ว ธ การล างหลอดไอต ม ท าอย างไร

ไอศกรีม (อ่านว่า ไอ-สะ-กฺรีม) มาจากคำภาษาอังกฤษว่า ice-cream พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถานให้เขียนเป็นภาษาไทยว่า ไอศกรีม ซึ่งเป็นคำที่เขียนกันมาแต่เดิม ไอศกรีม เป็นชื่อขนมอย่างหนึ่งทำด้วยครีม นม น้ำตาลเป็นต้น ผสมกัน แล้วปั่นให้ข้นในอุณหภูมิต่ำอาจเติมรส สี และกลิ่นต่าง ๆ ได้ตามชอบ เช่น ไอศกรีมช็อกโกแลต ไอศกรีมกาแฟ ไอศกรีมวานิลลา ถ้าใช้น้ำกะทิแทนครีม ก็จะเรียกว่า ไอศกรีมกะทิ ถ้าใส่เครื่องอย่างอื่น ๆ ประสม ก็อาจเรียกตามชื่อเครื่องประสมนั้น ๆ เช่น ไอศกรีมเม็ดแมงลัก ไอศกรีมทุเรียน ไอศกรีมข้าวโพด ไอศกรีมเผือก ภาษาปากหรือภาษาพูดมักจะเรียกว่า ไอติม และบางครั้ง ไอติม จะหมายถึงไอศกรีมชนิดที่ไม่ใส่ครีมหรือนมด้วย เช่น ไอติมแท่ง ไอติมหลอด

ประวัติ[แก้]

ต้นกำเนิดของไอศกรีมนั้น ไม่เป็นที่แน่ชัดมาเริ่มจากไหน บางข้อมูลก็ว่าเริ่มมีมาตั้งแต่สมัยจักรพรรดิเนโรแห่งจักรวรรดิโรมัน ที่ได้มีการพระราชทานเลี้ยงไอศกรีมทหาร โดยในสมัยนั้นทำจากเกล็ดน้ำแข็ง (หิมะ) ผสมน้ำผึ้งและผลไม้ ซึ่งคล้ายกับไอศกรีมซอร์เบในปัจจุบัน แต่บ้างก็ว่ามาจากประเทศจีน เกิดจากเมื่อสมัยโบราณที่นมถือเป็นของหายาก จึงได้มีการคิดวิธีเก็บรักษาโดยการเอาไปฝังในหิมะ จึงเกิดเป็นไอศกรีมขึ้น แม้จะไม่ได้มีลักษณะเหมือนกับไอศกรีมอย่างทุกวันนี้

แต่บ้างก็ว่ามาจากอิตาลีโดยมาร์โค โปโล กลับจากจีนแล้วเอาสูตรไอศกรีมมาเผยแพร่ ซึ่งในตอนนั้นไอศกรีมของจีนยังไม่มีนม เป็นคล้ายน้ำแข็งไสมากกว่า ยังมีจุดเริ่มต้นจากอังกฤษเมื่อสมัยพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 พ่อครัวคนหนึ่งมีสูตรเด็ดเป็นครีมแช่แข็งปรุงรส ซึ่งเป็นสูตรลับสุดยอดที่ส่งเป็นของหวานถวายพระองค์ ทว่าเมื่อพระองค์ถูกปลงพระชนม์โดยโอลิเวอร์ ครอมเวลล์ ระหว่างสงครามกลางเมืองอังกฤษระหว่างปี ค.ศ. 1642-ค.ศ. 1651 พ่อครัวต้องลี้ภัยไปยุโรปจึงได้นำสูตรไอศกรีมนี้เผยแพร่ออกไป

ไอศกรีมในประเทศไทย[แก้]

ไอศกรีมหลอด หรือไอศกรีมแท่งแบบไทย

ในประเทศไทยนั้น ไอศกรีมเริ่มเข้ามาในช่วงสมัยรัชกาลที่ 5 เป็นหนึ่งในวัฒนธรรมตะวันตกที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงนำมาเผยแพร่ในสยาม หลังเสร็จประพาสอินเดีย, ชวาและสิงคโปร์ น้ำแข็งในตอนแรก ๆ ก็ยังไม่สามารถผลิตในประเทศได้ จึงต้องนำเข้าจากประเทศสิงคโปร์ เมื่อไทยสั่งเครื่องทำน้ำแข็งเข้ามาก็เริ่มมีการทำไอศกรีมกินกันมากขึ้น ถือว่าไอศกรีมเป็นของเสวยเฉพาะสำหรับเจ้าขุนมูลนายเท่านั้น ซึ่งสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพบันทึกไว้ว่า

ไอศกรีมเป็นของที่วิเศษในเวลานั้น เพราะเพิ่งได้เครื่องทำน้ำแข็งอย่างเล็กที่เขาทำกันตามบ้านเข้ามา ทำบางวันน้ำก็แข็งบางวันก็ไม่แข็ง มีไอศกรีมบ้างบางวันก็ไม่มี จึงเห็นเป็นของวิเศษ

โดยไอศกรีมในพระราชวังนั้นจะทำจากน้ำมะพร้าวอ่อน ใส่เม็ดมะขามคั่ว จนต่อมาเมื่อมีโรงงานทำน้ำแข็ง แต่ก็ยังถือเป็นของชั้นดี โดยมีไอศกรีมระดับชาวบ้านทำเองด้วย ในช่วงแรก ๆ นั้นไอศกรีมกะทิมีลักษณะเป็นน้ำแข็งละเอียดใส ๆ รสหวานไม่มาก และมีกลิ่นหอมของดอกนมแมว ในสมัยนั้นวิถีการกินของผู้คนจะนิยมกินอาหารกันในเรือนแพ เหมือนที่สมัยนั้นจะขายก๋วยเตี๋ยว หรือกาแฟกันบนเรือ

ลักษณะของไอศกรีมกะทิใส่ถ้วยพร้อมโรยด้วยถั่วลิสงคั่วก็มีมาตั้งแต่สมัยนั้น ซึ่งต่อมาไอศกรีมกะทิก็มีการเปลี่ยนแปลงพัฒนาขึ้น จากกะทิใส ๆ ก็มีความเข้มข้น มีการใส่ลอดช่อง, เม็ดแมงลัก และขนุนฉีกเข้าไป โดยคนไทยได้ดัดแปลงไอศกรีมของต่างชาติมาเป็นไอติมกะทิ โดยใช้กะทิสดผสมกับน้ำตาลนำไปปั่นให้แข็ง เนื้อไอติมค่อนข้างใสเป็นเกล็ดน้ำแข็งละเอียด เวลารับประทานต้องขูดไอติมออกจากขอบหม้อโลหะเมื่อไอติมเริ่มแข็งตัว ตอนขายตักใส่ถ้วยเป็นลูก ๆ เรียกไอติมตัก กินกับถั่ว ข้าวเหนียวหรือลูกชิด บางคนกินกับขนมปังที่หั่นเป็นท่อน และมีรอยแยกเป็นร่องอยู่ตรงกลาง

ส่วน ไอศกรีมหลอด หรือไอศกรีมแท่งก็เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 7 โดยใช้น้ำหวานใส่หลอดสังกะสีและเขย่าให้แข็ง และมีก้านไม้เสียบ โดยจะใส่ถังขับไปขายตามถนน สั่นกระดิ่งเป็นสัญญาณเพื่อเรียกลูกค้า นอกจากนี้ยังมีจุดขายที่การลุ้นไอศกรีมฟรีจากไม้เสียบที่หากมีสีแดงป้ายอยู่ก็จะได้กินฟรีอีกหนึ่งแท่งด้วย ซึ่งไอศกรีมแบบหลอดก็มีการพัฒนาจนมาเป็นไอศกรีมโบราณที่มีส่วนผสมของนมโดยมีลักษณะเป็นแท่งสี่เหลี่ยม อาจทานเป็นแท่ง หรือตัดใส่ถ้วยรับประทานก็ได้

จากนั้นมาก็เป็นยุคของไอศกรีมแบบวัฒนธรรมตะวันตกแท้ ๆ จนถึงปัจจุบัน

ไอศกรีมในรูปแบบต่าง ๆ[แก้]

  • ไอศกรีมแท่ง
  • เชอร์เบต
  • ซอร์เบต์
  • ซอฟต์เสิร์ฟ
  • ซันเด
  • พาร์เฟต์
  • หวานเย็น
  • ไอติมตัด
  • ไอติมไม้แดง
  • ไอศกรีมกะทิ
  • ไอศรีมโคน
  • ไอศกรีมถ้วย
  • ไอศกรีมขนมปัง

อ้างอิง[แก้]

  • เจตนา พิสุทธิ์. ไอติม... ไอศครีม. ครัว. 1 (11): 77 - 79, พฤษภาคม 2538 [//web.archive.org/web/20151118152444///www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9550000047164 เก็บถาวร 2015-11-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ย้อนตำนานไอศกรีม สู่วัฒนธรรมการกินที่หลากหลาย จากผู้จัดการออนไลน์] จะมีลักษณะเป็นหลอด และมีรูด้านบนเพื่อให้อากาศเข้า และมีรูเล็กๆด้านล่างเพื่อให้น้ำไอศกรีมไหลลงในช่องปั่นไอศครีม (cyclinder) ทำหน้าที่เพิ่มค่าอากาศ (Over run) ที่ให้กับเนื้อไอศครีมซอฟต์เสริฟทำให้ไอศครีมพองฟูขึ้น แน่นขึ้น เนื้อเนียนขึ้นลดความเป็นเกล็ดในเนื้อไอศครีมได้ ซึ่งท่ออากาศจะมีอยู่ 2 ลักษณะ ท่ออากาศที่ใช้กับเครื่องไอศครีมซอฟต์เสริฟ Soft serve แบบที่ไม่มี air pump และแบบที่ใช้กับเครื่องไอศครีมซอฟต์เสริฟ Soft serve ระบบ air pump ครับ จะต่างกันคือระบบที่ด้านท้ายของหลอดจะมีท่อสำหรับระบบ air pump หรือไม่มีก็จะเป็นท่ออากาศสำหรับเครื่องไอศครีมซอฟต์เสริฟ Soft serve ที่ไม่มีระบบ air pump นั้นเอง

ถ้าถามว่ามีและไม่มีต่างท่ออากาศสำหรับเครื่องทำไอศครีมซอฟต์เสริฟ Soft serve กันไหม ต่างครับยิ่งเครื่องที่ไม่มีระบบ air pump ด้วยแล้วเท่ากับจะมีค่าอากาศในไอศครีมซอฟต์เสริฟ Soft serve น้อยมาก ทำให้ไอศกรีมไม่ฟองฟู เนื้อไม่แน่น และอาจมีโอกาสเป็นเกล็ดน้ำแข็งได้สูงครับ ซึ่งถ้าเป็นเครื่องทำไอศครีมซอฟต์เสริฟที่ไม่มีระบบ air pump ควรจะมีท่อนี้นะครับจะได้ช่วยได้หน่อย

ถ้าเป็นท่ออากาศทำงานร่วมกับเครื่องไอศครีมซอฟต์เสริฟที่เป็นระบบ air pump ก็จะดีมากขึ้นหลายเท่าครับ เพราะท่ออากาศ และระบบ air pump ของเครื่องไอศครีมซอฟต์เสริฟ Soft serve จะช่วยกันเพิ่มค่าอากาศ (over run) ในเนื้อไอศครีมซอฟต์เสริฟ Soft serve ให้มีความฟู เนียนนุ่ม แน่น ขึ้นไปครับ (แถมประหยัดเนื้อไอศครีมด้วยนะ ต้นทุนก็จะต่ำลงด้วยครับ)

ดังนั้นถ้าให้ผมแนะนำถ้าเลือกได้ก็อยากให้เลือกเครื่องไอศครีมซอฟต์เสริฟ Soft serve ที่มีท่อหรือหลอดอากาศด้วยนะครับจะได้ทำให้เนื้อไอศกรีมดีและขายได้ง่ายขึ้น และสามารถเข้าไปดูวิธีเลือกเครื่อง

ทำไอติมหลอดใช้อะไรบ้าง

ไอติมหลอดทำง่ายๆ ด้วยถังไอติมหลอด ใส่เกลือปนกับน้ำแข็ง และกรอกน้ำหวาน, น้ำโค็ก, กาแฟ ลงไปในหลอด และใส่ลงไปในถังไอติมหลอด แล้วหมุนๆ ก็จะได้ไอติมหลอดแล้ว ราคาขายไอติมหลอดก็อยู่ที่อันละ 3 บาท ลงทุนนิดเดียว แต่ขายได้กำไรงาม

ไอติมหลอดต้องหมุนกี่นาที

วหลอดไอติม เติมน้ำไปพอประมาณเพื่อให้หมุนง่าย จากนั้นประมาณ 5-10 นาที น้ำในหลอดจะเริ่มจับตัวเป็นวุ้น ให้เราเอาไม้มาเสียบแล้วหมุนปั่นต่ออีกเล็กน้อย จากนั้นเอาหลอดไอติมมาจุ่มน้ำแล้วก็ดึงขึ้นมาก็เป็นอันเสร็จ

ทำไมไอติมหลอดต้องหมุน

เขาใช้วิธี หมุนถัง หมุนไปหมุนมา เพื่อเปลี่ยนผิวสัมผัสของหลอดไอติมกับน้ำเย็นรอบๆ ทำให้การระบายความร้อนได้ดีขึ้น \==> แข็งเร็วขึ้น ไอติมกะทิสดก็เช่นกัน หมุนถังไปเรื่อยๆ อยากกินเร็วๆ ก็ปั่นเร็วๆ + เติมเกลือเพิ่ม

ทำไอติมหลอดทำไมต้องใส่เกลือ

แล้วทำไม ❓❔❓ น้ำผสมน้ำแข็งที่อยู่ในถังข้างล่างนั้นจะมีเกลือผสมอยู่อย่างเข้มข้น เกลือทำให้จุดเยือกแข็งของน้ำลดต่ำลง โดยปกติแล้วจุดเยือกแข็ง ของน้ำจะเท่ากับ 0 องศาเซลเซียส แต่เมื่อน้ำผสม กับเกลือจะทำให้จุดเยือกแข็ง ของน้ำต่ำกว่า 0 องศาเซลเซียส เป็นหลักของการถ่ายเทความร้อน

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง