดให้มข้น ณ ห้องชมชลี้ธ ห้อป็ระชมกองที่พิเรอ เข้ตับางกอกให้ญ่ กองที่ัพิเรือ เข้ตับางกอกให้ญ่่ กรุงเที่พิฯ เมื�อ ๑๔ มิ.ย. ๖๖ ั ้ ิ � กรงเที่พิฯ เมือ ๑๒ ม.ย. ๖๖ ุ ็ ิ ั ิ ผบ.ทร. ในฐานะ รอง ผู้อ.ศรชลี้. เป็นป็ระธานการป็ระชมคณะกรรมการ ผบ.ทร. ในฐานะ รอง ผู้อ.ศรชลี้. ตัรวจัเย�ยมการฝึกป็ฏิบตัการรวม ศรชลี้. ึ ุ ้ ่ บรห้าร ศรชลี้. ครั�งที่ ๒/๒๕๖๖ ณ โรงแรมลี้าก้นา แกรนด โฮเที่ลี้ แอนด สป็า ป็ระจัำาป็ี ๒๕๖๖ ภายใตั้ห้ัวข้้อ “การฝึึกช่วยเห้ลี้ือผู้้้ป็ระสบภัยที่างที่ะเลี้ (SAR) ์ ้ ิ ์ � ่ อ.เมองสงข้ลี้า จั.สงข้ลี้า เมื�อ ๑๙ ม.ย. ๖๖ แลี้ะการข้จัดคราบนามนในที่ะเลี้ (Oil spill)” ระห้วาง ๑๙-๒๐ ม.ย. ๖๖ ่ ิ � ั ื ำ ิ ั ื � ์ ้ � ิ ณ ลี้านวัฒนธรรมห้าดชลี้าที่ัศน แลี้ะพินที่ที่างที่ะเลี้ จั.สงข้ลี้า เม�อ ๒๐ ม.ย. ๖๖ ื ำ ้ ิ ้ ำ ื ั ั ั ้ ้ ผบ.ทร. พิรอมคณะนายที่ห้ารระดบสงข้องกองที่พิเรอ ไดเดนที่าง ผบ.ทร. เดินที่างไป็เย�ยมบารุงข้วญ่กาลี้ังพิลี้แลี้ะบุคลี้ากรที่างการแพิที่ย ์ ุ ็ ุ ั ้ ้ ุ ไป็ตัรวจัเย�ยม สสที่.ที่ร. พิรอมที่งเยยมชมห้องป็ฏิบตัการระบบสนบสนน ข้อง พิร. ณ รพิ.สมเดจัพิระป็นเกลี้า พิร. แข้วงบคคโลี้ เข้ตัธนบร กรงเที่พิฯ ้ ้ � ่ ุ ้ ั ิ ั ิ ้ � � ิ ้ � ั ้ ข้อมลี้สงครามอเลี้กที่รอนกส (EWOS) ห้องป็ฏิบตัการรกษาความมนคง เมื�อ ๒๓ มิ.ย. ๖๖ ั ้ ิ ์ ็ ิ ั ิ ้ ์ ้ ั ์ ้ ป็ลี้อดภยไซีเบอร (CSOC) แลี้ะห้องศนยข้อมลี้กลี้าง (Data Center) ้ ้ ั ิ โดยม้ พิลี้.ร.ที่.ชยุตั นาเวศภ้ตักร จัก.สสที่.ที่ร. ให้้การตัอนรบ ณ สสที่.ที่ร. พิระราชวงเดม เข้ตับางกอกให้ญ่่ กรงเที่พิฯ เมือ ๒๒ ม.ย. ๖๖ ั � ิ ิ ุ

ิ � ้ ้ � ิ ั ็ ์ ื ้ ิ ้ ผบ.ทร. ในฐานะ รอง ผู้อ.ศรชลี้. พิรอมคณะ เดนที่างไป็ตัรวจัเยยม ผบ.ทร. เป็นป็ระธานในพิธมอบเครองห้มายเชดชเกยรตัอภรกษนาว ้ ิ ้ ิ ิ ่ ั ์ แลี้ะรบชมการสาธตัการฝึึกการสงกลี้บสายแพิที่ย (MEDIVAC Pre-Exercise) ให้้แก่บุคคลี้ที่้�ที่ำาคุณป็ระโยชน์กับกองที่ัพิเรือ ป็ระจัำาป็ี ๒๕๖๖ ณ อาคาร ั ั บนเรอสาราญ่ Spectrum of the Seas โดยไดรบความรวมมอจัาก บรษที่ ส่วนบัญ่ชาการกองที่ัพิเรือ พิื�นที่้�วังนันที่อุที่ยาน เข้ตับางกอกน้อย กรุงเที่พิฯ ้ ั ื ิ ่ ำ ื ์ ั รอยลี้ คารเบยน อนเตัอรเนชนแนลี้ (Royal Caribbean International) เมื�อ ๒๙ มิ.ย. ๖๖ ิ ้ ิ ั แลี้ะเรอ Spectrum of the Seas เมือ ๒๔ ม.ย. ๖๖ � ื ิ ผบ.ทร. รบการเย�ยมคานบจัาก พิลี้.ที่.คิม ค ฮวาน (Lieutenant พล.ร.อ.วุฒิิชัย สายเสถียร ป็ระธานคณะที่้ป็รกษากองที่พิเรอ ้ � ั ้ ื ี ั ุ ั ั ้ ำ General Kim Kye Hwan) ผู้บ.นย.สาธารณรฐเกาห้ลี้้ โอกาสเดนที่างเยือน พิร้อมคณะ เดินที่างไป็ร่วมกิจักรรมการฝึึกผู้สม Multilateral Naval ั ิ ่ ป็ระเที่ศไที่ยอยางเป็็นที่างการ ในฐานะแข้กข้อง นย. ระห้วาง ๒-๕ ก.ค. ๖๖ Exercise (MNE) Komodo ครั�งที่้� ๔ แลี้ะการเข้้าร่วมป็ระชุม International ่ � ั ิ � ้ � � ณ บก.ที่ร. พิืนที่พิระราชวงเดม เข้ตับางกอกให้ญ่่ กรงเที่พิฯเมือ ๓ ก.ค. ๖๖ Maritime Security Symposium (IMSS) ครั�งที่้ ๕ ตัามคำาเชิญ่ ุ ้ ข้อง พิลี้.ร.อ.Muhammad Ali ผู้บ.ที่ร.อินโดนเซีย ณ เมืองมากัซีซีาร ์ ้ ้ ิ ้ ่ ั ิ สาธารณรฐอนโดนเซีย ระห้วาง ๔-๘ ม.ย. ๖๖ ้ พล.ร.อ.สวุน แจ้้งยอดสข ผู้ช.ผู้บ.ที่ร.เป็็นป็ระธานในพิิธ้ไห้วคร้แลี้ะ ผชั.ผบ.ทร. พิรอมดวยคณะผู้้บงคบบญ่ชาระดบสงข้องกองที่ัพิเรอ ื ้ ้ ั ้ ้ ั ั ิ ุ ุ ั ุ ิ ี � ื ์

ิ ิ ำ ์ นาฏิศลี้ป็ ป็ระจัาป็ ๒๕๖๖ ณ กองดรยางคที่ห้ารเรอ ฐที่.กที่. ถนนอสรภาพิ ร่วมงานเลี้้ยงรับรองเนื�องในวันชาตัิสห้พิันธรัฐรัสเซี้ย ตัามคำาเชิญ่ข้อง ิ ้ เข้ตับางกอกนอย กรงเที่พิฯ เมือ ๘ ม.ย. ๖๖ สถานที่้ตัรสเซีย โดยม้ นายเยฟกน้ โที่มคน (H.E. Mr. Evgeny Tomikhin) ิ ิ ิ ้ ั ุ � ้ ้ ้ ั ั ำ ้ เอกอครราชที่ตัรสเซียป็ระจัาป็ระเที่ศไที่ย เป็นเจัาภาพิ ณ ห้องบอลี้รม โรงแรม ้ ็ ุ ุ � ิ ิ แชงกร้-ลี้า ถนนเจัรญ่กรง กรงเที่พิฯ เมือ ๙ ม.ย. ๖๖

่ ้ ์ ิ ้ ้ ผชั.ผบ.ทร. ในฐานะสมาชกองคกรรวมไที่ย-มาเลี้เซีย (MTJA : Malaysia- ผชั.ผบ.ทร. ให้การตัอนรบคณะเยาวชนจัากจังห้วดชายแดนภาคใตั ้ ั ั ั Thai Joint Authority Members) เข้้าร่วมการป็ระชุมองค์กรร่วมไที่ย-มาเลี้เซีย จัำานวน ๓๐ คน ที่้�เข้้าร่วมโครงการรวมใจัไที่ยเป็็นห้น้�ง กองที่ัพิเรือ ครั�งที่้� ๓

้ ้ � ั ้

� � ้ ครงที่ ๑๔๒ แลี้ะ Annual General Meeting ครงที่ ๓๑ โดยม YBHG. TAN SRI ป็ระจัำาป็ี ๒๕๖๖ ในโอกาสเข้้าเย้�ยมชมโบราณสถานภายในพิระราชวังเดิม � ั ้ ็ ่ ่ DR. RAHAMAT BIVI BINTI YUSOFF ป็ระธานรวมฝึายมาเลี้เซีย เป็น กรุงธนบุร้ ณ ที่้องพิระโรง พิระราชวังเดิม เข้ตับางกอกให้ญ่่ กรุงเที่พิฯเมื�อ ้ ่ ป็ระธานการป็ระชม พิรอมดวย ดร.ครจัตั นาครที่รรพิ ป็ระธานรวมฝึายไที่ย ๑๙ มิ.ย. ๖๖ ุ ้ ิ ุ ุ ่ ้ ่ ์ ิ ั � ่ ุ แลี้ะสมาชกองคกรรวมฯ จัากที่งสองป็ระเที่ศเข้ารวมการป็ระชม ณ โรงแรม � ื ั ี Shangri La Rasa Sayang Resort & Spa ป็นง ป็ระเที่ศมาเลี้เซีย เมอ ้ ิ ๑๗ ม.ย. ๖๖ ื ์ ั ้ � � ั ์ ำ ำ ็ พล.ร.อ.อะดุง พนธุ์เอยม ผู้บ.กร. มอบถังข้ยะรักษโลี้ก ให้กบ นข้ตั.กร. ผบ.กร. เป็นป็ระธานในพิธรบมอบเรอเรวตัรวจัการณลี้านา ลี้.๑๒๕-ลี้.๑๒๘ ุ ิ ็ ี � ้ ั ี � � ่ ั ้ แลี้ะ ห้น.โซีนบานพิกตัาง ๆ ในชมชนห้ม้บาน กร. เพิือใชลี้ดป็รมาณข้ยะเป็ยก เพิือที่ดแที่นเรือเร็วตัรวจัการณ์ลี้ำานำาแบบเก่าที่้ป็ลี้ดระวางป็ระจัำาการ � � ้ ิ ้ ่ ุ ่ ในชุมชน แลี้ะนาเศษอาห้ารมาที่าเป็็นป็�ย สาห้รับใสป็�ยในการป็ลี้กพิืชผู้ัก ณ อาคารราชนาวิกสภา เข้ตับางกอกน้อย กรุงเที่พิฯ เมื�อ ๓๐ มิ.ย. ๖๖ ุ ำ ุ ำ ้ ำ ั ิ ุ ั ั ้ สวนครว ตัามห้ลี้กป็รชญ่าเศรษฐกจัพิอเพิ้ยง พิรอมที่ังมอบถงข้ยะ re-turn � ้ � ำ สาห้รบใสข้วดพิลี้าสตัก เพิอจัาห้นายแลี้ะสรางรายไดชมชน กร. เมอ ๑๙ ม.ย. ๖๖ ่ ำ ิ ่ ื ิ ุ ้ � ั ื � ่

ื ุ � ั ำ ุ ำ � ิ พล.ร.อ.ชัลธุ์ศ นาวุานเคราะห์ เสธ.ที่ร.ในฐานะป็ระธานคณะที่างานรวมฯ เสธุ์.ทร. แลี้ะคณะ รวมป็ระชมแนวที่างการแก้ไข้ป็ญ่ห้านามนเชอเพิลี้ง ิ ั ่ ์ � ื ่ ิ ำ ่ ฝึายกองที่พิเรอ รวมป็ระชมกบคณะที่างานรวมกองที่พิเรอ แลี้ะบรษที่ ข้องกองที่ัพิเรือ ณ ห้้องป็ระชุม ศ้นยส่งกำาลี้ัง พิธ.ที่ร. (๒) แลี้ะ คลี้ังเชือเพิลี้ิง ั ั ั ุ ่ ื ั ำ ั ป็ตัที่. สารวจัแลี้ะผู้ลี้ตัป็่โตัรเลี้้ยม จัากด (มห้าชน) ระดบนโยบาย ป็ระจัาป็ จัุกเสม็ด กองเชือเพิลี้ิง พิธ.ที่ร. อ.สัตัห้้บ จั.ชลี้บุร้ เมื�อ ๓ ก.ค. ๖๖ ี ำ ำ ิ � ั ิ ุ � ิ ิ ๒๕๖๖ ณ โรงแรมมลี้เลี้นเน้ยม ฮลี้ตััน กรงเที่พิฯ เมือ ๒๓ ม.ย. ๖๖

ั ั ิ ิ ำ ั ั � ้ ุ พล.ร.ท.ชัยณรงค บณยรตกลน รอง ผู้บ.กร. รบการเยยมคานบ พล.ร.ท.ชัาตชัาย ทองสะอาด รอง เสธ.ที่ร. เข้ารวมกจักรรมบรรยายพิเศษ � ิ ้ ่ ิ จัาก น.อ.Hugh Winkel ผู้ชที่.ที่ร. สห้รัฐอเมริกา ป็ระจัาป็ระเที่ศไที่ย เนื�องในโอกาสงานฉลี้องพิระชนมายุ ๘ รอบ สมเด็จัพิระอริยวงศาคตัญ่าณ ำ ั ื ั ้ ้ น.ที่.Charles T. Cooper ผู้บงคบการเรอ USS Rafael Peralta สมเด็จัพิระสังฆราช สกลี้มห้าสังฆป็ริณายก โดยได้เข้้าชมนิที่รรศการ แลี้ะรับฟัง ้ ้ � ื ิ � ั ่ ื ้ ้ ื สห้รฐอเมรกา พิรอมคณะฯ เนองในโอกาสที่เรอเข้าจัอด ณ ที่าเที่ยบเรอ บรรยายพิิเศษจัาก พิระธรรมพิัชรญ่าณมุน้ ณ วิเที่ศสโมสร กระที่รวง ้ ื แห้ลี้มฉบง อ.ศร้ราชา จั.ชลี้บร้ ระห้วาง ๒๕-๒๙ ม.ย. ๖๖ เพิือเยยมเมองที่า การตั่างป็ระเที่ศ เข้ตัราชเที่ว้ กรุงเที่พิฯ เมื�อ ๒๓ มิ.ย. ๖๖ ่ ั � ่ � ุ ิ ่ ำ ่ ั ุ ั ำ ป็ระเที่ศไที่ย แลี้ะรบการสงกาลี้งบารง ณ ห้้องรบรองกลี้างอาว อาคาร บก.กร. ั ั ิ อ.สตัห้้บ จั.ชลี้บร้ เมือ ๒๖ ม.ย. ๖๖ ุ � ั � พล.ร.ท.สทธุ์ศกด บตรนาค จัก.อร. เป็็นป็ระธานในพิธลี้งนามถวายพิระพิร พล.ร.ท.เผดมชััย สคนธุ์มต ผู้บ.นย. แลี้ะคณะฯ รวมงานนที่รรศการ ั ิ ุ ิ ่ ุ ้ ิ ิ ุ ิ � ื ั ็ ้ ชยมงคลี้ เนองในโอกาสวนเฉลี้มพิระชนมพิรรษา สมเดจัพิระนางเจัาสที่ดา International Marine Defense Industry Exhibition 2023 (MADEX ิ ุ ั ิ ุ ิ ุ ั ิ พิชรสธาพิมลี้ลี้กษณ พิระบรมราชิน ๓ มถนายน ๒๕๖๖ ณ บริเวณโถง 2023) ตัามคำาเชิญ่ข้อง พิลี้.ร.ที่.Kim Kye Hwan ผู้บ.นย. สาธารณรัฐเกาห้ลี้้ ั ้ ั ่ ั ้ ื ุ � ้ ั ุ ่ ื � ิ ็ � ้ ื กองบงคบการ กรมอที่ห้ารเรอ ที่าเรอจักเสมด อ.สตัห้บ จั.ชลี้บร เมอ ๒ ม.ย. ๖๖ ซี้งการเดินที่างไป็ร่วมงานดังกลี้่าวเป็็นโอกาสในการแลี้กเป็ลี้้ยนข้้อคิดเห้็น ้ ้ ้ แลี้ะจัะไดรบที่ราบข้อมลี้เที่คโนโลี้ยการป็องกนป็ระเที่ศที่ที่นสมย ซีงจัะเป็น ั ั � ้ ้ � ั ั ้ ้ ็ ั ์ ์ ป็ระโยชนตัอนาวกโยธนแลี้ะกองที่พิเรอไที่ยในอนาคตั ณ ศนยแสดงสนคา ้ ิ ื ิ ่ ้ ิ ุ แลี้ะการป็ระชมป็ซีาน (Busan Exhibition and Convention Center : ้ ิ BEXCO) ระห้ว่าง ๖-๑๐ ม.ย. ๖๖ ิ ำ ุ � ิ ิ ั ผบ.นย. พิรอมดวยคณะผู้้บงคบบญ่ชาชันส้งข้อง นย. แลี้ะฝึายอานวยการ พล.ร.ต.ธุ์ต นาวุานเคราะห์ จัก.วศ.ที่ร. แลี้ะกาลี้งพิลี้ วศ.ที่ร.จััดกจักรรม ำ

ั ั � ั ่ ้ ้ ้ ื � ื ์ ้ ำ ั ตัรวจัเย�ยมบารุงข้วญ่ กรม ร.๒ พิลี้.นย. แลี้ะ ฉก.นย.๔๑๑ เพิ�อรับที่ราบ บาเพิญ่สาธารณป็ระโยชน เนองในโอกาสฉลี้องพิระชนมายุ ๘ รอบ ็ ำ ็ ุ ิ ั ิ ั ั ั ั ็ ่ การป็ฏิิบตังาน ป็ญ่ห้า อป็สรรค ข้้อข้ดข้้อง แลี้ะข้้อเสนอแนะข้องห้นวย โดยม้ สมเดจัพิระอรยวงศาคตัญ่าณ สมเดจัพิระสงฆราช สกลี้มห้าสงฆป็รณายก ิ ิ ้ ุ ุ ั ั ั ิ ้ น.อ.สรชย ตัันเจัรญ่ ผู้บ.กรม ร.๒ พิลี้.นย./ผู้บ.ฉก.นย.๔๑๑ ให้้การตัอนรบ ๒๖ มถนายน ๒๕๖๖ แลี้ะวนคลี้ายวนสถาป็นา วศ.ที่ร. ครบรอบ ๙๕ ป็ ี ั ้ ิ ิ ิ ้ ิ � ุ ิ ้ ้ ั ื � ้ ่ ั ณ กองบงคบการ กรม ร.๒ พิลี้.นย. บานอาวเสยว ตั.ห้นองที่ะเลี้ อ.เมองกระบ้ ๑๘ มถนายน ๒๕๖๖ บรเวณถนนที่างเข้า โรงเรยนนวมนที่ราชนที่ศ ิ ั � ิ ุ ุ � ิ จั.กระบ้ เมือ ๑๔ ม.ย. ๖๖ สตัร้วที่ยา พิที่ธมณฑลี้ เข้ตัที่ว้วฒนา กรงเที่พิฯ เมือ ๒๘ ม.ย. ๖๖ � ื

้ ้ ำ ิ ำ ุ ิ ั ิ ั ่ ู พล.ร.ต.อภิิรมย� เงนบารง รอง จัก.อร. พิรอมดวยกาลี้งพิลี้ อร. เข้้ารวม พล.ร.ต. สมรภิม จ้นโท รอง ผู้บ.นย. เป็็นป็ระธานในการจััดกจักรรม � ิ ุ ำ ิ พิิธ้ที่าบญ่ตัักบาตัรพิระภกษสามเณร จัานวน ๔๖ ร้ป็ เนืองในโอกาสวนเฉลี้ม “อนุรักษ์แนวป็ะการังแลี้ะสิ�งม้ช้วิตัใตั้ที่ะเลี้ไที่ย” ตัามแนวพิระดำาริ สมเด็จั ั ุ ำ ็ พิระชนมพิรรษา สมเดจัพิระนางเจั้าสที่ิดา พิัชรสุธาพิิมลี้ลี้ักษณ พิระบรมราชน พิระเจั้าลี้้กเธอ เจั้าฟ้าสิริวัณณวร้ นาร้รัตันราชกัญ่ญ่า โดยม้ นางศิวัสสา จัันโที่ ้ ุ ิ ุ ิ ๓ มถนายน ๒๕๖๖ ณ สอ.รฝึ. อ.สตัห้้บ จั.ชลี้บร้ เมือ ๒ ม.ย. ๖๖ รองป็ระธานชมรมภริยานาวิกโยธินแลี้ะคณะฯ จัตัอาสาพิระราชที่าน ห้น่วย ิ ั ิ � ุ ิ ุ ื เฉพิาะกจักองเรอยที่ธการ ๖๔๒ ม้ลี้นธสวางโรจันธรรมสถานสตัห้้บ แลี้ะคณะ ิ ิ ั ่ ั ่ ิ ิ คร้ นกเร้ยนจัากโรงเร้ยนนาวกโยธนบ้รณะ เข้้ารวมกจักรรมฯ ณ ห้าดเตัยงาม ิ ิ อาวนาวกโยธน คายกรมห้ลี้วงชมพิร อ.สตัห้้บ จั.ชลี้บร้ เมือ ๘ ม.ย. ๖๖ ่ ุ ิ ั � ุ ่ ิ ั � � ำ ั ื ้ ้ ั รอง ผบ.นย. เป็นป็ระธานในพิธป็ดการฝึกอบรมห้ลี้กสตัรเบองตันที่วไป็ พล.ร.ต.ธุ์าดาวุุธุ์ ทดพทกษ์กล ผู้บ.กที่บ.กร. นากาลี้งพิลี้ กที่บ.กร. ่ ิ ั ิ ้ ั � ึ ็ ำ ุ ั ั ำ ื ุ � ็ ี ั ่ � ุ ้ ้ ่ ข้องที่ห้ารที่กเห้ลี้าข้อง นย. รนป็ ๒๕๖๕ ผู้ลี้ดที่ ๔ เพิอเป็นเกยรตัแลี้ะข้วญ่กาลี้งใจั ร่วมกิจักรรมจัิตัอาสาพิระราชที่าน “เราที่ำาความ ดี ด้วยห้ัวใจั” เนื�องในโอกาส ิ ำ ึ

่ ้ ้ � แกพิลี้ที่ห้ารที่จับการฝึกอบรมฯ แลี้ะเตัรยมการแยกไป็ป็ระจัาห้นวยตัาง ๆ วันเฉลี้ิมพิระชนมพิรรษา สมเด็จัพิระนางเจั้าสุที่ิดา พิัชรสุธาพิิมลี้ลี้ักษณ ่ ่ ข้อง นย. ณ อาคารมะรนฮอลี้ลี้ กองการฝึกพิลี้ที่ห้าร ศฝึ.นย. คายกรมห้ลี้วงชมพิร พิระบรมราชิน้ ๓ มิถุนายน ๒๕๖๖ ณ วัดชิโนรสารามวรวิห้าร ้ ุ ึ ่ ์ ิ ุ ิ ุ ั � ั ้ � ตั.สตัห้้บ อ.สตัห้้บ จั.ชลี้บร้ เมือ ๙ ม.ย. ๖๖ เข้ตับางกอกนอย กรงเที่พิฯ เมือ ๑ ม.ย. ๖๖ ำ ั ้ ิ � ำ ผบ.กทบ.กร. ร่วมพิธ้ที่าบญ่ตัักบาตัร เน�องในโอกาสวันเฉลี้ิม ผบ.กทบ.กร. พิรอมคณะเดนที่างไป็ตัรวจัเยยมกาลี้งพิลี้ มสร.๖๖ ื ุ ิ ้ พิระชนมพิรรษา สมเดจัพิระนางเจั้าสที่ิดา พิัชรสุธาพิิมลี้ลี้ักษณ พิระบรมราชน ณ ที่่าเที่้ยบเรือ ฐที่.สข้.ที่รภ.๒ เมื�อ ๘ มิ.ย. ๖๖ ิ

้ ุ ็ ั ื ุ ์ ิ ๓ มถนายน ๒๕๖๖ ณ บรเวณลี้านที่ศนาภรมย ห้อป็ระชมกองที่พิเรอ ิ ุ ิ ั เข้ตับางกอกให้ญ่่ กรงเที่พิฯ เมือ ๒ ม.ย. ๖๖ � ุ ิ

� ่ ็ ้ ็ � ิ ้ ั ุ

ู พล.ร.ต.ณฐ อศรางกร ณ อยธุ์ยา ผู้อ.รพิ.สมเดจัพิระป็นเกลี้า พิร. ผอ.รพ.สมเดจ้พระปิ่่นเกลา พร. เป็็นป็ระธานเป็่ดโครงการ 2P Safety ำ ั ั ำ ่ ิ แลี้ะคณะที่างาน GREEN Hospital รบมอบโลี้รางวลี้การดาเนนการดานอนามย Hospital เพิื�อผู้้้ป็่วยแลี้ะบุคลี้ากร ภายใตั้กิจักรรม “Personnel Safety from ้ ั ้ � สิงแวดลี้อมในสถานพิยาบาลี้ Bangkok GREEN & CLEAN Hospital Plus Violence (บุคลี้ากรป็ลี้อดภัยจัากภัยคุกคาม) Phase 2” โดยม้ น.อ.ป็่ยะวัฒน์ (BKKGC+) ป็ระจัาป็ ๒๕๖๕ “Synergy for Environmental Health Safety วงษ์วานิช รอง ผู้อ.รพิ.ฯ ฝึ่ายบริห้าร แลี้ะ น.อ.ห้ญ่ิง มัญ่ชุสา น้อยอำาแพิง ี ำ ้ ์ ั ่ ิ ิ ิ and Sustainability in Bangkok” โดยม้ รศ.ชชชาตั สที่ธพินธุ ผู้้วาราชการ รอง ผู้อ.รพิ.ฯ ฝึ่ายการพิยาบาลี้ ให้้เก้ยรตัิร่วมเป็็นวิที่ยากรบรรยาย ณ ห้้องป็ระชุม ั ้ ุ ็ ั ิ ้ กรงเที่พิมห้านคร เป็นป็ระธานพิธมอบฯ ณ ห้องบางกอก อาคารไอราวตัพิฒนา ป็ระพิัฒน์ศร้ สโมสร รพิ.สมเด็จัพิระป็่�นเกลี้้า พิร. เมื�อ ๒๖ มิ.ย. ๖๖ ั ิ ิ ุ ่ ศาลี้าวาการกรงเที่พิมห้านคร (ดนแดง) เมือ ๒๐ ม.ย. ๖๖ � ้ พล.ร.ต.สุรเชัษ์ฎ์ ถีาวุรขจ้รศิร รอง ผู้บ.ที่รภ.๒ เป็นป็ระธานในการจัด พล.ร.ต.อทาน คลายภิผง ผู้อ.สป็รมน.๒ สง.ป็รมน.ที่ร. ในฐานะ � ั ุ ิ ็ � ้ ู ื ์ ั � ็ ิ ำ กจักรรมบาเพิญ่สาธารณป็ระโยชน เนองในโอกาสวนคลี้ายวนป็ระสตั รอง ผู้อ. รักษาความมั�นคงภายในจัังห้วัดจัันที่บุร้ (ฝึ่ายที่ห้าร) เป็็นป็ระธาน ิ ้ ั ้ ้ ็ � ์ สมเดจัพิระเจัานองนางเธอ เจัาฟาจัฬาภรณวลี้ัยลี้กษณ อครราชกุมาร เป็่ดโครงการข้ยายผู้ลี้โครงการอันเนื�องมาจัากพิระราชดำาริ งวดที่ ๒ ป็ระจัำาป็ี ้ ั ั ้ ้ ้

ุ ้ ้

้ ิ ้ กรมพิระศรสวางควฒน วรข้ตัตัยราชนาร ๔ กรกฎาคม ๒๕๖๖ โดยม งบป็ระมาณ ๒๕๖๖ ป็ระกอบด้วย กิจักรรมอบรมให้้ความร้้ห้ลี้ักป็รัชญ่าข้อง ั ั ิ � ข้้าราชการ ที่รภ.๒ ชมรมภรยาที่ห้ารเรอ พิืนที่ จั.สงข้ลี้า ห้นวยงานราชการ เศรษฐกิจัพิอเพิ้ยงแลี้ะเกษตัรที่ฤษฎ้ให้ม่ แลี้ะกิจักรรมสาธิตัการป็ระกอบ ื ้ ่

� ้ ิ ่ ่ ื � แลี้ะป็ระชาชนในพินที่ เข้ารวมกจักรรมฯ ณ ชายห้าดบานที่งให้ญ่ ตั.เข้ารป็ชาง อาช้พิแป็รร้ป็ดอกเห้็ดนางฟ้าข้องนักเร้ยน คร้ แลี้ะผู้้้ป็กครอง เพิื�อเสริมสร้าง

้ ้ ้ � ุ ้ ่ ั ้ อ.เมองสงข้ลี้า จั.สงข้ลี้า เมือ ๒๙ ม.ย. ๖๖ ที่กษะการป็ระกอบอาช้พิ แลี้ะการสรางรายได เพิิ�มพิ้นความรความสามารถ ื ้ � ิ ้ ้ ิ ้ ในการดารงช้วตัข้องนักเรยน คร ผู้้ป็กครอง ณ โรงเรยนวัดตัะป็อนให้ญ่ ่ ำ ้ ้ ้ ุ � ิ ุ (เศวตัวที่ยาคาร) อ.ข้ลี้ง จั.จัันที่บร้ เมือ ๑๙ ม.ย. ๖๖ ิ ำ ั � พล.ร.ต.สาโรจ้น บญทบ รอง ผู้บ.นย. ให้้การตั้อนรับคณะเยาวชน พล.ร.ต.สมศกดิ คงโชัต ผู้อ.อธบ.อร. พิรอมดวยกาลี้งพิลี้ อธบ.อร. ั ั ุ ้ ้ ิ � ในโครงการรวมใจัไที่ยเป็นห้นง กองที่พิเรอ รนที่ ๓ ป็ระจัาป็งบป็ระมาณ ๒๕๖๖ ร่วมกิจักรรมบำาเพิ็ญ่สาธารณป็ระโยชน์ เนื�องในวันเฉลี้ิมพิระชนมพิรรษา ุ ั ี ้ ื ำ ็ ่ �

� ้ ้ � ้ ั � � จัากพิืนที่จัังห้วดชายแดนภาคใตั ในพิืนที่รบผู้ดชอบข้อง ฉก.นย. ณ ศฝึ.นย. สมเด็จัพิระนางเจั้าสุที่ิดา พิัชรสุธาพิิมลี้ลี้ักษณ พิระบรมราชิน้ ณ วัดชิโนรสาราม � ้ ิ ั ิ ุ ิ ั ิ ุ ุ � คายกรมห้ลี้วงชมพิร ตั.สตัห้้บ จั.ชลี้บร้ เมื�อ ๒๒ ม.ย. ๖๖ วรวห้าร เข้ตับางกอกนอย กรงเที่พิฯ เมือ ๑ ม.ย. ๖๖ ่ ้

ั ั ั ็ ุ ิ ้ ้ ิ พล.ร.ต.ยทธุ์นา รกนาค ผู้อ.อรม.อร. เป็นป็ระธานในพิธป็ระดบ พล.ร.ต.สมบต จ้ถีนอม จัก.ข้ส.ที่ร. เป็นป็ระธานในพิธไห้วคร ้ ้ ็ ู ิ ้ � ั ั ้ � ้ � ้ ั ื � ้ ้ เครองห้มายยศให้แกข้าราชการ สงกด อรม.อร. ที่ไดรบการเลี้อนยศสงข้น แลี้ะป็ระดับเครืองห้มายนักเร้ยนบังคับบัญ่ชา ห้ลี้ักส้ตัร นักเร้ยนจั่าที่ห้ารเรือ ่ ื � � � จัำานวน ๒ นาย ณ กองบังคับการ อรม.อร. อ.สัตัห้้บ จั.ชลี้บุร้ เมือ ๗ มิ.ย. ๖๖ (นรจั.) พิรรคนาวิน เห้ลี้่าที่ห้ารข้นส่ง ชันป็ีที่้ ๒ ป็ระจัำาป็ีการศ้กษา ๒๕๖๖ � � ณ ห้้องป็ระชุม กรย.ข้ส.ที่ร. เข้ตับางกอกน้อย กรุงเที่พิฯ เมือ ๘ มิ.ย. ๖๖ ้ ้ ่ ุ ำ จ้ก.ขส.ทร. มอบเสอกฬาฟตับอลี้ให้แกที่มฟตับอลี้ รร.นร. จัานวน ๓๕ ชด พล.ร.ต.สมาน ขนธุ์พงษ์ ผู้บ.นรข้. รวมพิธที่าบญ่ตักบาตัร ำ ุ ้ ื ้ ่ ั � � ุ ิ ุ ั โดยม้ น.อ.รัฐศักดิ รักชืน รอง ห้น.ฝึศษ.รร.นร./รองป็ระธานฟุตับอลี้ รร.นร. เนื�องในโอกาสวันเฉลี้ิมพิระชนมพิรรษา สมเด็จัพิระนางเจั้าสุที่ิดา � ์ รบมอบ เพิอใชในการรวมแข้งข้นกฬาโรงเรยนที่ห้ารตัารวจั ณ บก.ข้ส.ที่ร. พิัชรสุธาพิิมลี้ลี้ักษณ พิระบรมราชิน้ ๓ มิถุนายน ๒๕๖๖ ณ วัดสว่าง ั ้ ้ ้ ่ ั � ื ่ ำ � ุ ื ื� เข้ตับางกอกน้อย กรุงเที่พิฯ เมือ ๘ มิ.ย. ๖๖ สวรรณาราม ตั.ห้นองแสง อ.เมองนครพินม จั.นครพินม เมอ ๓ ม.ย. ๖๖ ิ ั ้ ิ ผบ.นรข. รวมพิธที่าบญ่ตักบาตัรฉลี้องพิระชนมาย ๘ รอบ สมเดจั ผบ.นรข. ในฐานะ ผู้อ.ศป็.ป็ส.นรข้. พิรอมกบนายที่ห้ารฝึายอานวยการ ้ ่ ั ำ ่ ุ ำ ุ ็ � พิระอริยวงศาคตัญ่าณ สมเด็จัพิระสังฆราช สกลี้มห้าสังฆป็รินายก พิร้อมกับ แลี้ะกำาลี้ังพิลี้ ศป็.ป็ส.นรข้. รวมที่ัง ชป็.ป็ส.สน.เรือนครพินม ร่วมกิจักรรม � ำ ั ั ื ุ ั ั ่ ั ่ ุ � จัดกาลี้งพิลี้ชวยในการจัดข้องตักบาตัร ณ วดมห้าธาตั ตั.ในเมือง อ.เมอง ป็ระกาศเจัตันารมณ์ไม่ยงเก้ยวกับยาเสพิตัิด เนืองในวันยาเสพิตัิดโลี้ก ้ ิ � ้ ื ้ นครพินม จั.นครพินม เมอ ๒๖ ม.ย. ๖๖ ณ ลี้านห้นา ศป็.ป็ส.นรข้. บานกกตัอง ตั.อาจัสามารถ อ.เมองนครพินม ื � ื จั.นครพินม เมอ ๒๖ ม.ย. ๖๖ ิ

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง