ร ว ว สาขาเทคโนโลย การบ น ม.เกษตร

แนวทางการประกอบอาชีพ : เกษตรกร, นักวิชาการ, นักวิจัย, นักวิทยาศาสตร์, คุณครู-อาจารย์, พนักงาน-เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน เช่น กรมส่งเสริมการเกษตร, หน่วยงานด้านสาธารณสุข หรือประกอบธุรกิจส่วนตัวตามสายที่จบมาโดยตรง

2. คณะบริหารธุรกิจ

2.1 หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) มีหลักสูตรไทย 4 สาขาวิชา และหลักสูตรนานาชาติ 2 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาการเงิน - สาขาวิชาการตลาด - สาขาวิชาการตลาด (นานาชาติ) - สาขาวิชาการจัดการ - สาขาวิชาการจัดการการผลิต - สาขาวิชาบริหารธุรกิจ (นานาชาติ-ภาคพิเศษ)

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักบริหาร, นักการตลาด, นักวางแผนทางการเงิน, เจ้าหน้าที่ธนาคาร, นักวิเคราะห์สินเชื่อและการลงทุน, นักวางแผนการผลิต, นักโฆษณา หรือเจ้าของธุรกิจส่วนตัว

2.2 หลักสูตรบัญชีบัณฑิต (บช.บ.) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาบัญชี

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักบัญชี, ผู้ตรวจสอบบัญชี, ที่ปรึกษาด้านภาษี, เจ้าหน้าที่ธนาคาร หรือนักวิชาการการเงินและการบัญชี

3. คณะประมง (วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.)) มี 5 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาการจัดการประมง - สาขาวิชาชีววิทยาประมง - สาขาวิชาผลิตภัณฑ์ประมง - สาขาวิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ - สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักวิทยาศาสตร์, นักวิจัย, นักวิชาการ, อาจารย์, อาชีพอิสระด้านการประมง หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมประมง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กรมควบคุมมลพิษ กรมชลประทาน เป็นต้น

4. คณะมนุษยศาสตร์ (ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.)) มีหลักสูตรไทย 15 สาขาวิชา และหลักสูตรนานาชาติ 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา - สาขาวิชาภาษาไทย - สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น - สาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส - สาขาวิชาภาษาเยอรมัน - สาขาวิชาภาษาอังกฤษ - สาขาวิชาวรรณคดี - สาขาวิชานวัตกรรมการท่องเที่ยว - สาขาวิชาการเดินทางและการท่องเที่ยว - สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยว - สาขาวิชานิเทศศาสตร์ - สาขาวิชาดนตรีไทย - สาขาวิชาดนตรีตะวันตก - สาขาวิชาภาษาจีน - สาขาวิชาภาษาจีนธุรกิจ - สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับชาวต่างประเทศ (นานาชาติ)

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักเขียน, คอลัมนิสต์, นักแปล, ล่าม, นักประชาสัมพันธ์, นักข่าว, นักโฆษณา, งานสายวิทยุ-โทรทัศน์, มัคคุเทศก์, แอร์โฮสเตส, ครู-อาจารย์, หรืออาชีพอื่นๆ ที่ต้องใช้ทักษะทางภาษา

5. คณะวนศาสตร์ (วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.)) มี 4 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาวนศาสตร์ - สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพป่าไม้ - สาขาวิชาเทคโนโลยีเยื่อและกระดาษ - สาขาวิชาเทคโนโลยีผลิตภัณฑ์และกระดาษ

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักวิชาการป่าไม้, นักวิชาการสิ่งแวดล้อม, นักวิทยาศาสตร์, นักวิจัย, นักวิเคราะห์, เจ้าหน้าที่ควบคุมการผลิตในอุตสาหกรรมไม้-กระดาษ, เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ

6. คณะวิทยาศาสตร์ (วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ)) มีหลักสูตรไทย 16 สาขาวิชา และหลักสูตรนานาชาติ 2 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาคณิตศาสตร์ - สาขาวิชาสถิติ (ภาคปกติ/ภาคพิเศษ) - สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (ภาคปกติ/ภาคพิเศษ) - สาขาวิชาฟิสิกส์ - สาขาวิชาเคมี - สาขาวิชาชีวเคมี - สาขาวิชาเคมีอุตสาหกรรม - สาขาวิชาชีววิทยา - สาขาวิชาจุลชีววิทยา - สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพรังสี - สาขาวิชาวิทยาศาสตร์นิวเคลียร์ - สาขาวิชาพฤกษศาสตร์ - สาขาวิชาพันธุศาสตร์ - สาขาวิชาวิทยาศาสตร์พื้นพิภพ - สาขาวิชาเคมีบูรณาการ (นานาชาติ-ภาคพิเศษ) - สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพและเทคโนโลยี (นานาชาติ)

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักวิทยาศาสตร์,นักวิชาการ, นักวิจัย, ครู-อาจารย์ หรืออาชีพตามสาขาวิชาที่เรียนมา เช่น นักคณิตศาสตร์ประกันภัย, นักพัฒนาซอฟต์แวร์, นักออกแบบเว็บ, วิศวกรระบบ, เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี, นักธรณีวิทยา เป็นต้น

7. คณะวิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.)) มีหลักสูตรไทย 19 สาขาวิชา หลักสูตรนานาชาติ 2 สาขาวิชา และหลักสูตรภาษาอังกฤษ 5 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล (ภาคปกติ/ภาคพิเศษ/นานาชาติ-ภาคพิเศษ) - สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า (ภาคปกติ/ภาคพิเศษ/ภาษาอังกฤษ-ภาคพิเศษ) - สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต (ภาคปกติ/ภาคพิเศษ/ภาษาอังกฤษ-ภาคพิเศษ) - สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา - สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา-ทรัพยากรน้ำ - สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (ภาคปกติ/ภาคพิเศษ/ภาษาอังกฤษ-ภาคพิเศษ) - สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี (ภาคปกติ/ภาคพิเศษ) - สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (ภาคปกติ/ภาษาอังกฤษ-ภาคพิเศษ) - สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ - สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์และความรู้ (นานาชาติ-ภาคพิเศษ) - สาขาวิชาวิศวกรรมวัสดุ (ภาคปกติ/ภาคพิเศษ) - สาขาวิชาวิศวกรรมการบินและอวกาศ (ภาคปกติ/ภาษาอังกฤษ-ภาคพิเศษ) - สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีการบิน (ภาคพิเศษ) - สาขาวิชาวิศวกรรมสำรวจและสารสนเทศภูมิศาสตร์ (ภาคพิเศษ)

แนวทางการประกอบอาชีพ : วิศวกรในหน่วยงานต่างๆ ตามสาขาที่เรียนมา เช่น วิศวกรเครื่องกล, วิศวกรการบินและอวกาศ, วิศวกรยานยนต์, วิศวกรการผลิต, วิศวกรคอมพิวเตอร์, นักพัฒนาโปรแกรมฯ เป็นต้น รวมไปถึงครู-อาจารย์ นักวิชาการ และนักวิจัยในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

8. คณะศึกษาศาสตร์ (ศึกษาศาสตรบัณฑิต (ศษ.บ.)) มี 3 สาขาวิชา + 7 วิชาเอก คือ

- สาขาวิชาสุขศึกษา - สาขาวิชาพลศึกษา - สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ วิชาเอกคหกรรมศาสตรศึกษา - สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ วิชาเอกการสอนคณิตศาสตร์ - สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ วิชาเอกวิทยาศาสตร์ทั่วไป - สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ วิชาเอกวิทยาศาสตร์ทั่วไป-ชีววิทยา - สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ วิชาเอกวิทยาศาสตร์ทั่วไป-ฟิสิกส์ - สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ วิชาเอกวิทยาศาสตร์ทั่วไป-เคมี - สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ วิชาเอกพาณิชยศาสตรศึกษา

แนวทางการประกอบอาชีพ : คุณครู ตามสาขาวิชาที่เรียน เช่น คุณครูคณิตศาสตร์, คุณครูวิทยาศาสตร์, คุณครูสุขศึกษา-พลศึกษา, คุณครูสอนระดับอาชีวศึกษา หรือนักวิชาการศึกษาด้านต่างๆ

9. คณะเศรษฐศาสตร์

9.1 หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต (ศ.บ.) มี 3 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ (ภาคปกติ/ภาคพิเศษ/ภาษาอังกฤษ-ภาคพิเศษ)

9.2 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การประกอบการ (นานาชาติ-ภาคพิเศษ)

9.3 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) มี 4 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร - สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์สหกรณ์ - สาขาวิชาธุรกิจการเกษตร (ภาคปกติ/ภาคพิเศษ)

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักเศรษฐศาสตร์, ที่ปรึกษาด้านการเงิน, ที่ปรึกษาทางธุรกิจ, นักวิเคระห์นโยบาย, นักวิเคราะห์งบประมาณ หรือนักวิชาการ-นักวิจัย

10. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

10.1 หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (สถ.บ.) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาสถาปัตยกรรม (5 ปี)

10.2 หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (ภ.สถ.บ.) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม (5 ปี)

10.3 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) มี 2 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาสถาปัตยกรรม (4 ปี)

- สาขาวิชานวัตกรรมการออกแบบผลิตภัณฑ์เชิงบูรณาการ

แนวทางการประกอบอาชีพ : สถาปนิกตามสาขาที่เรียนมา เช่น นักออกแบบ, ภูมิสถาปนิก, สถาปนิกที่ปรึกษาด้านอาคาร หรืออาชีพที่เกี่ยวข้อง เช่น นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์, ที่ปรึกษาควบคุมงานก่อนสร้าง, นักวิจัย, อาจารย์ เป็นต้น

11. คณะสังคมศาสตร์

11. 1 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) มี 5 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาประวัติศาสตร์ - สาขาวิชาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา - สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา - สาขาวิชารัฐศาสตร์ - สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

แนวทางการประกอบอาชีพ : ครู-อาจารย์, นักวิจัย, นักวิชาการ, นักการทูต, นักเขียน, นักแปล, นักวิเทศสัมพันธ์, เจ้าพนักงานปกครอง, นักวิเคราะห์นโยบาย หรือเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานการปกครองต่างๆ เช่น การปกครองส่วนท้องถิ่น

11.2 หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต (น.บ.) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชานิติศาสตร์

แนวทางการประกอบอาชีพ : ทนายความ, พนักงานอัยการ, ผู้พิพากษา, เจ้าพนักงานบังคับคดี, นิติกร หรือที่ปรึกษาทางกฎหมายในหน่วยงานต่างๆ

11.3 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) มี 2 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาภูมิศาสตร์ - สาขาวิชาจิตวิทยา

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักวิชาการภูมิศาสตร์, นักวิจัย, นักวิทยาศาสตร์ หรือนักจิตวิทยา ตามสาขาที่เรียนมา เช่น นักจิตวิทยาชุมชน, นักจิตวิทยาคลินิก, นักจิตวิทยาพัฒนาการ, นักจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ, เจ้าหน้าที่ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ เป็นต้น

12. คณะสัตวแพทยศาสตร์ (สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต (สพ.บ.)) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาสัตวแพทยศาสตร์

แนวทางการประกอบอาชีพ : สัตวแพทย์, นักวิชาการ, นักวิจัย, อาจารย์ หรืออาชีพอิสระที่เกี่ยวข้องกับสัตว์

13. คณะอุตสาหกรรมเกษตร (วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.)) มีหลักสูตรไทย 7 สาขาวิชา และหลักสูตรนานาชาติ 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาเทคโนโลีชีวภาพ - สาขาวิชาสาขาวิชาวิศวกรรมอาหาร (ภาคปกติ/ภาคพิเศษ) - สาขาวิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร - สาขาวิชาเทคโนโลยีการบรรจุ - สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร - สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งทอ - สาขาวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร (นานาชาติ)

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักวิทยาศาสตร์, นักวิชาการ, นักวิจัย ในอุตสาหกรรมที่เรียนจบมา เช่น อุตสาหกรรมการเกษตร, อุตสาหกรรมด้านอาหาร, อุตสาหกรรมด้านวัสดุและภาชนะบรรจุ, อุตสาหกรรมสิ่งทอและแฟชั่น หรือเจ้าหน้าที่ในแต่ละอุตสาหกรรม เช่น เจ้าหน้าที่ฝ่ายวิศวกรรม เจ้าหน้าที่การผลิต ฝ่ายพัฒนาคุณภาพ, นักออกแบบ เป็นต้น

14. คณะเทคนิคการสัตวแพทย์ (วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.)) มี 2 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาการพยาบาลสัตว์ - สาขาวิชาเทคนิคการสัตวแพทย์

แนวทางการประกอบอาชีพ : พยาบาลสัตว์, นักเทคนิคการสัตวแพทย์, นักวิชาการ, นักวิจัยที่วิเคราะห์เกี่ยวกับสุขภาพสัตว์ หรืออาชีพอิสระที่เกี่ยวกับสัตว์

15. คณะสิ่งแวดล้อม (วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.)) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักวิทยาศาสตร์สิ่งแวดแล้อม, ที่ปรึกษาด้านสิ่งแวดล้อม, เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม

วิทยาเขตกำแพงแสน

16. คณะเกษตร กำแพงแสน (วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.)) มี 4 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ - สาขาวิชาสัตวศาสตร์ - สาขาวิชาเครื่องจักรกลและเมคคาทรอนิกส์เกษตร - สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักวิชาการ, นักวิจัย, อาจารย์ ที่เกี่ยวข้องกับด้านการเกษตร และสัตว์ หรือพนักงานในหน่วยงานด้านเกษตรกรรม และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง

17. คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน (วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.)) มี 9 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล - สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร (ภาคปกติ/ภาคพิเศษ) - สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา (ภาคปกติ/ภาคพิเศษ) - สาขาวิชาวิศวกรรมการอาหาร - สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา-ชลประทาน -สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ-โลจิสติกส์ - สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

แนวทางการประกอบอาชีพ : วิศวกรในหน่วยงานต่างๆ ตามสาขาที่เรียนมา เช่น วิศวกรเครื่องกล, วิศวกรโยธา, วิศวกรชลประทาน, วิศวกรคอมพิวเตอร์, นักพัฒนาโปรแกรมฯ, ผู้จัดการฝ่ายโลจิสติกส์ เป็นต้น รวมไปถึงครู-อาจารย์ นักวิชาการ และนักวิจัยในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

18. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา (วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.)) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกาย

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักวิทยาศาสตร์การกีฬา, ผู้นำการออกกำลังกาย, นักวิจัยเกี่ยวกับการออกกำลังกายและส่งเสริมสุขภาพ หรืออาชีพอิสระที่เกี่ยวกับการออกกำลังกาย

19. คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์

19.1 หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต (ร.บ.) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาการเมืองและการปกครอง

แนวทางการประกอบอาชีพ : เจ้าพนักงานปกครอง, นักวิเคราะห์นโยบายและแผน, นักวิชาการศึกษา, นักการเมือง หรือเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานปกครองส่วนท้องถิ่น

19.2 หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) มี 7 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาการโรงแรมและภัตตาคาร - สาขาวิชาบัญชีบริหาร - สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการบิน - สาขาวิชานวัตกรรมท่องเที่ียว - สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและการท่องเที่ยว - สาขาวิชาการจัดการ - สาขาวิชาการตลาด

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักบริหาร, นักการตลาด, นักวางแผนทางการเงิน, เจ้าหน้าที่ธนาคาร, นักวิเคราะห์สินเชื่อและการลงทุน, นักวางแผนการผลิต, นักโฆษณา, มัคคุเทศก์ หรืองานในอุตสาหกรรมการบริการ หรือเจ้าของธุรกิจส่วนตัว

19.3 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) มี 8 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ - สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ - สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ - สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป - สาขาวิชาฟิสิกส์ - สาขาวิชาเคมี - สาขาวิชาจุลชีววิทยา - สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักวิทยาศาสตร์, นักวิชาการ, นักวิจัย, ครู-อาจารย์ หรือ อาชีพตามสาขาวิชาที่เรียนมา เช่น นักคณิตศาสตร์ประกันภัย, นักพัฒนาซอฟต์แวร์, นักออกแบบเว็บ, วิศวกรระบบ เป็นต้น

19.4 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) มี 2 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาภาษาอังกฤษ - สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่ออุตสาหกรรมบริการ

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักเขียน, นักแปล, ครู-อาจารย์, มัคคุเทศก์, งานในอุตสาหกรรมการบริการ, เจ้าของธุรกิจส่วนตัว หรืองานที่ต้องใช้ทักษะด้านภาษาอังกฤษ

20. คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์

20.1 หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต (ศษ.บ.) มี 1 สาขาวิชา 5 วิชาเอก คือ

- สาขาวิชาการจัดการเรียนรู้ เอกพลศึกษาและสุขศึกษา - สาขาวิชาการจัดการเรียนรู้ เอกภาษาอังกฤษศึกษา - สาขาวิชาการจัดการเรียนรู้ เอกคณิตศาสตร์ศึกษา - สาขาวิชาการจัดการเรียนรู้ เอกวิทยาศาสตร์ศึกษา - สาขาวิชาการจัดการเรียนรู้ เอกเกษตรกรรมศึกษา

แนวทางการประกอบอาชีพ : คุณครู ตามสาขาวิชาที่เรียน เช่น คุณครูคณิตศาสตร์, คุณครูวิทยาศาสตร์, คุณครูสุขศึกษา-พลศึกษา หรือรับสอนพิเศษ เปิดสถาบันกวดวิชา

20.2 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดล้อมศึกษา

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักวิทยาศาสตร์,นักวิชาการ, นักวิจัย ที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรและสิ่งแวดล้อม

21. คณะสัตวแพทยศาสตร์ (วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.)) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาการพยาบาลสัตว์

แนวทางการประกอบอาชีพ : พยาบาลสัตว์, นักวิชาการ, นักวิจัยที่วิเคราะห์เกี่ยวกับสุขภาพสัตว์ หรืออาชีพอิสระที่เกี่ยวกับสัตว์

วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จ.สกลนคร

22. คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสากหรรมเกษตร (วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.)) มี 5 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร - สาขาวิชาทรัพยากรเกษตร - สาขาวิชาอาหารปลอดภัยและโภชนาการ - สาขาวิชาทรัพยากรเกษตรและการจัดการผลิต - สาขาวิชาประมง

แนวทางการประกอบอาชีพ : เจ้าหน้าที่ควบคุมการผลิต, เจ้าหน้าที่พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร, นักวิทยาศาสตร์, นักวิชาการ, นักวิจัย, อาจารย์ ที่เกี่ยวข้องกับด้านการเกษตร หรือพนักงานในหน่วยงานด้านเกษตรกรรม และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง

23. คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์

23.1 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) มี 9 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาเคมีประยุกต์ - สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลและการผลิต - สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ - สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา (ภาคปกติ/ภาคพิเศษ) - สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ - สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า (ภาคปกติ/ภาคพิเศษ) - สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ

แนวทางการประกอบอาชีพ : วิศวกรในหน่วยงานต่างๆ ตามสาขาที่เรียนมา เช่น วิศวกรเครื่องกล, วิศวกรโยธา, วิศวกรไฟฟ้า, วิศวกรการผลิต, วิศวกรคอมพิวเตอร์, นักพัฒนาโปรแกรมฯ เป็นต้น รวมไปถึงครู-อาจารย์ นักวิชาการ และนักวิจัยในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

23.2 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) มี 3 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ - สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ - สาขาวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักวิทยาศาสตร์,นักวิชาการ, นักวิจัย, ครู-อาจารย์ หรือ อาชีพตามสาขาวิชาที่เรียนมา เช่น นักคณิตศาสตร์ประกันภัย, นักพัฒนาซอฟต์แวร์, นักออกแบบเว็บ เป็นต้น

24. คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ

24.1 หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (รป.บ.) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

แนวทางการประกอบอาชีพ : เจ้าพนักงานปกครอง, นักวิเคราะห์นโยบายและแผน, นักวิชาการศึกษา หรือเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานปกครองส่วนท้องถิ่น

24.2 หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต (น.บ) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชานิติศาสตร์

แนวทางการประกอบอาชีพ : ทนายความ, พนักงานอัยการ, ผู้พิพากษา, เจ้าพนักงานบังคับคดี, นิติกร หรือที่ปรึกษาทางกฎหมายในหน่วยงานต่างๆ

24.3 หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) มี 4 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาการเงิน - สาขาวิชาการตลาด - สาขาวิชาการจัดการ - สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและท่องเที่ยว

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักบริหาร, นักการตลาด, นักวางแผนทางการเงิน, เจ้าหน้าที่ธนาคาร, นักวิเคราะห์สินเชื่อและการลงทุน, นักวางแผนการผลิต, นักโฆษณา, พนักงานในอุตสาหกรรมการบริการ หรือเจ้าของธุรกิจส่วนตัว

24.4 หลักสูตรบัญชีบัณฑิต (บช.บ.) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาบัญชี

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักบัญชี, ผู้ตรวจสอบบัญชี, ที่ปรึกษาด้านภาษี, เจ้าหน้าที่ธนาคาร หรือนักวิชาการการเงินและการบัญชี

24.5 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาภาษาอังกฤษ

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักเขียน, นักแปล, ครู-อาจารย์ หรืองานที่ต้องใช้ทักษะด้านภาษาอังกฤษ

25. คณะสาธารณสุขศาสตร์

25.1 หลักสูตรสาธารณศาสตรบัณฑิต (ส.บ.) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักวิชาการสาธารณสุข, อาจารย์, นักวิจัย ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์ และสาธารณสุขอื่นๆ

25.2 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) มี 1 สาขาวิชา คือ

-สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักวิชาการสุขาภิบาล, นักวิเคราะห์คุณภาพสิ่งแวดล้อม, เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยด้านสิ่งแวดล้อม หรือนักวิจัย-นักวิชาการด้านสิ่งแวดล้อม

วิทยาเขตศรีราชา

26. คณะวิทยาการจัดการ (บริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.)) มี 16 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาธุรกิจระหว่างประเทศ (ภาคปกติ/ภาคพิเศษ/ภาษาอังกฤษ) - สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและท่องเที่ยว (ภาคปกติ/ภาคพิเศษ) - สาขาวิชาบัญชีบริหาร (ภาคปกติ/ภาคพิเศษ) - สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ (ภาคปกติ/ภาคพิเศษ) - สาขาวิชาการจัดการ (ภาคปกติ/ภาคพิเศษ) - สาขาวิชาการตลาด (ภาคปกติ/ภาคพิเศษ) - สาขาวิชาการเงินและการลงทุน (ภาคปกติ/ภาคพิเศษ/ภาษาอังกฤษ)

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักบริหาร, นักการตลาด, นักวางแผนทางการเงิน, เจ้าหน้าที่ธนาคาร, นักวิเคราะห์สินเชื่อและการลงทุน, นักวางแผนการผลิต, นักโฆษณา, นักบัญชี หรือเจ้าของธุรกิจส่วนตัว

27. คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา (วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.)) มี 8 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลและการออกแบบ - สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลและระบบการผลิต (ภาคพิเศษ) - สาขาวิชาวิศวกรรมวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ - สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการและระบบ - สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และสารสนเทศศาสตร์ - สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา - สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า - สาขาวิชาวิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ (นานาชาติ)

แนวทางการประกอบอาชีพ : วิศวกรในหน่วยงานต่างๆ ตามสาขาที่เรียนมา เช่น วิศวกรเครื่องกล, วิศวกรไฟฟ้า, วิศวกรยานยนต์, วิศวกรคอมพิวเตอร์, นักพัฒนาโปรแกรมฯ เป็นต้น รวมไปถึงครู-อาจารย์ นักวิชาการ และนักวิจัยในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

28. คณะวิทยาศาสตร์ ศรีราชา (วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.)) มี 5 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม - สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ - สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม - สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ - สาขาวิชาเคมี

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักวิทยาศาสตร์,นักวิชาการ, นักวิจัย, ครู-อาจารย์ หรือ อาชีพตามสาขาวิชาที่เรียนมา เช่น นักพัฒนาซอฟต์แวร์, นักออกแบบเว็บ, นักวิจัยเคมี, ที่ปรึกษาด้านสิ่งแวดล้อม, ผู้ดูแลระบบเครือข่าย เป็นต้น

29. คณะเศรษฐศาสตร์ ศรีราชา (เศรษฐศาสตรบัณฑิต (ศ.บ.)) มี 2 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ (ภาคปกติ/ภาคพิเศษ)

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักเศรษฐศาสตร์, ที่ปรึกษาด้านการเงิน, ที่ปรึกษาทางธุรกิจ, นักวิเคระห์นโยบาย, นักวิเคราะห์งบประมาณ หรือนักวิชาการ-นักวิจัย

30. คณะพาณิชยนาวีนานาชาติ

30.1 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) มี 2 กลุ่มวิชา คือ

- กลุ่มวิชาวิศวกรรมต่อเรือ - กลุ่มวิชาวิศวกรรมเครื่องกลเรือ

แนวทางการประกอบอาชีพ : วิศวกรต่อเรือ, วิศวกรนอกฝั่ง, วิศวกรเครื่องกล, วิศวกรควบคุมระบบ , นักวิจัย หรืออาชีพอิสระที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมต่อเรือ และเครื่องกลเรือ

30.2 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) มี 2 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเดินเรือ - สาขาวิชาการขนส่งทางทะเล

แนวทางการประกอบอาชีพ : นายประจำเรือ, นายท่า, ผู้ตรวจเรือ, พนักงานระบบความปลอดภัยทางเรือ, ที่ปรึกษาด้านการพาณิชยนาวี, งานเกี่ยวกับโลจิสติกส์ หรือธุรกิจนำเข้าและส่งออกสินค้าทางเรือ

โครงการจัดตั้งวิทยาเขตสุพรรณบุรี

31. หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและท่องเที่ยว

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักบริหาร, นักการตลาด, นักประชาสัมพันธ์, มัคคุเทศก์ หรืองานที่อยู่ในอุตสาหกรรมการโรงแรมและการท่องเที่ยว รวมไปถึงเจ้าของธุรกิจส่วนตัว

สถาบันสมทบ

32. วิทยาลัยชลประทาน (วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.)) มี 1 สาขาวิชา

- สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา-ชลประทาน

แนวทางการประกอบอาชีพ : วิศวกรชลประทาน, วิศวกรโยธา, นักวิชาการ และนักวิจัย

33. วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ (พยาบาลศาสตรบัณฑิต (พย.บ.)) มี 1 สาขาวิชา

- สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์

แนวทางการประกอบอาชีพ : พยาบาลวิชาชีพ, อาจารย์ หรืออาชีพอิสระด้านการพยาบาลและการผดุงครรภ์ หรือด้านสุขภาพ

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง