ศ นย ความงามพทย แผนตะว นออก ม.ร งส ต เช ยงใหม

วารสาร สาธารณสุขมลู ฐาน Northern Regional Primary Health Care Journal ภาคเหนอืISSN : 0857-5215 ปที ี่ 3 2 ฉบบั ที่ 0 1 ประจาเดอื น ต.ค. 2564 – ม.ค. 2565 ศนู ย์พฒั นาการสาธารณสุขมูลฐานภาคเหนอื จังหวัดนครสวรรค์ กรมสนบั สนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข

วารสารสาธารณสุขมูลฐานภาคเหนอื ปที ่ี 32 ฉบับที่ 1 เดอื นตลุ าคม 2564 – มกราคม 2565 กองบรรณาธิการ ทีป่ รกึ ษา อธบิ ดีกรมสนบั สนนุ บริการสขุ ภาพ รองอธบิ ดกี รมสนับสนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ นพ.ธเรศ กรษั นัยรวิวงค์ รองอธบิ ดีกรมสนบั สนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ ดร.นพ.ภานุวฒั น์ ปานเกตุ รองอธบิ ดีกรมสนบั สนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ ทพ.อาคม ประดษิ ฐสุวรรณ นพ.สามารถ ถิระศกั ด์ิ ผูท้ รงคุณวฒุ ิ ผศ.กิตติพงศ์ พลเสน คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล ดร.ศรสี ดุ า งามขา วิทยาลยั พยาบาลสวรรคป์ ระชารกั ษ์ จังหวัดนครสวรรค์ ดร.ชลุ ีพร ปยิ สทุ ธ์ิ วิทยาลัยพยาบาลสวรรคป์ ระชารกั ษ์ จังหวัดนครสวรรค์ วา่ ท่ีร้อยตรี ดร.ยทุ ธนา แยบคาย สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั สโุ ขทยั นายวิสทุ ธิ บุญญะโสภติ สมาคมพฒั นาชมุ ชนยง่ั ยนื บรรณาธิการ ผอู้ านวยการศนู ยพ์ ฒั นาการสาธารณสขุ มลู ฐานภาคเหนอื นายอุทศิ จิตเงนิ กองบรรณาธกิ าร ศูนย์พฒั นาการสาธารณสขุ มลู ฐานภาคเหนอื ศนู ย์พัฒนาการสาธารณสขุ มลู ฐานภาคเหนอื นางเพ็ญศรี โตเทศ ศูนยพ์ ัฒนาการสาธารณสขุ มลู ฐานภาคเหนอื นางสาวสภุ ัทรา ฝอฝน ศูนย์พฒั นาการสาธารณสขุ มลู ฐานภาคเหนอื นายมฤคราช ไชยภาพ นางสาวนวิยา ต๊ะต๊บิ รปู เลม่ และงานศลิ ป์ ศนู ยพ์ ฒั นาการสาธารณสขุ มลู ฐานภาคเหนอื นายมฤคราช ไชยภาพ สอบถามข้อมลู เพม่ิ เตมิ กรอกข้อมูลได้ที่ นายมฤคราช ไชยภาพ 095-7095942 bo_em สแกนเลย นางสาวนวยิ า ต๊ะตบิ๊ 082-1832568 nawiyaayiwan

บทบรรณาธิการ บทบรรณาธิการ กลับมาอีกครั้งด้วยความมุ่งม่ัน ต้ังใจของเราชาวศูนย์ฯ สสม.ภาคเหนือ ในการ สร้างสรรค์งานวิชาการ “วารสารการสาธารณสุขมูลฐานภาคเหนือ” ซึ่งจะเป็นพื้นท่ีแลกเปลี่ยน องค์ความรู้ เผยแพร่งานวิชาการ งานวิจัย นวัตกรรม เรื่องเล่า ประสบการณ์ และบทเรียนการ ทางานสุขภาพชุมชน สู่การต่อยอดการพัฒนาตามบริบทของพื้นท่ี รวมท้ังนโยบายสาคัญ ตอ่ การพัฒนาระบบสุขภาพชมุ ชน ฉบับนี้เป็นฉบับที่ 1 เป็นฉบับแรกของปีงบประมาณ 2565 ได้เปลี่ยนรูปแบบการเผยแพร่ จากเดิมตีพิมพ์จากโรงพิมพ์ มาเป็นวารสารอิเลคโทรนิค (E-Book) ท้ังนี้ได้รับความอนุเคราะห์ จากนักวิชาการผู้เชี่ยวชาญ อาจารย์จากสถาบันการศึกษา ร่วมเป็นผู้ทรงคุณวุฒิในกอง บรรณาธกิ ารวารสารนีด้ ้วย ฉบับน้ีบรรจุเรื่องราวที่เข้มข้น ทั้งบทเรียนการพัฒนาสุขภาพชุมชน “บ้านร้องหลอด ตาบลเมืองพาน อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย” งานวิจัยจากพ้ืนที่จานวน 4 เร่ือง การสร้าง ขวัญกาลังใจ อสม. ได้รับการตรวจสุขภาพฟรี (ของขวัญปีใหม่) และผลการคัดเลือก อาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมูบ่ า้ นดเี ดน่ ระดบั เขต และภาค ปี 2565 ของภาคเหนือ ระดับเขต สุขภาพ และภาค ภาคเหนือ ประจาปีพุทธศักราช 2565 ท้ัง 12 สาขา ในธีมงาน “ อสม. ผู้นา การเปล่ียนแปลง พร้อมนาคนไทยสู่วิถีชวี ิตใหม่ ปลอดภัยจากโควดิ 19 ” และอนื่ ๆ ท่ีนา่ สนใจ เรามีความเชื่อมั่นเสมอว่า “แม้เราเป็นชาวบ้าน เราก็สามารถดูแลสุขภาพของพวกเรา กันเองได้” ใช้พ้ืนท่ีเป็นฐาน ประชาชนเป็นศูนย์กลาง การพัฒนาชุมชนให้เกิดความตระหนักรู้ และจัดการตนเองได้ ด้วยกลวิธีการสาธารณสุขมูลฐาน ด้วยความเช่ือม่ันในศักยภาพชุมชน จะนาพาประชาชนสู่การลดความเจ็บป่วย ลดความแออัด (ในสถานบริการ) ลดการรอคอย (การรกั ษาพยาบาล) และลดคา่ ใชจ้ ่ายดา้ นสขุ ภาพได้อย่างย่ังยืน ขอชน่ื ชม ยินดี กับ อสม. ผู้ได้รีบการคัดเลือกเป็น อสม. ดีเด่นระดับเขตสุขภาพและภาค ของภาคเหนือ ท้ัง 12 สาขา และขอขอบพระคุณภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนที่เก่ียวข้อง ท่ีได้มี บทบาทเสริมพลังให้กันและกัน และมีส่วนสาคัญในการร่วมสร้าง ร่วมพัฒนา ร่วมขับเคลื่อน และส่งมอบกาลังใจบุคคลากรศูนย์พัฒนาการสาธารณสุขมูลฐานภาคเหนือ ได้ทา หน้าที่ อย่างเต็มกาลงั ความสามารถ เสมอมา อุทศิ จิตเงิน ผ้อู านวยการศูนยพ์ ฒั นาการสาธารณสุขมูลฐาน ภาคเหนือ จังหวัดนครสวรรค์

สารบัญ เน้อื เรอื่ ง หนา้ บทเรียนการคัดเลือก อสม.ดีเด่น ระดับเขตสุขภาพ และภาค ประจาปี 1 พุทธศักราช 2565 (ผ่านระบบออนไลน)์ 5 8 การตรวจสุขภาพ อสม. ตามชว่ งอายุ 12 18 รอ้ งหลอด เร่ิมตน้ จากชุมชน สู่การพฒั นาอยา่ งย่งั ยืน 30 บทเรียนสร้างเสริมสุขภาพชุมชน ตาบลบ้านแซว อาเภอเชียงแสน 41 จงั หวัดเชียงราย 51 58 องค์ประกอบการปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ ของ อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน จังหวัดสุโขทัย ปัจจัยที่มีผลต่อการดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงของอาสาสมัคร ประจาครอบครัว อาเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ภาวะโลหิตจางในสตรีต้ังครรภ์ที่มาฝากครรภ์ โรงพยาบาลคลองขลุง อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร ผลการประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพ ( Health literacy ) ต่อส่ือการ ให้ความรู้โภชนาการในการปรบั เปล่ยี นพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหาร แนะนาผู้ทรงคุณวุฒิ

บทเรยี นการคัดเลือก อสม. ดีเดน่ ระดับเขตสขุ ภาพ และภาค ประจาปีพุทธศักราช 2565 (ผา่ นระบบออนไลน)์ สภุ ทั รา ฝอฝน ศูนย์พฒั นาการสาธารณสุขมูลฐานภาคเหนือ จงั หวดั นครสวรรค์ การคัดเลือก อสม. ดีเด่นระดับเขตสุขภาพและภาค เป็นบทบาทภารกิจท่ีสาคัญของศูนย์ พัฒนาการสาธารณสุขมูลฐานภาค เพ่ือการขับเคล่ือนและสนับสนุนการมีส่วนร่วมด้านสาธารณสุขมูลฐานใน ระดับพ้ืนที่ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโร นา 2019 (COVID–19) ท่ีกาลังระบาดอย่างต่อเน่ือง กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ จึงมีนโยบายให้ศูนย์พัฒนาการ สาธารณสขุ มูลฐานภาค ดาเนินการคดั เลอื ก อสม. ดีเด่นระดับเขตสุขภาพ และภาค ประจาปีพุทธศักราช 2565 ในรูปแบบออนไลน์ เพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงในการติดเชื้อโรคโควิด 19 ซึ่งการคัดเลือก อสม. ดีเด่นระดับ เขตสขุ ภาพ และภาค ผ่านระบบออนไลน์ น้ัน ถือว่าเป็นการดาเนินงานรปู แบบใหม่และเปน็ เร่อื งที่ท้าทาย ศูนย์พัฒนาการสาธารณสุขมูลฐานภาคเหนือ จังหวัดนครสวรรค์ ได้จัดเวทีการประชุมถอด บทเรียน แลกเปล่ียนการดาเนินงานการคัดเลือก อสม.ดีเด่น ระดับเขตสุขภาพ และภาค ขึ้น เพ่ือให้ศูนย์ พัฒนาการสาธารณสุขมูลฐานภาค ท้ัง 5 แห่ง ได้ร่วมกันทบทวนและแลกเปล่ียนเรียนรู้การดาเนินการคัดเลือก อสม.ดีเดน่ ระดับเขตสขุ ภาพ และภาค ประจาปี 2565 เมอื่ วันที่ 19 มกราคม 2565 ผ่านระบบ Zoom Clound Meeting โดยรว่ มกนั วเิ คราะห์ประเด็นจุดเด่น จุดอ่อน ปัญหาอุปสรรคจากการดาเนินงาน รวมทั้งแนวทางการ ปรบั ปรุงแกไ้ ขและพฒั นากระบวนการคัดเลือก อสม. ดีเดน่ ระดับเขตสขุ ภาพ และภาค ในปตี ่อไป จากการทบทวนและวิเคราะห์กระบวนการคัดเลือก อสม.ดีเด่นระดับเขต/ภาค ประจาปี 2565 พบว่า จุดเดน่ และจุดออ่ นของการคดั เลือกฯ ผ่านระบบออนไลน์ มดี ังน้ี จดุ เด่น จดุ ออ่ น 1. ลดความเส่ยี งในการติดเชือ้ โควิด-19 1. เวลาการนาเสนอ มีข้อจากัดเร่ืองเวลาการนาเสนอ 2. สะดวกและประหยัดค่าใชจ้ า่ ย ทาให้มีเวลาในการแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกันน้อย 3. สามารถจัดพธิ ีเปดิ พรอ้ มกันได้ ทาใหเ้ กิดพลงั และสร้าง เน่อื งจากมงี บประมาณดาเนนิ การทีจ่ ากดั ขวัญกาลังใจใหก้ บั อสม. และเจ้าหน้าท่ผี ปู้ ฏิบัติงาน 2. ปฏิสัมพันธ์ในเวทีและการแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่าง 4. ทุกคนสามารถเข้าร่วมรับชมรับฟัง และร่วมส่งกาลัง อสม.ดเี ดน่ ของจังหวัด ในแตล่ ะสาขามีน้อยลง แรงใจให้กับ อสม. ที่นาเสนอผลงานผ่านระบบ 3. บุคลากรดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ บุคลากรในองค์กร ออนไลน์ได้ทุกท่ี และยังสามารถรับชมย้อนหลังได้ทุก มีจานวนน้อย โดยเฉพาะบุคลากรที่เชี่ยวชาญด้าน เวลา เทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งมีหน้าที่หลักในการควบคุม 5. การนาเสนอในพื้นที่ เช่น ที่ สสจ. ทาให้บุคลากรกลุ่ม ระบบการคัดเลอื กออนไลน์ งานต่าง ๆ ใน สสจ. รับรู้และเห็นความสาคัญของ 4. ความพร้อมของอุปกรณ์เทคโนโลยี สารสนเทศ การพัฒนา อสม. มีอปุ กรณไ์ ม่เพียงพอ และบางสว่ นไม่สามารถใช้งานได้ 1 วารสารสาธารณสขุ มลู ฐานภาคเหนือ

ปัญหาอปุ สรรค ปัญหาอุปสรรคท่ีเกิดข้ึนระหว่างการคัดเลือกฯ ผ่านระบบออนไลน์ พบว่า ทางศูนย์ฯ สสม.ภาค มีปัญหา ระบบอินเตอร์เน็ตล่ม และได้แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า โดยการแชร์อินเทอร์เน็ตจากโทรศัพท์มือถือ ส่วนปัญหาใน พน้ื ท่ี พบว่า พ้ืนทีท่ ี่ต้องนาเสนอมีปัญหาสัญญาณอนิ เตอร์ไมด่ ี ความเร็วของอินเตอร์ไม่พอ ทาให้ภาพและเสียงของ อสม.ที่นาเสนอไมช่ ัดเจน รวมถงึ ปัญหาข้อติดขัดจากการแชร์หน้าจอของทางพื้นที่ นอกจากนี้ยังพบปัญหาความไม่ พึงพอใจต่อแบบประเมินความพึงพอใจ เน่ืองจากแบบประเมินความพึงพอใจท่ีออกแบบจากทางส่วนกลาง กรม สบส. มีข้อคาถามเยอะ คาถามตอบยาก ไม่สอดคล้องกับงานที่ประเมิน ทาให้ผู้ตอบแบบประเมิน (อสม.และ เจา้ หน้าท่เี ครือขา่ ยในการทางาน) มีความสับสนและไม่ให้ความร่วมมือในการตอบแบบประเมิน ทั้งน้ี ศูนย์ฯ สสม. ภาค ได้ออกแบบและปรับขอ้ คาถามใหง้ ่ายขนึ้ และส่งแบบประเมินใหท้ างพน้ื ทตี่ อบแบบประเมินอีกครัง้ ปจั จัยแหง่ ความสาเรจ็ 1. การทางานเป็นทีม เกิดความร่วมมือร่วมใจในการทางานระหว่างศูนย์ฯ สสม.ภาค และศูนย์ สนบั สนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ 2. คณะทางานมีใจรักบริการ (Service Mind) สร้างความประทบั ใจให้แก่ผ้บู ริการ 3. ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการใชเ้ ทคโนโลยที ม่ี ีประสทิ ธภิ าพ 4. อุปกรณเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศมีความพร้อมตอ่ การใช้งาน 5. การเตรียมความพร้อมกอ่ น ระหว่าง และหลังการคดั เลือก กอ่ น เช่น 1) ประชุมชแี้ จงเตรยี มความพร้อม สรา้ งความเขา้ ใจ ให้กับคณะทางาน คณะกรรมการ และเจ้าหน้าท่ี สช. ระดับจังหวัด อาเภอ และตาบล 2) การทดสอบระบบออนไลน์กับทางพื้นที่ 3) การจัดทา ทะเบียนรายชื่อพร้อมช่องทางการติดต่อของคณะกรรมการและคณะทางานในพ้ืนที่ 4) การสร้างกลุ่มไลน์ช่องทาง ในการสอื่ สารและประสานงานกบั คณะทางาน คณะกรรมการ และเจา้ หนา้ ท่ี สช. ระหว่าง เช่น การประสานงานที่รวดเร็วระหว่างผู้จัดฯ กับคณะทางานในพ้ืนที่ เพื่อแก้ไขปัญหา ท่เี กดิ ขึน้ ระหว่างการดาเนินงาน หนา้ งาน หลัง เช่น 1) การทบทวนหลังการปฏิบัติงาน (AAR) หลังการคัดเลือกแต่ละวัน 2) จัดประชุม คณะกรรมการอานวยการฯ เพอื่ สรปุ ผลการคดั เลอื กฯ (สสม.ภาคอสี าน และใต)้ ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพฒั นาตอ่ ไป 1. ควรสารองระบบอินเตอรเ์ นต็ เพื่อใชง้ านในกรณที เ่ี กิดปัญหาระบบอินเตอร์เนต็ ล่ม 2. ควรดาเนินการวางแผนทดสอบระบบให้ครบทุกพ้ืนที่ 3. ควรจดั ทาคมู่ อื การใชง้ านระบบประชมุ ออนไลน์ เช่น การแชรไ์ ฟล์นาเสนอ 4. เน่ืองจากมีบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศจานวนน้อย จึงควรพัฒนาความรู้และทักษะด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ ใหแ้ กน่ กั วชิ าการสาธารณสุขร่นุ ใหม่ เพ่ือเขา้ มาสามารถชว่ ยงานดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศใน หนว่ ยงาน 5. ควรมีเวลาการนาเสนอมากข้ึน เน่ืองจากเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์หลักของการคัดเลือก อสม. ดีเดน่ คอื เพ่อื การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ประสบการณ์การทางานรว่ มกัน และนาไปสกู่ ารพัฒนางานในชมุ ชนให้ดียิง่ ขึน้ 6. ควรออกแบบประเมนิ ความพงึ พอใจใหเ้ ข้าใจง่ายและเหมาะสมกับแตล่ ะกระบวนงานที่ประเมิน ท้ายน้ี ข้อมูลจากการถอดบทเรียนกระบวนการคัดเลือก อสม. ดีเด่น ระดับเขตสุขภาพ และภาค ประจาปีพุทธศักราช 2565 ในคร้ังน้ี เพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผนและพัฒนากระบวนการคัดเลือก อสม.ดีเด่น ระดบั เขตสขุ ภาพ และภาค ของ สสม.ภาค และหนว่ ยงานท่เี กีย่ วขอ้ ง ใหด้ ยี ิง่ ขึน้ ตอ่ ไป 2 วารสารสาธารณสุขมลู ฐานภาคเหนือ

ผลการคัดเลอื กอาสาสมคั รสาธารณสขุ ดีเดน่ ระดับเขตสขุ ภาพท่ี 1, 2, 3 และภาคเหนอื ประจาปพี ุทธศักราช 2565 สาขา อสม.ดเี ด่นระดับ ชือ่ -สกลุ จงั หวัด 1.การเฝ้าระวงั ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อ เขต 1 นายนคิ ม หลา่ ยแกว้ แพร่ ภาคเหนอื นางกง่ิ กาญจน์ ลอ้ ธรรมมา อุตรดติ ถ์ 2.การสง่ เสริมสุขภาพ นายสาราญ ยศสมบตั ิ นครสวรรค์ เขต 3 นายภชู ษิ ธรรมขันธ์ แม่ฮ่องสอน 3.สุขภาพจิตชุมชน ภาคเหนือ นางวิรัตน์ แจ่มทงุ่ สุโขทยั นางสรุ วิ ิภา สังขว์ งษ์ นครสวรรค์ 4. การปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หา เขต 2 นางสุภาภรณ์ เครอื ตะ๊ มา ลาปาง ยาเสพติดในชุมชน เขต 3 นางปราณี ทองประพันธ์ พษิ ณุโลก เขต 1 นางสาวลักขณา แจม่ มณี นครสวรรค์ 5. การบริการในศนู ยส์ าธารณสขุ ภาคเหนอื นางปิยะนาฎ ใหมน่ า พะเยา มลู ฐานชมุ ชน (ศสมช.) และการ เขต 3 นายนอ้ ย ศรนี วล สโุ ขทัย สร้างหลักประกันสขุ ภาพ เขต 1 นางดวงกมล จีระออน นครสวรรค์ 6.การคมุ้ ครองผ้บู ริโภคดา้ น ภาคเหนอื นางภคพร ออ้ ยหวาน พะเยา สุขภาพ เขต 3 นางวลั ลภา คบสระน้อย ภาคเหนอื นางศักด์ศิ รี พุ่มมนิล ตาก 7.ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ด้านสุขภาพ เขต 2 นครสวรรค์ เขต 3 นางจิตรทิวา อินอ่ิน 8. การป้องกันและแกไ้ ขปัญหา นางสาวพนม หมวกสงั ข์ พะเยา เอดส์ในชุมชน เขต 1 นางจาปี ศรีนลิ สโุ ขทยั ภาคเหนอื นายชมุ ไชยโยง กาแพงเพชร นางสาวกนั นกิ า สมหวงั น่าน เขต 3 นางสาวภคมน พมิ พา อตุ รดิตถ์ เขต 1 นางสิริพรรณ ตะ๊ วงค์ กาแพงเพชร ภาคเหนอื นายรกั ชรนิ มมี นั่ พะเยา เขต 3 นายพชรกมล พิลึก พษิ ณโุ ลก เขต 1 นครสวรรค์ ภาคเหนอื เขต 3 3 วารสารสาธารณสขุ มูลฐานภาคเหนือ

ผลการคดั เลอื กอาสาสมัครสาธารณสุขดีเดน่ ระดับเขตสขุ ภาพท่ี 1, 2, 3 และภาคเหนือ ประจาปีพุทธศกั ราช 2565 สาขา อสม.ดีเด่นระดบั ช่ือ-สกลุ จงั หวัด 9. การจัดการสุขภาพชมุ ชนและ อนามัยสง่ิ แวดลอ้ ม เขต 1 นางสาวแสงดาว จันทบ ลาปาง ภาคเหนือ นายพนม นามผาญ ตาก 10. นมแม่ และอนามยั แมแ่ ละ นางวราภรณ์ สมบตั วิ งษ์ พิจติ ร เด็ก เขต 3 นางยุภาวรรณ ฉตั รแกว้ ลาปาง ภาคเหนอื นางเบญจรตั น์ ทาริยะชยั สุโขทยั 11. ทนั ตสขุ ภาพ นางสุพชิ ชา แซซ่ ้อื นครสวรรค์ เขต 2 นางจารวุ รรณ กาทองทุ่ง แพร่ 12. การป้องกนั และควบคมุ โรค เขต 3 นายศภุ ากร มะรงั ษี พิษณโุ ลก ไมต่ ิดตอ่ เขต 1 นางสาวจันทิมา จนั ทร์เช้อื พิจิตร เขต 2 นายจารัส คาใจ ลาพนู ภาคเหนือ นางสาวบปุ ผานอ้ ย ท้าวอ่า พิษณโุ ลก ภาคเหนอื นางชุติภรณ์ สุขเกษม พจิ ิตร เขต 2 เขต 3 4 วารสารสาธารณสุขมลู ฐานภาคเหนอื

การตรวจสุขภาพ อสม. ตามชว่ งอายุ นวยิ า ต๊ะต๊ิบ ศูนยพ์ ัฒนาการสาธารณสุขมูลฐานภาคเหนอื : เรียบเรยี ง ในปีงบประมาณ 2565 รัฐบาลโดยกระทรวง คัดกรองมะเร็งลาไส้ใหญ่สาหรับผู้มีอายุ 50-70 สาธารณสุขมีนโยบายพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิ ปี คดั กรองมะเร็งปากมดลูก สาหรับหญิงอายุ 35-60 ปี เข้มแข็งโดยการยกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและ และในกรณีที่พบว่ามีความเสี่ยงหรือความผิดปกติจะ อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) ให้คน ได้รับการส่งต่อเพ่ือตรวจวินิจฉัยและรักษาตามสิทธิ ไทยทุกครอบครัวมีหมอประจาตัว 3 คน โดยมี อสม. ประโยชน์ต่อไป โดยกระทรวงสาธารณสุขได้แจ้ง เป็นหมอคนที่ 1 ใกล้ตัว ใกล้ชิดกับประชาชน ร่วมกับ หน่วยงานและสถานบริการสาธารณสุข จัดทา หมอคนท่ี 2 และ 3 ในการดูแลสุขภาพของประชาชน แผนปฏบิ ตั กิ ารตรวจสขุ ภาพ อสม. เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ในชุมชน อสม. จึงต้องมีสุขภาพท่ีแข็งแรง และเป็น โครงการดงั กล่าวมีวตั ถุประสงค์ เพอ่ื ให้ อสม. ตัวอย่างที่ดีในการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชน ดังนั้น รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวง 1. ไดร้ ับการตรวจสขุ ภาพตามชว่ งอายุ สาธารณสุข (นายอนุทิน ชาญวีรกูล) ได้มีดาริการตรวจ 2. ส่งเสริมสขุ ภาพ และป้องกันโรคที่อาจเกิดขึ้นแก่ สุขภาพ อสม. เพื่อเป็นตัวอย่างที่ดีในการดูแลสุขภาพ ตนเอง ครอบครัว และชมุ ชนได้ ตนเองและจากการประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวง 3. สามารถถา่ ยทอดองค์ความรู้ในการตรวจสุขภาพ สาธารณสุข (BMW)ครั้งที่ 26/2564 เมื่อวันพุธที่ 15 เบอื้ งตน้ แกป่ ระชาชน ธันวาคม 2564 ณ ห้องประชุมกรมสนับสนุนบริการ 4. เป็นต้นแบบที่ดีในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ดูแล สขุ ภาพ มีมตเิ หน็ ชอบโครงการตรวจสุขภาพ อสม. ตาม สุขภาพตนเองของประชาชน ขอ้ เสนอของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยโครงการ เม่ือ อสม. ได้รับการตรวจสุขภาพแล้ว ให้ อสม. ดังกล่าว มีกาหนดจัดข้ึนในช่วงเดือนมกราคม – บันทึกผลการตรวจสุขภาพด้วยตนเอง ผ่านเมนูตรวจ ธันวาคม 2565 เพื่อเป็นของขวัญปี 2565 ให้แก่พี่น้อง สขุ ภาพ อสม. ในแอปพลิเคชัน สมาร์ท อสม. (สามารถ อสม. โดยเมื่อถึงเดือนเกิดของตนเอง สามารถเข้ารับ ชมวิธีการบันทึกผลการตรวจสุขภาพตนเองผ่านแอป การประเมินคัดกรอง ความดันโลหิต น้าหนัก ส่วนสูง พ ลิ เ ค ชั น ส ม า ร์ ท อ ส ม . ไ ด้ จ า ก ค ลิ ป ใ น ลิ ง ก์ รอบเอว ตรวจเต้านมด้วยตนเอง (เฉพาะเพศ shorturl.at/jobD8) หาก อสม. รายใด ไม่มีสมาร์ท หญิง) ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด โฟน ให้รายงานตามแบบฟอร์มรายงานและส่งให้ ภาวะซมึ เศรา้ ภาวะเครียด ประเมินการถดถอย 9 ด้าน เจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขในพื้นที่ โดยผลการตรวจสุขภาพ กบั โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลใกล้บ้าน หากเป็น ของ อสม. จะรายงานผ่าน Dashboard สมาร์ท อสม. อสม. ท่ีมีอายุ 35ปีข้ึน ไป จะได้รับการตรวจทาง และหน่วยงานสาธารณสุขทุกแห่งสามารถดูรายงานได้ หอ้ งปฏิบัติการ ในสว่ นของความเข้มข้นระดับน้าตาลใน โดยใช้รหสั ผ่านเดยี วกับ Thaiphc.net เลอื ด ตรวจอจุ จาระ หาความเสี่ยงโรคพยาธิใบไม้ในตับ 5 วารสารสาธารณสุขมูลฐานภาคเหนอื

โปรแกรมตรวจสุขภาพ อสม. สาหรับ อสม. ทุกคน สาหรบั อสม. อายุ 35 ปขี ึ้นไป กรณีผทู้ ีม่ ีความเสยี่ ง/พบความ ผิดปกติ 1. ซกั ประวตั บิ ุคคล - ตรวจความเข้มขน้ ระดับ - ให้ อสม. ได้รบั การตรวจ นา้ ตาลในเลือด (FBS) เพ่มิ เติมและรกั ษาตอ่ ไป - ตรวจอุจจาระ (Stool examination) เฉพาะพ้นื ที่ - ขอ้ มลู ท่วั ไป เสยี่ งโรคพยาธใิ บไมใ้ นตับ ภาคเหนือ ภาค ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ และ ภาคกลางบางจังหวัด - ตรวจอุจจาระคัดกรองมะเร็ง - ประวตั ิการเจบ็ ปว่ ย ลาไสใ้ หญ่ (Fit test) สาหรับ ผูม้ ีอายุ 50-70 ปี - ตรวจคดั รองมะเร็งปากมดลูก - ประวัตคิ รอบครัว ด้วยวธิ ี HPV DNA Test สาหรับเพศหญิงอายุ 35-60 ปี 2. การประเมนิ และคดั กรองดว้ ย ตนเอง/เจ้าหนา้ ท่ี - ความดนั โลหิต น้าหนกั สว่ นสงู รอบเอว - การตรวจมะเรง็ เต้านมด้วยตนเอง (เฉพาะเพศหญงิ ) - ตรวจประเมิน Thai CV Risk score - ภาวะซึมเศร้า (2Q) - ภาวะเครยี ด (ST-5) - ประเมินภาวะถดถอย 9 ดา้ น (Community screening) สาหรับอายุ 60 ปขี ึน้ ไป 6 วารสารสาธารณสุขมูลฐานภาคเหนือ

ทม่ี า : กองสนบั สนนุ สขุ ภาพภาคประชาชน กรมสนบั สนุนบริการสขุ ภาพ 7 วารสารสาธารณสขุ มูลฐานภาคเหนอื

รอ้ งหลอด...เริ่มตน้ จากชุมชน สกู่ ารพฒั นาอยา่ งย่งั ยืน นวยิ า ตะ๊ ต๊ิบ ศนู ยพ์ ัฒนาการสาธารณสุขมูลฐานภาคเหนอื จังหวัดนครสวรรค์ “การพัฒนาชุมชนจะขับเคล่ือนไปได้ หากได้รับความร่วมมือจาก ประชาชน” ชุมชนร้องหลอดถือเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาชุมชนท่ีจะ นาไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน เป็นการพัฒนาชุมชนท่ีเป็นรูปธรรม และ เป็นการพัฒนาท่ีสร้างสุขให้แก่ชุมชนมาอย่างต่อเน่ือง โดยการพัฒนา เหล่านี้ จะไม่ประสบผลสาเร็จเลย หากไม่มีผู้ใดเริ่มต้นและไม่มีผู้ใดให้ ความร่วมมือ เมือ่ วนั ท่ี 16-17 ธนั วาคม 2564 ไดม้ ีโอกาสไปร่วมถอด บทเรียนการจัดการระบบสุขภาพชุมชน ณ วัดร้อง หลอด ตาบลเมืองพาน อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย โดยวัดร้องหลอด เป็นแหล่งเรียนรู้ศิลปะ วัฒนธรรม จารีตประเพณี ตลอดจนเป็นแหล่งเรียนรู้วิถีชีวิตและ ภูมิปัญญาล้านนา เป็นหมู่บ้านประช าธิปไตย ขับเคล่ือน และบริหารจัดการหมู่บ้านโดยได้รับความ ร่วมมอื จากทุกภาคสว่ นในชมุ ชน กิจกรรมในชุมชนเปิด โอกาสใหป้ ระชาชนเขา้ มามสี ว่ นร่วมและบริหารจัดการ รว่ มกันอย่างเป็นธรรม “สงั ฆทานต่อบญุ สังฆทานสูก่ ารเปลีย่ นแปลง” วัดร้องหลอดเป็นต้นแบบของ สังฆทานต่อบุญ ที่เปล่ียนจากชุดสังฆทานสีเหลืองท่ีประกอบด้วยของใช้ ทั่วไปในถังพลาสติกสีเหลือง มาเป็น ชุดสังฆทานท่ีประกอบด้วยสิ่งของจาเป็นสาหรับผู้ป่วย เช่น ผ้าอ้อมผู้ใหญ่ กระดาษชาระ สาลี เป็นต้น แต่กว่าจะเป็นสังฆทานต่อบุญได้ ต้องผ่านอุปสรรคมามากมาย อย่างที่รู้กันว่า การจะ ปรับเปล่ียนความเช่ือที่มีมานานนั้น ไม่ใช่เร่ืองง่าย เช่นเดียวกับความเชื่อว่า ทาบุญด้วยอะไร จะได้ผลบุญเช่นนั้น ทาให้ชาวบา้ นไมก่ ล้าจะทาบญุ ดว้ ยของทใี่ หก้ ับผปู้ ่วย พระครพู ิศาลสังวรกุล เจ้าอาวาสวัดร้องหลอดจึงริเริ่มเอง โดย นาเงินบริจาคไปซ้ือของใช้ของผู้ป่วยมาจัดเป็นชุด และชักชวนผู้นาชุมชนนาไปมอบให้แก่สถานบริการโรงพยาบาล ทาอยู่หลายคร้งั จนเขาเหน็ ว่าส่ิงของเหลา่ นใี้ ห้ประโยชน์แก่ผู้รับ จึงมีคนอ่ืนเข้ามาทาบุญด้วยเร่ือยๆ ทาให้ชุมชนเม่ือ ชุมชนเกิดความเขา้ ใจแล้ว จึงได้ขอความร่วมมือรา้ นคา้ ทจ่ี าหน่ายสังฆทานให้จัดจาหนา่ ยสังฆทานในรูปแบบของการ จัดชุดส่ิงของสาหรับผู้ป่วย จนในที่สุด พ้ืนท่ีชุมชนร้องหลอดเป็นพ้ืนท่ีปลอดสังฆทานถังเหลือง 100% นอกจากน้ี ยังได้ขยายไปสู่กิจกรรมต่าง ๆ เช่น งานบุญในชุมชน การจัดกิจกรรมวันสาคัญ การจัดทาผ้าป่า เป็นต้น เมื่อมี สังฆทานมากขึ้น อุปกรณ์มากขึ้น จึงสร้างเป็นศูนย์สังฆทานต่อบุญ (ศูนย์ร่มโพธ์ิ) ปัจจัยแห่งความสาเร็จในการ เปล่ียนแปลงนคี้ ือการทาจริง ทาใหเ้ ห็น และเปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใส 8 วารสารสาธารณสุขมูลฐานภาคเหนือ

ดว้ ยอานิสงสส์ งั ฆทานตอ่ บญุ ภายหลัง ก็มีผู้มาบริจาค อุปกรณ์การแพทย์ เช่น ถังออกซิเจน เตียง รถเข็น จึงทาเร่ือง ใหม้ กี ารยืมอุปกรณ์การแพทย์ โดยอุปกรณ์เหล่าน้ีจะอยู่ท่ีศูนย์ ร่มโพธิ์ ซ่ึงเป็นศูนย์ดูแลผู้ป่วยภายในวัด ซึ่งมี อสม. ผู้ดูแล ผ้ปู ว่ ย (CG) และจิตอาสาผลดั กนั มาดูแลศนู ยแ์ ละดแู ลเรื่องการ ยืม-คนื อปุ กรณ์ ปัจจบุ นั ศูนย์ร่มโพธิ์เปิดให้ยืมอุปกรณ์และแจก ชุดสิ่งของสาหรบั ผปู้ ่วยครอบคลุมทั้งอาเภอพาน และขยายผล ไปสู่ศูนย์ของทุกตาบล โดยคนป่วยสามารถไปเบิกกับศูนย์ ตาบลได้ โดยไมม่ ขี ้อจากัดวา่ จะจนหรอื รวย ผปู้ ว่ ยมีสิทธ์ิเบิกได้ เท่ากัน สาหรับการบารุงรักษาอุปกรณ์การแพทย์ ได้รับความ ร่วมมือจากเจ้าหน้าที่ รพ.พาน ในการเข้ามาดูแล และมี เจ้าหน้าที่ให้คาแนะนาเกี่ยวกับการใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ทั้งน้ี ในการบริหารจัดการศูนย์ได้รับความร่วมมือจากคนใน ชุมชน หนว่ ยงานราชการในพ้ืนท่ี ตลอดจนภาคีเครอื ขา่ ย นอกจากนี้ยังมีหมอประจาศูนย์ โดยเป็นนักศึกษาแพทย์ ท่ลี งชมุ ชน เนอื่ งจากวัดรอ้ งหลอดเป็นสถานท่ีพักและฝึกอบรมของนักศึกษาแพทย์ของมหาวิทยาลัยเขตภาคเหนือ ตอนบน จะมีนักศึกษาแพทย์ของแต่มหาวิทยาลัยผลัดกันเข้ามาในพ้ืนที่ ครั้ง 5-10 คน คร้ังละ 10-30 วัน เป็นไป ตามแนวคดิ ท่วี า่ “ดงึ หมอมาอยู่กับเราดกี ว่าเราไปหาหมอ” “ บา้ นโบราณ แหล่งเรยี นรวู้ ิถชี ุมชน ” วัดร้องหลอด เป็น สถานท่ีพักและฝึกอบรมของนักศึกษาแพทย์ ในเขตภาคเหนือตอนบน ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยพะเยา และมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ท่ีจะสลับกันจัดนักศึกษามาเรียนรู้ ชุมชน ในการมาชุมชนของนักศึกษาเหล่าน้ี เพ่ือให้ทางเด็กได้เรียนรู้ชุมชน ทบทวนบทเรียนของตัวเอง เรียนรู้ การใช้ชีวิต วิถีชุมชน โดยวิธีการเรียนรู้นั้น ให้นักศึกษาได้เรียนรู้ผ่านการใช้ชีวิตเรียนรู้กับโยมวัด ชาวบ้าน 9 วารสารสาธารณสขุ มลู ฐานภาคเหนอื

ยวุ พทุ ธ ไม่เน้นการเรยี นร้กู ับปราชญ์ชาวบ้าน ในการลงชุมชนของนักศึกษาเหล่าน้ี ถือว่าเป็นให้ท้ังสองฝ่าย น่ันคือ ชุมชนใหก้ ารเรียนรู้แก่นักศึกษา และนักศึกษาเป็นผู้ให้มุมมองสะท้อนกลับสู่ชุมชน โดยวัดร้องหลอดมีบ้านโบราณ จานวน 3 หลงั เป็นบา้ นเรอื นไทยโบราณท่าร้างด้วยไม้ ประกอบด้วย ห้องนอน ห้องครัว ยุ้งข้าว ระเบียงบ้าน ปัจจุบัน ใชใ้ นการรองรบั การเขา้ พักของนักศกึ ษาแพทย์ทีเ่ ขา้ มาเรยี นรชู้ ุมชน โดยบ้านโบราณดังกล่าว ยังเปิดเป็นพิพิธภัณฑ์ บา้ นโบราณ ทส่ี ะสมเครอ่ื งมอื เคร่อื งใชต้ า่ ง ๆ เพอื่ ให้คนร่นุ หลังได้ศึกษาและเรียนรสู้ บื ต่อไป “ กาแฟหนา้ วดั ...ตลาดชมุ ชน ” แต่เดิมพ้ืนที่ที่เป็นตลาดนั้น เป็นพ้ืนท่ี ว่าง และมีชาวบ้านมาช่วยพัฒนาให้ พระครู พิศาลสังวรกุล จึงเลง็ เหน็ วา่ นา่ จะมตี ลาด มีของ กินของใช้ เพ่ือให้ผู้ที่มีจิตอาสาได้ประโยชน์จาก ตลาดน้ี จึงจัดพ้ืนที่ว่างดังกล่าวให้เป็นตลาด และชาวบ้านและกลุ่มผู้สูงอายุสามารถเข้ามา ขายสินค้าได้ อีกท้ังยังมอบสวัสดิการแก่ผู้ท่ี ทางานในศูนยร์ ่มโพธ์สิ ามารถรับประทานอาหาร กลางวันจากร้านค้าในตลาด เพื่อช่วยเหลือใน การกระจายรายได้ให้แก่ร้านค้า ทางด้านของ ร้านค้าเอง ก็ทาการขายโดยไม่หวังผลกาไร เพียงแตห่ วังไม่ให้ทางวดั ขาดทุนเทา่ นั้น ในส่วนของร้านกาแฟ “หน้าวัด Coffee” เพ่ือเป็นสถานท่ีพักผ่อนหย่อนใจ และบริการ นักทอ่ งเทย่ี ว พนักงานภายในรา้ นเป็นเยาวชนในชุมชน ซึ่งผลัดกันมาทาหน้าท่ีพนักงานประจาร้าน รายได้ท่ีได้ขาก การขายส่วนหน่ึงนาเข้ากองทุนศูนย์ร่มโพธ์ิ เพื่อจัดซ้ือของใช้จาเป็นสาหรับผู้ป่วย และส่วนหนึ่งจัดสรรเป็น ทนุ การศึกษาใหแ้ กย่ วุ พทุ ธ นอกจากนี้ วัดรอ้ งหลอดยังเป็นสถานท่ีสอนศิลปะล้านนา ได้แก่ ฟ้อนรา สะล้อ ซอ ซึง ให้แก่เด็ก เล็ก นักเรยี น และเยาวชน โดยครูภมู ปิ ัญญาและผูส้ งู อายุในพื้นที่ เพ่ือปลูกฝังวัฒนธรรมประเพณีวิถีชีวิตคนล้านนา ให้แก่คนรุ่นหลงั สืบไป จะเห็นได้ว่าชุมชนร้องหลอด เป็นชุมชนท่ีมีความเข้มแข็ง มีความมุ่งมั่นตั้งใจ กล้าคิด กล้าลงมือ ทา และเปดิ โอกาสใหค้ นในชมุ ชนเข้ามามีส่วนร่วมในทุกช่วงวัย บริหารจัดการชุมชนอย่างโปร่งใสและเคารพซึ่งกัน และกัน มกี ารประสานความร่วมมอื กับหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ท้งั ภายในและภายนอกชุมชน และส่ิงที่สาคัญท่ีสุดคือ เป็น ชมุ ชนท่ีมคี วามรักความผกู พนั ต่อทอ้ งถน่ิ และวฒั นธรรมล้านนา อนั จะเปน็ ต้นแบบในการพฒั นาใหแ้ กพ่ ้นื ที่อน่ื ต่อไป 10 วารสารสาธารณสขุ มูลฐานภาคเหนอื

11 วารสารสาธารณสขุ มูลฐานภาคเหนอื

บทเรยี นสรา้ งเสริมสขุ ภาพชมุ ชน ชุมชนหลากหลายทางวฒั นธรรม แต่นามาการจัดการระบบสุขภาพตนเองได้ “ เปน็ อยู่อย่างคนตาบลบ้านแซว ” วนิ ัย มูลจอ้ ย นกั วชิ าการสาธารณสุขชานาญการ โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบลบ้านแซว อาเภอเชียงแสน จังหวดั เชียงราย ข้อมลู ท่ัวไป จากนโยบายกระทรวงสาธารณสุขท่ีเกี่ยวข้องกับงานสุขภาพภาคประชาชนกล่าวไว้ “ระบบ สุขภาพปฐมภูมิต้องเข้มแข็งตั้งแต่รากหญ้าหรือปฐมภูมิ คนไทยทุกคนต้องมีหมอสามคนโดยจัดการระบบสุขภาพ แบบองค์รวม ท้ังร่างกาย จิตใจ สังคมและเช่ือมโยงกับระบบทุติยภูมิแบบไร้รอยต่อ”ตาบลบ้านแซวได้ถ่ายระดับ นโยบายดังกล่างลงท้ังระดับตาบล ระดับหมู่บ้าน และระดับครอบครัว ซึ่งแนวโน้มปัญหาของคนในตาบลแห่งน้ี ก่อนคือความหลากหลายทางวัฒนธรรม ซ่ึงมาสู่วิถีชีวิตทีไม่เหมือนกัน เช่น วัฒนธรรมการกิน การอยู่ การปฏิบัติ ตวั ความเช่อื ทางศานนา รวมถึงวฒั นธรรมการชว่ ยเหลือซึ่งกันและกัน เป็นปัญหาท่ีจะนามาสู่การจัดการแบบองค์ รวมได้ ตาบลบ้านแซว ซ่ึงได้จัดทาแนวท่ีว่าชุมชนหลากหลายทางวัฒนธรรม แต่นามาการจัดการระบบสุขภาพ ตนเองได้“เปน็ อยู่อยา่ งคนตาบลบ้านแซว” เราอย่ตู รงไหน ตาบลบ้านแซว ต้ังอยู่ทิศตะวันออกของอาเภอเชียงแสน มีพื้นที่ประมาณ 209 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 130,625 ไร่ โดยสว่ นใหญ่เปน็ พืน้ ทภี่ ูเขาสลับกบั ที่ราบหุบเขา ทร่ี าบลุ่มริมฝ่ังแม่น้ากกและแม่น้าโขง มชี ายแดนติดกับประเทศสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว อาณาเขต ทิศเหนอื ติดกบั สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ทิศตะวันออก ติดกับ อาเภอเชียงของ จงั หวัดเชียงราย และตาบลแมเ่ งนิ อ. เชียงแสน จ. เชียงราย ทิศตะวันตก ตดิ กบั ตาบลเวยี ง อาเภอเชยี งแสน จงั หวดั เชียงราย ทิศใต้ ติดกับ ตาบลหนองปา่ กอ่ อาเภอดอยหลวง จงั หวัดเชยี งราย 12 วารสารสาธารณสขุ มลู ฐานภาคเหนือ

แผนทีแ่ สดงอาณาเขต สาธารณรัฐสังคมนิยม แห่งสหภาพเมยี นมาร์ N อาเภอแมส่ าย แม่นา้ โขง แม่นา้ โขง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว อาเภอเชยี งของ ตาบลแมเ่ งิน สามเหล่ียมทองคา ตาบลศรีดอนมลู ตำบลเวียง อาเภอเชยี งแสน ตำบลป่ ำสัก แม่นา้ โขง ๑๐๑๖ ทะเลตสาาบบเชลยี โงยแนสนก วัดพระธำตุผำเงำ ๑๐๙๘ ลานา้ กก ๑๒๗๑ ตาบลบ้านแซว อาเภอแมจ่ นั ลานา้ กก ๑๐๙๘ เรามเี ศรษฐกจิ สงั คม และวฒั นธรรมแบบไหน มีการประกอบอาชีพเกษตรกรรม สวนยางพารา สวนผลไม้ เลี้ยงสัตว์ ประมง และท่องเท่ียวเชิง นเิ วศ ลกั ษณะทางสังคมเป็นตาบลทม่ี ีชนเผ่ามากถึง 9 ชนเผ่า ทั้งเผ่าพื้นราบ เผ่าอีสาน เผ่าพ้ืนที่สูง และเผ่าอพยพ มาจากดินแดนตอนใต้ของจีน วัฒนธรรมมีทั้งของล้านนาด้ังเดิมของชนเผ่าพ้ืนราบ ล้านนาประยุกต์ของชุมชน อีสาน วฒั นาธรรรมเผ่าจีน เผา่ ท่มี ีความเชือ่ วัฒนธรรมนับถอื บรรพบุรษุ และวฒั นธรรมไทยลื้อ โครงสร้างประชากร ทุกเผา่ เหมอื นกันคอื จานวนกลุ่มสงู อายุจะมากขึ้น และอยู่ในสังคมเดียว (ลูกหลานทางานนอกพ้ืนท่ีจะกลับมาเม่ือ มีประเพณีทางวฒั นธรรมของตนเอง) กล่มุ พึงพิงมากขึ้น รวมถงึ กลมุ่ ติดบ้านติดเตียง วัยท่ีเป็นจานวนมากยังเป็นวัย ทางาน เรามีแนวคิดพัฒนา/การหาทางเพ่ือแก้ไขปญั หาต้ังแตเ่ ม่อื ไหร่ จากการเขา้ มาของกองทนุ สปสช.ในระยะแรกเรายงั ไมม่ ีทศิ ทางว่าจะจัดการสุขภาพคนในตาบลอย่างผ่าน กองทุนนี้ แตพ่ อผา่ นไปได้ 3-4 ปี ประมาณปี 2554 ทาให้ตาบลเรามองเห็นทิศทางการจะช่วยเหลือคนในชุมชน ผา่ นเครอื่ งมือที่กองทุนดังกล่าวมอบเป็นแนวทางมา เราจึงทบทวนใหม่เร่ิมจากคณะกรรมการบริหารกองทุน และ เร่ิมออกข้อบังคับกองทุนตาบลเราท่ีครอบคลุมมากข้ึน ขณะเดียวกันมีการพัฒนาองค์ความรู้คณะกรรมการ การ แลกเปลีย่ นกับกองทุนท่จี ดั การได้ดี ควบค่กู ารการจดั ทาแผนยุทธศาสตร์สุขภาพตาบล (Strategic Route Map : SRM) มาเป็นเข็มทิศการทางาน โดยมุมมองด้านประชาชนระบุไว้ว่า “ประชาชนมีสุขภาพกายและใจท่ีดี, ประชาชนมกี ารเจบ็ ป่วยดว้ ยโรคเร้อื รัง/ไมเ่ รอื้ รงั ลดลง,ประชาชนมพี ฤติกรรมสขุ ภาพท่เี หมาะสม ,มีการกาจัดขยะท่ี ถูกต้องในชุมชน,ผู้พิการ/ผู้สูงอายุได้รับการดูแลที่ครอบคลุมมากขึ้น,มีการใช้สารเคมีลดลงและใช้สารชีวภาพเพิ่ม มากขน้ึ ,มีการใช้ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิ่นในการดแู ลสุขภาพประชาชนมสี ว่ นร่วมในชุมชน ไม่ทอดท้ิงกัน” ซ่ึงมาสอดคล้อง กบั นโยบาย พชอ.เชยี งแสนที่ระบุว่า “คนเชยี งแสนไมท่ อดทง้ิ กัน เชียงแสนเมอื งน่าอยู่” 13 วารสารสาธารณสุขมูลฐานภาคเหนือ

จากแนวคิด สถานการณด์ ังกล่าว ทาให้เราเร่ิมพัฒนาตนเองโดยใช้คาว่า “สุขภาพเป็นเร่ืองของประชาชน ทุกคน ประชาชน. แสดงบทบาทเป็นเชิงรุก (Active) ด้วยการมีส่วนร่วม. ในสุขภาพของตนเองและชุมชน. การ สรา้ งเสริมสขุ ภาพ คอื กระบวนการ เป็นพลวตั ิ” มาเปน็ แรงบนั ดาลใจคนทง้ั ตาบลเรมิ่ ...ขยับ  ประกาศตนเองว่าตาบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ ปี 2555 พร้อมกับจัดต้ังโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพ ชุมชนปี 2555 เอาชุมชนสอนชุมชน เช่น ชุมชนบ้านท่าขันทองเป็นเผ่าอีสานเป็นหมู่บ้านโดนเด่นด้านการ จัดการสิ่งแวดล้อม หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง มีอาชีพเสริมตลอดปี เช่น โฮมสเตย์ ถึงเวลาทางหน่วยงาน ประกวดมักจะชนะเลิศทุกระดับ (คาถามคือ ชุมชนจัดการชุมชนอย่างไรถึงได้ดีขนาดน้ี) เราถึงใช้หมู่บ้านนี้ เปน็ ฐานการเรยี นรู้ ให้ทกุ หมู่ในตาบลเรามาเรยี นแลว้ ไปพัฒนาตามจากนน้ั เรา...  จัดสรรงบกองทุน สปสช.ประเภทที่ 2 สนับสนุนกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น..ให้ทุกชุมชน เขียนโครงการที่เก่ียวขอ้ งกบั ส่ิงแวดลอ้ ม จดั การปัญหาขยะมลภาวะ และจดั การเร่อื งแหล่งแพร่โรค  ผลลัพธ์ คือหมู่บ้านหลายหมู่ขยับตนเองเป็นหมู่บ้านพออยู่พอกิน ยกระดับเป็นหมู่กองทุนแม่ของแผ่นดิน มีการดาเนินการตามหลักเศรษฐกิจเพียง ไข้เลือดออกลดลงแบบมีนัยสาคัญ การจัดการสิ่งแวดล้อมเร่ิม ปัญหาน้อยลง เช่น ขยะ น้าเสีย ซึ่งเราฐานะพ่ีเล้ียงระดับตาบลมีการจัดทาโครงการประกวดบ้านตัวอย่าง จัดการสง่ิ แวดลอ้ ม โดยให้ชมุ ชนคดั เลอื กบ้านทีด่ ที ส่ี ุดมาเปน็ ต้นแบบใหเ้ ราเข้าเย่ียม พร้อมมอบรางวัล/ป้าย ประกาศ วา่ “บ้านตัวอย่าง จัดการสิ่งแวดล้อม”หมู่ละ 1 หลังเพื่อเป็นตัวอย่างให้ชุมชนนั้น ๆ ได้เป็นแหล่ง เรยี นรู้  ด้านปราชญ์ชาวบ้านสอนชาวบ้าน เราแต่งตั้งคนที่มีเอามีองค์ความรู้มาเป็นครูนวัตกรรม เปิดสอนแบบใช้ ชมุ ชนเปน็ ห้องเรยี น เช่น ไร่นาสวนผสม รวมถึงหมอพื้นบ้านสมนุ ไพร  ผลลัพธ์ กลุ่มที่ผา่ นเรียนร้มู ีการปลกู สมุนไพรในพ้นื ทโี่ รงเรียนร้าง และผลิตลูกประคบขายให้กับคนในชุมชน ชุมชนเร่ิมรู้จักสมุนไพร แปรรูปเองมากข้ึน เช่นมีการทายาสมุนไพร มีการทายาหม่อง รู้จักทาสมุนไพร แช่เทา้  อสม.สอน อสม.เราส่งแกนนากลุ่มหนึ่งไปร่วมอบรม เรียนการเขียนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ และศึกษาวิธีการ เครอ่ื งมอื 7 ชนิ้ เพอ่ื นามาวเิ คราะหต์ นเอง  ผลลัพธ์ ทาให้ อสม.กลุ่มน้ีขยายองค์ความรู้จนทุกหมู่ในตาบลบ้านแซว เขียนโครงการตนเองเป็นไม่ งบประมาณมาจากแหล่งไหน พรอ้ มจดั ดาเนินการตามโครงการเอง สรุปโครงการเองวิเคราะห์ชุมชนตนเอง เป็น ซึ่งเปา้ หมายแรก ๆ ท่กี องทนุ เราตอ้ งการ  ตอ่ มา อสม.ไดร้ ับค่าป่วยการจากการทางานของกระทรวงสาธารณสุข ประมาณปี 2556 เราจึงมีแนวคิดว่า นา่ จะสละทรัพย์คนละบาทมาจัดตั้งกองทุนช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส ในชุมชนจึงมีมติจัดต้ัง “กองทุนเงินบาท เอื้อหนุนชนชนตาบลบ้านแซวเราพืน้ ” ในระยะแรกเงินที่พวกเราสละได้จานวนน้อย พวกเราจึงขยับเป็นคน ละ 5 บาท และขอสมทบไปทุกหน่วยงานในตาบลเรา รวมถึงพระสงฆ์ในรูปสงั ฆทานปันบญุ  ผลลัพธ์จากการจัดต้ัง เราบริหารรปู คณะกรรมการมีกรรมการจัดทาบัญชี กรรมการเบกิ จา่ ยเงิน 2/3 การใช้ เงินใหเ้ ป็นความตอ้ งการของกล่มุ เป้าหมาย เชน่ ของใช้ประจาวนั อาหาร เป็นตน้ โดยมีการใช้ในวงเงินที่เรา สมทบกัน ผ่านไป 9 ปี เราไดร้ ับความร่วมมือจากคนในชุมชนบริจาคทั้งงบประมาณ และของท่ีเราต้องการ เยี่ยม ตอนน้ีเรามีเงินกองทุนหลักหมื่นบาท และตอนน้ีกองทุนเรายังคงอยู่ เรายังเยี่ยมกันปกติ ถึงแม้ สถานการณ์โควดิ จะระบาดแต่เราลดจานวนคนเยย่ี ม “เราถอื วา่ สขุ ทั้งผู้ให้ สุขทั้งผู้รับ” ใน 1-2 ปีผ่านมาเรา ได้ร่วมขับเคล่ือนบ้านฮอมบุญพบโชคร่วมกบั พชอ.เชียงแสนจานวน 5 หลงั 14 วารสารสาธารณสุขมูลฐานภาคเหนอื

 ตอนเราไปเย่ียมเราพบว่ามีคนกลุ่มหน่ึงที่ติดบ้าน ติดเตียง ถ้าได้รับการฟื้นฟูสภาพ หรือกายภาพเบื้องต้น น่าจะให้คุณภาพชีวิตเขาน่าจะดีขึ้น เราจึงมาชักชวน อสม.ที่ผ่านหลักสูตรอบรมแพทย์แผนไทยจากสถาบัน ตา่ ง ๆ มารวมตัวกันและจดั ตง้ั “ชมุ รมนวดแผนไทยสายในชมุ ชนตาบลบา้ นแซวข้นึ ” ในปี 2556 โดยนาเข้า ที่ประชุมกองทุน สปสช.พร้อมเสนอว่าในแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์เขียนไว้ผู้สูงอายุ/พิการได้รับการดูแลที่ ครอบคลุมมากข้นึ ,มกี ารใชภ้ ูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นในการดแู ลสขุ ภาพประชาชนมสี ว่ นรว่ มในชุมชน ไม่ทอดท้ิงกัน” คณะกรรมการกองทุนจึงอนุมัติโครงการ นวดแผนไทยขึ้นโดยวัตถุประสงค์เพื่อจัดหาอุปกรณ์ เช่น หม้อนึ่ง ไฟฟ้า อุปกรณ์ป้องกันตัว และเวชภัณฑ์ ลูกประคบค่าตอบแทนเบ้ืองตนในการปฏิบัติงานตั้งแต่ ปงี บประมาณ 2557  ผลลัพธ์จากการจดั ต้ังชมรมนวดฯ ในระยะแรกมีกลุ่มทเี่ ราดูแล 32 คน ต่อมามีจานวนเพิ่มขึ้นทุกปี ส่วนใหญ่ เป็นกลุ่มสงู อายุ กลุ่มพกิ ารตอ่ เน่ือง กล่มุ อุบัติเหตุ และหลังพกั ฟ้ืน ใช้เคร่ืองมือท่ีเรียกว่าการประเมินกิจวัตร ประจาวัน (ADL) มาเปน็ เครอื่ งมอื การดูแล(ในตอนนั้น LTC) ยังไม่มี กิจกรรมมีการดูแลมีการเข้าถึงบริการที่ บ้าน มีการประเมินสุขภาพอย่างต่อเน่ืองทุก 3 เดือน มีการเยี่ยมเสริมพลังให้ผู้ดูแลท่ีบ้าน ต่อมามีสมาชิก เพ่ิมข้ึนมีการบริการตัดผมที่บ้านให้กลุ่มดังกล่าวถึงแม้จะผ่านไป 9 ปี กลุ่มจิตอาสานวดแผนไทยดังกล่าวยัง ดาเนินการต่อเน่ือง จะหยุดช่วงการระบาดโควิด 19 ตลอดระยะเวลา 9 ปีเราดูแลคนกลุ่มน้ีไปมากว่า 300 คน ทนี่ า่ ดีใจทาใหค้ นที่พิการจากเสน้ เลอื ดสมองแตก ตีบ กลบั มาใชช้ ีวิต เชน่ คนปกติ 15 คน  ซึ่งในระยะแรก ๆ ชมรมนวดได้ออกช่วยเหลือฟื้นฟูสภาพในระยะหนึ่ง พบว่ากลุ่มดังกล่าวตอบสนองการ ฟื้นฟูดีมากสิ่งท่ีขาดหายไปคือกายอุปกรณ์ช่วยเหลือเบ้ืองต้นซึ่งการขอสนับสนุนจากภาพรัฐ หรือกองทุน ต่างๆ ขาดความคล่องตัว โรงเรียนนวัติกรรมจึงริเร่ิมจัดตั้ง “ธนาคารกายอุปกรณ์ขึ้น” มีท้ังรูปแบบให้ฟรี เช่นเครื่องช่วยฟัง ให้ยืมล้อเข็น ถังออกซิเจน รวมถึงช่วยกันขอบริจาคผ่านสื่อต่างๆ ปัจจุบันเรามีกาย อุปกรณ์เพิ่มถึงขึ้นถึง 50 ชิ้น เรามีเคร่ืองผลิตออกซิเจนไฟฟ้า เรามีเครื่องดูดเสมหะ เรามีเบาะลมผ่านการ บรจิ าค ทุกคน ทุกเชื้อชาตเิ ข้าถงึ กายอุปกรณ์เราได้ เราเปิดบริการใหย้ ืมทุกวนั ราชการ และวันหยุดชว่ งเชา้ ฯ  ปี 2559 กองทุนสุขภาพตาบลเราประเมินมาตรฐานระดับ A+ เราเริ่มเห็นแหล่งงบประมาณท่ีจะมา ช่วยเหลือกลุ่มติดบ้านติดเตียง เราเริ่มศึกษารูปแบบแนวคิด กระบวนการกองทุนการดูแลผู้ป่วยระยะยาว (Long Term Care) LTC  เราจึงสมัครเข้าร่วมโครงการ และได้รับการพิจารณาปี 2560 ถือเป็นความสาเร็จของการความร่วมมือ ระหวา่ งทอ้ งถนิ่ กับ รพ.สต.เราเร่ิมตนเองจากวเิ คราะห์ 4 M M1=การบริหารจัดการกองทุน เราเร่ิมจากเปิดศูนย์ท่ีเรียกว่า “ศูนย์ประสานงานช่วยเหลือผู้ พิการ ผู้สูงอายุ”พรอ้ มร่างระเบียบ ขอ้ บังคับท่ีเกี่ยวข้อง มีการจดั ตง้ั กรรมการ 3 ชุดประกอบด้วย กรรมการชุดใหญ่ ตามข้อบังคับเพื่อกากับติดตามงาน กรรมการชุดที่ 2 คณะอนุกรรมการติดตามกองทุนการดูแลผู้ป่วยระยะยาว (Long Term Care) LTC ใช้ในการประเมิน กลั่นกรองแผน กรรมการชุดที่ 3 เป็นกรรมการที่ขับเคล่ือนกิจกรรม และคณะทางาน M2=คน มีการส่งบุคคลากรอบรม CM (Care Manager) จานวน 4 ท่าน เพ่ือใช้ในการทา แผนการดูแล (Care plan) และกากบั อบรม CG (Care giver) 6 ท่าน ตามหลกั สูตรกรมอนามัยเพื่อปฏิบัติงาน M3=เงิน งบประมาณเมื่อมีการประเมินกลุ่มเป้าหมายผ่านจะได้รับสนับสนุนจากกรมอนามัย เรียกวา่ กองทุนดแู ลผู้ป่วยระยะยาว ซ่ึงผู้ป่วยแต่ละรายได้รับจัดสรรไม่เท่ากัน แบ่งเป็น 4 กลุ่มตามการประเมินผล ของ CM ใช้เคร่ืองมือ ADL เป็นเครอี่ งในการบริหารจัดการคัดเลอื กผูป้ ว่ ยและแยกลมุ่ 15 วารสารสาธารณสขุ มลู ฐานภาคเหนอื

M4=การบรหิ ารจดั การ ในรปู คณะกรรมการ การตดิ ตามประเมนิ ผลการใชง้ บประมาณ และ ความสามารถการใช้(Care plan) จานวนกลุม่ เป้าหมายตงั้ ปี 2560-2564 กองทุนเรามีกล่มุ เปา้ หมายต้องดแู ล จานวน 21 ราย (ชาย /10 หญิง11) กลุม่ เปา้ หมายทีเ่ ข้ารว่ มโครงการ ประเมนิ ผลการให้บริการด้านสาธารณสุขสาหรับ จานวนผสู้ งู อายุ จานวนผูส้ งู อายุ รวม ผู้สูงอายุท่ีมภี าวะพึง่ พงิ กลุม่ ติดบ้าน (คน) กลุ่มติดเตียง (คน) (คน) กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 จานวนประเมนิ ADL<11 และคดั เลอื กเขา้ รว่ ม โครงการ 69 5 1 21 ได้รับบรกิ ารตามแผนการดแู ลรายบคุ คล (Care 4 (เสยี ชีวิต 2) 6 (เสยี ชีวติ 3) 5 1 16 Plan)จากทีม ความสามารถการใช้ Care Plan ของCG/CM จานวนผ้สู งู อายุ จานวนผู้สูงอายกุ ล่มุ รวม กลุ่มติดบ้าน (คน) ตดิ เตียง (คน) (คน) ได้รับบริการตามแผนการดูแลรายบุคคล (Care Plan) กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 จากทีม (ครัง้ ) (คร้ัง) กลุม่ 3 กลุม่ 4 (ครง้ั ) (ครง้ั ) 191 300 350 99 940 สถานการณ์โควิด-19 ทาให้การจัดการสุขภาพมุ่งเน้นการทางานเป็นทีม และเครือข่าย SRRT ท้ังระดับ ตาบล ระดบั หมู่บ้าน เรม่ิ มีบทบาทภายในการประสานงานของ ศปก.ต.บ้านแซว เรารู้เร็ว แจ้งข่าวเร็ว และควบคุม โรคเรว็ การจัดการเชงิ ระบบทาใหผ้ ลลพั ธ์มีมองเห็นรูป ดา้ นคน - กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเปราะบางมีเจ้าภาพดูแลโดยการบูรณาการทั้งภาครัฐ (จนท.สาธารณสุข) ภาคประชาชน (จติ อาสา) และอปท. (กองทนุ ) ทผี่ า่ นมาสามารถสรา้ งสุข สร้างความเข็มแข็ง ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม - ชุมชนปลอดภัย ชุมชนเข็มแข็ง มีการจัดการภายในทุกมิติ(กฎชุมชนเข็มแข็ง จิตอาสาคอย สอดส่อง) ด้านกระบวนการ - การทางานประสานแบบเครอื ข่าย อปท. (เจ้าภาพงบประมาณ) ผู้นา (เจ้าภาพนโยบายและการ ปฏิบัติ) ภาครัฐ(เจ้าภาพวิชาการ) ภาคประชาชน(เจ้าภาพกิจกรรม) โดยอาศัยเป้าหมายเดียวกัน ย่อมส่งผลด้าน บวก ปัญหาขอ้ จากดั - สงั คม/โรคระบาดทเ่ี ปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทาให้การปรับตัวของคนไม่เท่าทันเหตุการณ์ เช่น สถานการณก์ ารแพร่ระบาดโควิด-19 16 วารสารสาธารณสขุ มูลฐานภาคเหนอื

- องค์ความรทู้ ่ีจะถา่ ยทอดทเ่ี ปลีย่ นไป เชน่ การประชุมเชิงปฏิบัติการเน้นการฝึก การพูดคุย การ โต้ตอบสนทนา เปลย่ี นมาเปน็ ระบบออนไลน์ ปจั จยั แห่งความสาเร็จ -นโยบายระบบสุขภาพภาคประชาชนตาบลบ้านแซวท่ีชัดเจน มีการกาหนดจุดหมายร่วมกัน (ถึงแม้จะเปลย่ี นผบู้ รหิ าร แต่เป้าหมายเราไม่เปล่ยี น) - ข้อมูลทคี่ รอบคลุม /สามารถเชอื่ มโยงทกุ ระดับสามารถวิเคราะห์ปญั หาได้ครอบคลุม - มแี หล่งงบประมาณทชี่ ัดเจนเพียงพอ กองทุนทหี่ ลากหลาย กลายเปน็ จดุ เด่นเรา - ทมี สขุ ภาพภาคประชาชนทีเ่ สยี สละเราคิดท่านตาม และเปน็ จติ อาสา “คดิ แลว้ ลงมือทา” บทเรยี นสาคัญ - การกล้าท่ีเปล่ียนแปลง การยอมรับเครื่องมือใหม่ๆ ที่จะมาเป็นเข็มทิศพัฒนาอย่างเช่น ทีม ตาบลเรายอมรับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์/ยอมรับโรงเรียนนวัตกรรม แล้วทาร่วมกันทาให้ทุกคนมองว่าตนเองมี ส่วนร่วมทกุ ขัน้ ตอน - การบริหารงบประมาณกองทุนแบบธรรมาภิบาล เป็นการสร้างแรงผลักอยากให้ทุกคนมา ร่วมงาน - การยอมรบั ความสามารถซึ่งกันและกนั ท้ังรูปบคุ คล และองค์กรทาใหง้ านเคลอ่ื นเปน็ ระบบ - คาว่า”วางแผนดี มีชัยไปกว่าคร้ัง “ รู้เขา รู้เรา รู้ทันเหตุการณ์” ใช้ได้ทุกสถานการณ์ และทุก เรื่องทีจ่ าทา 17 วารสารสาธารณสขุ มลู ฐานภาคเหนอื

องค์ประกอบการปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถ่ินด้านสุขภาพ ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน จังหวัดสุโขทัย COMPONENTS OF PERFORMANCE LOCAL WISDOM CONCERNING HEALTH AMONG VILLAGE HEALTH VOLUNTEERS, SUKHOTHAI PROVINCE เพชรรตั น์ กิจสนาโยธนิ , อภญิ ญา จตุ ิตระกลู ชัย, จิตอนวุ ตั พุม่ มว่ ง สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สุโขทัย บทคัดยอ่ การวิจัยเชิงพรรณนาครง้ั น้มี ีวัตถปุ ระสงคเ์ พือ่ ศกึ ษาองค์ประกอบการปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้าน สุขภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน จังหวัดสุโขทัย กลุ่มตัวอย่าง คือ อาสาสมัครสาธารณสุขประจา หมู่บ้าน จังหวัดสุโขทัย จานวน 773 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบเป็นระบบ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสารวจ ผลการวิจัย พบว่า การปฏิบัติงานภูมิ ปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ได้แก่ การพัฒนา ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่นดา้ นสุขภาพ อธบิ ายความแปรปรวนไดร้ ้อยละ 63.3 การจัดการภูมิปัญญาท้องถ่ินด้านสุขภาพ อธิบาย ความแปรปรวนได้ร้อยละ 5.2 และการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถ่ินด้านสุขภาพ อธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 3.7 ท้งั 3 องคป์ ระกอบ สามารถอธิบายความแปรปรวน ไดร้ อ้ ยละ 77.3 คาสาคัญ : การปฏิบตั งิ าน ภมู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ ด้านสุขภาพ อาสาสมัครสาธารณสขุ ประจาหมู่บา้ น Abstract This descriptive research aimed to study the components of performance local wisdom concerning health among Village Health Volunteers in Sukhothai Province. The samples in the study were 773 Village Health Volunteers in Sukhothai Province. The systematic random sampling method was used for the sample selection. A questionnaire was used as the instrument for data collection. Descriptive statistics and explorative factor analysis were used for data analysis. The results revealed that the performance of local wisdom concerning health among Village Health Volunteers consists of 3 components as follows: Local wisdom concerning health development explained the variance at 63.3%, Local wisdom concerning health management explained the variance at 5.2%, and Local wisdom concerning health promotion explained the variance at 3.7%. These 3 components explained the total variance at 77.3% Keyword : Performance, Local wisdom concerning health, Village health volunteers 18 วารสารสาธารณสขุ มูลฐานภาคเหนือ

บทนา ท้ังนี้ การปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพเป็น ปัจจุบันการแพทย์แผนปัจจุบันเป็น ส่วนหนึ่งในบทบาทท่ีสาคัญของอาสาสมัครสาธารณสุข กระแสหลักในการดูแลสุขภาพของระบบสุขภาพไทย ประจาหมู่บ้าน จานวน 23 ลักษณะงาน (ยุทธนา แยบ ในขณะเดียวกันการดูแลสุขภาพด้วยภูมิปัญญาท้องถ่ิน คาย และปราโมทย์ วงศ์สวัสดิ์, 2563) โดยอาสาสมัคร ยังคงมีการเคล่ือนไหวในระบบสุขภาพร่วมกับองค์กร สาธารณสุขประจาหมู่บ้านปฏิบัติงานส่งเสริมชุมชนใน ต่าง ๆ ทาให้การดูแลสุขภาพกลับมาสู่ภาคประชาชน การฟื้นฟู สืบสาน และใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญา มากขึ้น เปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการ ท้องถิ่นด้านสุขภาพในชุมชน รวมทั้งการประยุกต์และ ดาเนินการด้านสุขภาพ มีการฟ้ืนฟูความรู้ท้องถ่ินและ พัฒนาภูมิปัญญาท้องถ่ินด้านสุขภาพให้สอดคล้องกับ ภูมปิ ญั ญาดงั้ เดมิ ส่งิ เหลา่ นก้ี ลบั มามีความสาคัญต่อการ บริบททางด้านสังคมเศรษฐกิจและวัฒนธรรมท่ี ดูแลสุขภาพซึ่งเป็นการพ่ึงพาตนเองทั้งในระดับ เปล่ียนแปลงไป ส่งเสริม สนับสนุนให้ชุมชนมีบทบาท ครัวเรือนและชุมชนเป็นการเพ่ิมทางเลือกในการดูแล ในจัดการระบบสุขภาพของชุมชนด้วยตนเอง และ สุขภาพอีกทางหนึ่ง สอดคล้องกับการแก้ไขปัญหา ส่งเสริมบทบาทชุมชนในการสนับสนุนเสริมสร้าง สาธารณสุขของประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2521 มา สถานภาพและใช้ประโยชน์จากหมอพื้นบ้านในชุมชน จนถึงปัจจุบัน (กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน, (กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ, 2561) เมื่ออาสาสมัคร 2557) โดยจะเน้นหลักการมีส่วนร่วมและการพึ่งตนเอง สาธารณสุขประจาหมู่บ้านท่ีสามารถปฏิบัติงานภูมิ ด้านสุขภาพของประชาชนมุ่งหมายให้ประชาชนมี ปญั ญาท้องถ่ินด้านสุขภาพได้โดดเด่นจนเป็นท่ีประจักษ์ ความสามารถในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว สามารถนาผลการดาเนินงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้าน ชุมชน สังคม และส่ิงแวดล้อม โดยชุมชนเพื่อชุมชนได้ สุขภาพเข้ารับการคัดเลือกและประเมินผลงาน อย่างย่งั ยืนดว้ ยจติ อาสา เต็มใจ และจติ สานึกทดี่ มี ีความ อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้านดีเด่น สาขาภูมิ ศรัทธาและมุ่งมั่นในการพัฒนา พบว่า กาลังหลักสาคัญ ปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ ซ่ึงเป็นไปตามแนวทางและ ที่มีความใกล้ชิดกับชุมชนมากที่สุดคือ อาสาสมัคร หลักเกณฑ์การคัดเลือกและประเมินผลงานอาสาสมัคร สาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) ซ่ึงเป็นผู้ที่ได้รับ สาธารณสุขประจาหมู่บ้านดีเด่น (กรมสนับสนุนบริการ ความไว้วางใจจากสมาชิกในครัวเรือน 10 - 15 หลังคา สขุ ภาพ, 2561) เรือนในการเป็นตัวแทนของจิตอาสาดูแลสุขภาพคนใน จ า ก ผ ล ก า ร คั ด เ ลื อ ก อ า ส า ส มั ค ร ชุมชน นอกจากนี้ ยังมีบทบาทสาคัญในฐานะผู้นาการ สาธารณสุขประจาหมู่บ้านดีเด่น ประจาปีพุทธศักราช เปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรมสุขภาพอนามัย (Change 2557-2564 จานวน 12 สาขา พบว่า อาสาสมัคร agents) การสื่อข่าวสารสาธารณสุข การแนะนา สาธารณสุขประจาหมู่บ้าน จังหวัดสุโขทัย ได้รับการ เผยแพรค่ วามรู้ การวางแผน และการประสานกิจกรรม คัดเลือกอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้านดีเด่น พัฒนาสาธารณสุข ตลอดจนให้บริการสาธารณสุขด้าน ระดับชาติ จานวน 4 คน อาสาสมคั รสาธารณสุขประจา ต่าง ๆ เช่น การส่งเสริมสุขภาพ การเฝ้าระวังและ หมู่บ้านดีเด่นระดับภาค จานวน 7 คน และอาสาสมัคร ป้องกันโรค การช่วยเหลือและรักษาพยาบาลข้ันต้น สาธารณสุขประจาหมู่บ้านดีเด่นระดับเขตสุขภาพ โดยใช้ยาและเวชภัณฑ์ตามขอบเขตที่กระทรวง จานวน 19 คน อย่างไรก็ตาม สาขาภูมิปัญญาท้องถ่ิน สาธารณสุขกาหนด การส่งต่อผู้ป่วยไปรับบริการ ด้านสุขภาพยังไม่เคยได้รับการคัดเลือกเป็นอาสาสมัคร สุขภาพ การฟ้ืนฟูสภาพ และการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน สาธารณสุขประจาหมู่บ้านดีเด่นระดับเขตสุขภาพ ภาค สขุ ภาพ (กรมสนบั สนุนบรกิ ารสุขภาพ, 2560) และชาติ (สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สุโขทยั , 2564) 19 วารสารสาธารณสุขมูลฐานภาคเหนอื

จากความสาคัญของปัญหาดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจในศึกษาการปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้าน สุขภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน และองค์ประกอบการปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ ของอาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมูบ่ า้ น จังหวดั สโุ ขทยั เพ่ือเป็นขอ้ มูลประกอบการกาหนดนโยบาย ทิศทาง และ ขอบเขตการปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้านให้มีความชัดเจน มากย่ิงข้ึน และการจัดทาแนวทางการพัฒนาผลการปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถ่ินด้านสุขภาพของอาสาสมัคร สาธารณสุขประจาหมู่บ้านให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตลอดจนพัฒนาผลการปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถ่ิน ด้านสุขภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้านดีเด่นระดับจังหวัดเพื่อเตรียมพร้อมสาหรับการเข้ารับการ คดั เลือกและประเมินผลงานอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้านดีเด่น สาขาภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพระดับ เขตสขุ ภาพ ภาค และชาตติ ่อไป วัตถปุ ระสงค์ มาแลว้ 6 เดือนขึน้ ไป และยินดีให้ข้อมูล ซ่ึงมีเกณฑ์การ เพื่อศกึ ษาองคป์ ระกอบการปฏิบัติงาน คัดออกคือ กลุ่มตัวอย่างมีอาการเจ็บป่วยรุนแรง ภูมิปัญญาท้องถ่ินด้านสุขภาพของอาสาสมัคร กะทันหัน ไม่สามารถให้ข้อมูลได้ และปฏิเสธหรือ สาธารณสขุ ประจาหมู่บ้าน จงั หวัดสุโขทยั ถอนตวั จากโครงการวจิ ยั วธิ กี ารศกึ ษา 2. เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยเป็น การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive แบบสอบถาม (Questionnaire) ท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึนจาก research) คร้ังนี้ ได้รับการพิจารณารับรองจาก การทบทวนวรรณกรรม แนวคิด และทฤษฎีเก่ียวข้อง คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ สานักงาน ประกอบดว้ ย 3 ส่วน ดังน้ี ส่วนท่ี 1 ข้อมูลคุณลักษณะทาง สาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย โครงการเลขท่ี COA No. 41/2021 เอกสารรับรองเลขที่ IRB No. 43/2021 ประชากร ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับ ลงวันท่ี 4 สิงหาคม 2564 วิธีทบทวนแบบยกเว้น การศึกษา อาชีพ รายได้เฉล่ียต่อเดือน จานวนหลังคา เรือนท่ีรับผิดชอบ ระยะเวลาในการเป็นอาสาสมัคร (Exemption review) 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่างคือ สาธารณสุขประจาหมู่บ้าน การมีตาแหน่งอื่นในชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน จังหวัดสุโขทัย และการฝกึ อบรมเกีย่ วกับภมู ิปัญญาท้องถ่ินด้านสุขภาพ จานวน 12,835 คน (กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ, จานวน 9 ข้อ ลักษณะคาถามเป็นเลือกตอบและเติมคา 2562) คานวณขนาดตัวอย่างด้วยสูตรการประมาณการ ลงในชอ่ งว่าง ส่วนที่ 2 คุณสมบัติเฉพาะด้านภูมิ ค่าเฉลี่ยประชากร (Daniel & Cross, 2013) ได้ขนาด ตัวอยา่ ง จานวน 702 คน โดยทาการสุ่มตัวอย่างสารอง ปัญญาท้องถ่ินด้านสุขภาพ ได้แก่ การสืบทอดทางภูมิ ไว้ ร้อยละ 10 รวมเป็นจานวน 773 คน ซึ่งสอดคล้อง ปญั ญา การจัดการสุขภาพโดยการใช้การแพทย์แผนไทย กับข้อตกลงเบื้องต้นของการกาหนดขนาดตัวอย่าง และภูมิปัญญาท้องถ่ินด้านสุขภาพ และกิจกรรมท่ี สาหรบั การวิเคราะห์องค์ประกอบท่ีควรมีขนาดตัวอย่าง ปฏิบัติอยู่ในชุมชน จานวน 3 ข้อ ลักษณะคาถามเป็น ม า ก ก ว่ า 2 0 0 ค น ขึ้ น ไ ป ( Hair,Black,Babin& เลือกตอบและเติมคาลงในช่องว่าง ส่วนที่ 3 การปฏิบัติงานภูมิปัญญา Anderson,2010)ใ ช้ ก า ร สุ่ ม แ บ บ เ ป็ น ร ะ บ บ (Systematic random sampling technique) โดยมี ท้องถ่ินด้านสุขภาพ ประกอบด้วยข้อคาถามเก่ียวกับ เกณฑ์การคัดเข้า คือ กลุ่มตัวอย่างอายุ 20 ปีบริบูรณ์ การแสดงออกถึงความรู้ เจตคติ และการลงมือปฏิบัติ ข้ึนไป มีสถานภาพการเป็นอาสาสมัครสาธารณสุข ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้านเกี่ยวกับ ประจาหม่บู ้าน มรี ะยะเวลาการปฏิบัติงาน 20 วารสารสาธารณสขุ มลู ฐานภาคเหนือ

เก่ียวกับการส่งเสริมชุมชนในการฟื้นฟู สืบสานและใช้ และวิเคราะห์หาองค์ประกอบการปฏิบัติงานภูมิปัญญา ประโยชน์จากภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพในชุมชน ท้องถ่ินด้านสุขภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจา รวมทั้งการประยุกต์และพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นด้าน หมู่บ้านโดยใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสารวจ สุขภาพให้สอดคล้องกับบริบททางด้านสังคมเศรษฐกิจ (Explorative Factor Analysis: EFA) ซึ่งเมื่อพิจารณา และวัฒนธรรมที่เปลี่ยนแปลงไป ส่งเสริม สนับสนุนให้ ค่าดัชนี Kaiser – Meyer - Olkin measure of sampling ชุมชนมีบทบาทในจัดการระบบสุขภาพของชุมชนด้วย adequacy (KMO) มีค่าเท่ากับ 0.982 แสดงว่าข้อมูลมี ตนเอง และส่งเสริมบทบาทชุมชนในการสนับสนุน ความเหมาะสมท่ีจะใช้ Factor analysis และค่า Bartlett’s เสริมสร้างสถานภาพและใช้ประโยชน์จากหมอพ้ืนบ้าน test of sphericity มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แสดง ในชุมชน จานวน 34 ข้อ เป็นแบบสอบถามชนิดมาตรา ว่าตัวแปรมีความเกี่ยวข้องกันจึงใช้ Factor analysis ส่วนประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับคือ ทุกคร้ัง วิเคราะห์ต่อได้ เลือกวิธีสกัดปัจจัยโดยหาองค์ประกอบ บอ่ ยคร้ัง บางคร้ัง น้อยครัง้ และไม่เคย โดยมีเกณฑ์การ หลัก (Principal component analysis) และหมุน ให้คะแนนคือ 5, 4, 3, 2 และ 1 คะแนน ตามลาดับ แกนแบบมุมฉาก (Orthogonal) ด้วยวิธีวาริแมกซ์ คะแนนเต็ม 170 คะแนน การแปลความหมายคะแนน (Varimax) นาไปแปลผลโดยพิจารณาจากค่าน้าหนัก การปฏิบัติงานแบ่งออกเป็น 3 ระดับ (Bloom, 1975) องค์ประกอบ (Factor loading) ที่ได้จากการหมุนแกน คือ การปฏิบัติงานอยู่ในระดับสูง ร้อยละ 80 ข้ึนไป แล้วเลือกตัวแปรท่ีมีน้าหนักปัจจัยมากที่สุดในแต่ละ การปฏิบัติงานอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 60 - 79 องค์ประกอบ จัดตัวแปรเข้าองค์ประกอบและพิจารณา และการปฏิบัติงานอยู่ในระดับต่า น้อยกว่าร้อยละ 60 ต้ังชื่อองค์ประกอบที่ได้ให้สอดคล้องกับลักษณะของตัว ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้เช่ียวชาญพิจารณา แปรท่ีอยู่ในองค์ประกอบน้ันแล้วนาเสนอตัวแปรท่ีได้ใน ความสอดคล้องด้วยค่าดัชนีความตรงตามเน้ือหา แตล่ ะองคป์ ระกอบ (กัลยา วานชิ ย์บัญชา, 2560) (Rovinelli & Hambleton, 1977) ระหว่าง 0.67 - 1.00 และตรวจสอบความเช่ือมั่นโดยใช้ค่าสัมประสิทธ์ิ ผลการศึกษา อัลฟาของครอนบาค (Cronbach, 1984) เท่ากับ 0.98 1. ข้อมูลคุณลักษณะทางประชากร 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยทา กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง หนังสือราชการถึงหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเพ่ือขอความ ร้อยละ 87.5 อายุเฉล่ีย 50.12 ปี สถานภาพสมรสมาก ร่วมมือเก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนสิงหาคมถึง ที่สุด ร้อยละ 73.6 รองลงมาคือ โสด ร้อยละ 11.4 ตุลาคม 2564 ผู้วิจัยลงพ้ืนที่เก็บข้อมูลด้วยตนเองโดย และน้อยที่สุดคือ หย่า/แยกกันอยู่ ร้อยละ 6.1 มีระดับ ใหก้ ล่มุ ตวั อย่างตอบแบบสอบถามด้วยตนเองและอัตรา การศึกษาประถมศึกษามากท่ีสุด ร้อยละ 35.8 การตอบกลับแบบสอบถาม ร้อยละ 100 ซึ่งใน รองลงมาคือ มัธยมปลาย/ประกาศนียบัตรวิชาชีพ แบบสอบถามไม่ระบุช่ือของกลุ่มตัวอย่างและลงนามลง (ปวช.) ร้อยละ 33.1 และน้อยที่สุดคือ ปริญญาโท ในเอกสารแสดงความยินยอมด้วยความเต็มใจ ร้อยละ 0.4 ประกอบอาชีพเกษตรกรรมมากที่สุด ร้อย การศึกษาคร้ังน้ีไมผ่ ลกระทบใด ๆ ต่อกลุ่มตัวอย่าง เมื่อ ละ 62.7 รองลงมาคือ รับจ้าง ร้อยละ 18.1 และน้อย ผู้วิจัยได้รับแบบสอบถามครบเรียบร้อยแล้วตรวจสอบ ท่ีสุดคือ พนักงานของรัฐ/รัฐวิสาหกิจ ร้อยละ 0.9 ความสมบูรณ์ ครบถ้วน และความถูกต้องของ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 5,348.53 บาทื จานวนหลังคา แบบสอบถาม ระบุรหัส บันทึกลงคอมพิวเตอร์แล้วนา เรือนท่ีรับผิดชอบเฉล่ีย 12 หลังคาเรือน ระยะเวลาใน ข้อมูลไปวิเคราะหผ์ ลการวิจัยในลาดับตอ่ ไป การเป็นอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน 13.67 4 . ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล ผู้ วิ จั ย ปี และได้รับฝึกอบรมเก่ียวกับภูมิปัญญาท้องถ่ินด้าน วิเคราะห์ข้อมูลคุณลักษณะทางประชากรโดยใช้สถิติ สุขภาพ รอ้ ยละ 78.5 การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐาน ค่าตา่ สดุ และค่าสงู สดุ 21 วารสารสาธารณสุขมลู ฐานภาคเหนอื

2. คณุ สมบตั ิเฉพาะด้านภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ินดา้ นสขุ ภาพ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ได้รับสืบทอดทางภูมิปัญญาท้องถ่ินด้านสุขภาพ ร้อยละ 84.3 ได้แก่ บรรพบุรุษ ร้อยละ 57.3 ครู/อาจารย์ ร้อยละ 33.4 ศึกษาค้นคว้าจากตารา ร้อยละ 1.3 และอ่ืน ๆ ร้อยละ 6.1 มี การถ่ายทอดองค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ ร้อยละ 82.0 ได้แก่ ลูก/หลาน ร้อยละ 48.1 กลุ่ม/ชมรม/ สมาคม ร้อยละ 13.8 ผู้สนใจท่ัวไป ร้อยละ 19.5 และลูกศิษย์ ร้อยละ 0.5 มีความสามารถเฉพาะด้าน ได้แก่ ด้าน สมุนไพร/สมุนไพรท้องถิ่น ร้อยละ 93.4 ด้านการนวดท้องถ่ิน/นวดพื้นบ้าน ร้อยละ 74.1 ด้านผดุงครรภ์พื้นบ้าน/ การดแู ลมารดาหลงั คลอด รอ้ ยละ 49.4 ด้านหมอพ้ืนบ้าน ร้อยละ 64.3 และด้านพิธีกรรมเกี่ยวกับสุขภาพ ร้อยละ 37.3 และมกี ารใชส้ มนุ ไพร รอ้ ยละ 98.8 3. องค์ประกอบการปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถ่ินด้านสุขภาพของอาสาสมัครสาธารณสุข ประจาหม่บู ้าน ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบ พบว่า องค์ประกอบที่ไม่มีความสัมพันธ์กันและมีอิสระต่อกัน จานวน 3 องค์ประกอบ เมื่อพิจารณาค่าไอเกน (Eigenvalues) มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 1 ซ่ึงมีค่าไอเกนต้ังแต่ 1.266-23.234 และองคป์ ระกอบท้งั หมดสามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 77.3 ดงั ตาราง 1 ตาราง 1 คา่ ไอเกน ค่าร้อยละของความแปรปรวน และค่าร้อยละสะสมของความแปรปรวนในแต่ละองค์ประกอบ การปฏบิ ตั ิงานภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นดา้ นสุขภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมบู่ า้ น องค์ประกอบ ค่าไอเกน ค่าร้อยละของความ คา่ รอ้ ยละสะสมของ (Component) (Eigenvalues) แปรปรวน ความแปรปรวน (% of Variance) (% of Variance) 1 23.234 68.335 37.621 2 1.782 5.240 60.068 3 1.266 3.724 77.299 ผู้วิจัยได้ต้ังชื่อองค์ประกอบการปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพของอาสาสมัคร สาธารณสุขประจาหมู่บ้านให้คล้ายคลึงกันกับตัวแปรท่ีอยู่ในแต่ละองค์ประกอบคือ องค์ประกอบที่ 1 การพัฒนา ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพมีตัวแปรย่อย 22 ตัวแปรอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 63.3 น้าหนักปัจจัยมีค่า ตั้งแต่ 0.603 - 0.838 องค์ประกอบที่ 2 การจัดการภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพมีตัวแปรย่อย 9 ตัวแปรอธิบาย ความแปรปรวนได้ร้อยละ 5.2 น้าหนักปัจจัยมีค่าต้ังแต่ 0.622 – 0.787 และองค์ประกอบที่ 3 การส่งเสริมภูมิ ปญั ญาทอ้ งถิ่นด้านสุขภาพ มีตัวแปรย่อย 3 ตัวแปรอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 3.7 น้าหนักปัจจัยมีค่าต้ังแต่ 0.700 - 0.731 ดังตาราง 2 ตาราง 2 คา่ นา้ หนกั ปัจจยั (Factor loading) ของตัวแปรการปฏบิ ัติงานภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่นดา้ นสขุ ภาพของ อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหม่บู า้ นทอ่ี ธิบายลกั ษณะแตล่ ะองคป์ ระกอบ ลาดบั ที่ การปฏิบัติงานภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ด้านสุขภาพ คา่ นา้ หนกั ปัจจยั องค์ประกอบท่ี 1 การพฒั นาภมู ิปัญญาท้องถ่ินดา้ นสขุ ภาพ 1 นาภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพมาผสมผสานกับองค์ความรู้สมัยใหม่ไป 0.838 ประยุกตใ์ ชใ้ นการปฏบิ ัติงาน 22 วารสารสาธารณสขุ มูลฐานภาคเหนือ

ลาดับที่ การปฏบิ ตั งิ านภูมิปญั ญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ ค่านา้ หนักปัจจัย องค์ประกอบที่ 1 การพัฒนาภูมิปัญญาท้องถนิ่ ด้านสขุ ภาพ 2 นาภูมิปัญญาท้องถ่ินด้านสุขภาพมาต่อยอดหรือพัฒนาเป็นนวัตกรรมในการ 0.816 ปฏิบตั ิงาน 0.797 3 พัฒนาภูมิปัญญาท้องถ่ินด้านสุขภาพให้สอดคล้องกับบริบททางด้านสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมทเี่ ปล่ยี นแปลงไป 0.767 4 ประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพให้สอดคล้องกับบริบททางด้านสังคม เศรษฐกจิ และวฒั นธรรมท่ีเปลี่ยนแปลงไป 0.765 5 ส่งเสรมิ และสนับสนุนให้หมู่บ้าน/ชุมชน ฟื้นฟูภูมิปัญญาท้องถ่ินด้านสุขภาพท่ีมีอยู่ใน หมู่บ้าน/ชมุ ชน 6 ส่งเสริมและสนับสนุนให้หมู่บ้าน/ชุมชน สืบสานหรือต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่นด้าน 0.759 สุขภาพทีม่ ีอย่ใู นหมู่บา้ น/ชมุ ชน 0.750 7 ส่งเสริมและสนับสนุนให้หมู่บ้าน/ชุมชน ใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาท้องถ่ินด้าน สุขภาพทีม่ ีอยใู่ นหมบู่ ้าน/ชุมชน 8 ส่งเสริมและสนับสนุนให้หมู่บ้าน/ชุมชน มีการจัดการระบบสุขภาพชุมชนด้วยภูมิ 0.747 ปญั ญาท้องถ่นิ ดา้ นสขุ ภาพ 0.746 9 สรา้ งการมีส่วนรว่ มใหห้ มู่บา้ น/ชุมชน ไดเ้ ข้ามาร่วมคิด ร่วมทา และร่วมสนับสนุนการ ดาเนนิ งานภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ ดา้ นสุขภาพ 10 สรา้ งการมีส่วนรว่ มให้หมู่บา้ น/ชมุ ชน มาเปน็ เจา้ ของภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ ด้านสขุ ภาพ 0.708 11 ประสานความรว่ มมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ผู้นาท้องท่ี ผู้นาท้องถ่ิน 0.693 องคก์ รและภาคีเครอื ขา่ ยตา่ ง ๆ ในการดูแลสขุ ภาพประชาชนด้วยภมู ิปัญญาท้องถ่ิน 12 สร้างจิตสานึกของประชาชนและบรรยากาศที่เอ้ืออานวยต่อภูมิปัญญาท้องถิ่นด้าน 0.681 สขุ ภาพ 0.681 13 สรา้ งโอกาสใหก้ ล่มุ ต่าง ๆ ในหมู่บ้าน/ชุมชน เช่น กลุ่มท่ัวไป กลุ่มผู้ป่วย กลุ่มเสี่ยง กลุ่ม เด็กและเยาวชน กลุ่มผู้ด้อยโอกาส กลุ่มผู้นาชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมในด้านภูมิปัญญา ทอ้ งถน่ิ ดา้ นสขุ ภาพ 0.665 14 สร้างหรอื พัฒนาศูนย์การเรยี นรูภ้ ูมิปญั ญาท้องถิ่นดา้ นสุขภาพที่มีอยู่ในหม่บู ้าน/ชมุ ชน 15 สร้างหรือขยายเครือข่ายภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ไปยัง 0.662 หมบู่ ้าน/ชมุ ชนอื่น ๆ 0.658 16 ส่งเสริมและสนับสนุนให้หมอพ้ืนบ้านเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของคนใน หมูบ่ า้ น/ชุมชน 17 เตรียมและรเิ ริม่ มาตรการทางสังคมดา้ นสุขภาพดว้ ยภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่นด้านสุขภาพ 0.654 18 มีส่วนร่วมในการจัดทาแผนสุขภาพชุมชน/ตาบลเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถ่ินด้าน 0.643 สุขภาพ 23 วารสารสาธารณสขุ มลู ฐานภาคเหนอื

ลาดบั ท่ี การปฏิบตั ิงานภมู ิปัญญาท้องถ่ินด้านสุขภาพ ค่าน้าหนักปัจจยั องค์ประกอบท่ี 1 การพฒั นาภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่นดา้ นสขุ ภาพ 0.624 0.605 19 ส่งเสริมบทบาทของหมู่บ้าน/ชุมชน ในการดูแลสุขภาพด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นด้าน สขุ ภาพ 0.603 0.603 20 นาตน้ ทนุ หรอื ผลผลิตต่างๆ ในท้องถิ่นร่วมกับการใช้ภูมิปัญญาท้องถ่ินด้านสุขภาพมา ใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพเพ่ือสร้างงาน สร้างอาชีพ และสร้าง 0.787 รายได้ในหมบู่ ้าน/ชมุ ชน 0.750 21 บริหารจัดการ ติดตามกากับ ประเมินผล และให้คาช้ีแนะในกระบวนการจัดการภูมิ 0.737 ปัญญาทอ้ งถิ่นดา้ นสุขภาพ 0.722 0.696 22 นาภูมิปัญญาท้องถ่ินด้านสุขภาพมาผสมผสานกับกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน 0.658 ก่อใหเ้ กิดการต่อยอดเป็นกิจกรรมใหม่ 0.647 องคป์ ระกอบท่ี 2 การจดั การภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ ด้านสขุ ภาพ 0.646 1 วิเคราะห์และประเมินการเจ็บป่วยของตนเองอย่างเหมาะสมว่าจะใช้ภูมิปัญญา 0.622 ทอ้ งถ่นิ ดา้ นสขุ ภาพหรือพิจารณาส่งต่อหนว่ ยบริการสุขภาพใกล้บา้ น 2 วิเคราะห์และประเมินการเจ็บป่วยของสมาชิกในครอบครัวและประชาชนในละแวก บ้านท่ีรับผิดชอบอย่างเหมาะสมว่าจะใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพหรือพิจารณา สง่ ตอ่ หนว่ ยบริการสขุ ภาพใกล้บา้ น 3 เฝ้าระวงั พฤติกรรมของประชาชนด้วยภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ ด้านสุขภาพ 4 ใช้ภูมิปัญญาท้องถ่ินด้านสุขภาพในการส่งเสริมสุขภาพของตนเอง สมาชิกใน ครอบครัว และประชาชนในละแวกบ้านทร่ี ับผิดชอบ 5 ใช้ภูมิปัญญาท้องถ่ินด้านสุขภาพในการป้องกันโรคของตนเอง สมาชิกในครอบครัว และประชาชนในละแวกบา้ นทรี่ บั ผิดชอบ 6 ใช้ภูมิปญั ญาท้องถิ่นด้านสุขภาพในการรักษาสุขภาพของตนเอง สมาชิกในครอบครัว และประชาชนในละแวกบา้ นท่ีรบั ผิดชอบ 7 ใชภ้ ูมิปญั ญาท้องถิน่ ด้านสุขภาพในฟน้ื ฟูสขุ ภาพกลุ่มผู้ป่วย กลุ่มผู้ด้อยโอกาส สมาชิก ในครอบครวั และประชาชนในละแวกบา้ นทรี่ บั ผดิ ชอบ 8 ถ่ายทอดประสบการณ์หรือองค์ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพให้กลุ่ม ตา่ ง ๆ ในหมู่บ้าน/ชุมชน เชน่ กลุ่มท่ัวไป กลุ่มผู้ป่วย กลุ่มเสี่ยง กลุ่มเด็กและเยาวชน กลมุ่ ผู้ดอ้ ยโอกาส กลมุ่ ผนู้ าชุมชน 9 สรา้ งการมสี ่วนร่วมในการปรับเปลย่ี นพฤติกรรมของประชาชนด้วยภูมิปัญญาท้องถ่ิน ดา้ นสุขภาพ 24 วารสารสาธารณสขุ มูลฐานภาคเหนือ

ลาดบั ท่ี การปฏบิ ัติงานภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่นด้านสขุ ภาพ ค่านา้ หนักปัจจัย องค์ประกอบที่ 3 การส่งเสรมิ ภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ดา้ นสขุ ภาพ 1 รวบรวมและอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพท่ีมีอยู่ในชุมชน เช่น หมอพื้นบ้าน 0.731 การนวดพ้นื บา้ น การนวดพนื้ บ้าน ตารายาโบราณ สมนุ ไพร ฯลฯ 2 จัดการองค์ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถ่ินด้านสุขภาพโดยมีจดบันทึก รวบรวม 0.706 และเผยแพร่ เช่น สมุนไพร/สมุนไพรท้องถ่ิน การนวดท้องถ่ิน/นวดพื้นบ้าน ผดุง ครรภ์พ้นื บ้าน/การดูแลมารดาหลงั คลอด หมอพ้ืนบา้ น พธิ ีกรรมเกย่ี วกบั สุขภาพ ฯลฯ 0.700 3 สารวจหรือค้นควา้ องค์ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพจากแหล่งต่าง ๆ ในพน้ื ที่/หมู่บ้าน/ชมุ ชน 4. การปฏิบตั ิงานภูมิปญั ญาท้องถิ่นดา้ นสุขภาพของอาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจาหม่บู า้ น กลุ่มตัวอย่างมีการปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพอยู่ในระดับต่า ร้อยละ 74.1 ได้แก่ องค์ประกอบท่ี 1 การพัฒนาภูมิปัญญาท้องถ่ินด้านสุขภาพอยู่ในระดับต่า ร้อยละ 74.3 องค์ประกอบท่ี 2 การ จัดการภูมิปัญญาท้องถ่ินด้านสุขภาพอยู่ในระดับต่า ร้อยละ 68.3 และองค์ประกอบที่ 3 การส่งเสริมภูมิปัญญา ท้องถน่ิ ดา้ นสุขภาพอยู่ในระดับตา่ ร้อยละ 56.1 ดงั ตาราง 3 ตาราง 3 จานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จาแนกตามระดับการปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ ของอาสาสมัครสาธารณสขุ ประจาหมบู่ า้ น (n = 773) จานวน (ร้อยละ) ตัวแปร ± S.D. ระดบั สงู ระดับปาน ระดบั ตา่ กลาง การปฏบิ ัตงิ านภมู ิปญั ญาทอ้ งถนิ่ ด้านสขุ ภาพ 82.73 ± 28.53 573 (74.1) การพฒั นาภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ ด้านสขุ ภาพ 51.18 ± 19.84 49 (6.3) 151 (19.5) 574 (74.3) การจดั การภมู ิปญั ญาท้องถ่ินด้านสขุ ภาพ 23.43 ± 7.35 528 (68.3) การสง่ เสรมิ ภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ ด้านสขุ ภาพ 8.12 ± 2.82 51 (6.6) 148 (19.1) 434 (56.1) 68 (8.8) 177 (22.9) 118 (15.3) 221 (28.6) อภิปรายผล ทอ้ งถน่ิ ด้านสขุ ภาพ องค์ประกอบท่ี 1 การพัฒนาภูมิ การปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้าน สุขภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน ปัญญาท้องถ่ินด้านสุขภาพอยู่ในระดับต่า อาสาสมัคร ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ โดยองค์ประกอบที่ 1 สาธารณสขุ ประจาหมู่บ้านปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถิ่น การพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพมีค่าความ ด้านสุขภาพน้อยกว่า 4 คร้ังต่อเดือนซึ่งไม่เป็นไปตาม แปรปรวนมากท่ีสุด รองลงมาคือ องค์ประกอบท่ี 2 เกณฑ์ที่กาหนดไว้อย่างน้อย 4 คร้ังต่อเดือน (ประกาศ การจดั การภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ด้านสุขภาพ และน้อยที่สุด กระทรวงสาธารณสุข คอื องค์ประกอบที่ 3 การสง่ เสริมภมู ปิ ัญญา 25 วารสารสาธารณสขุ มลู ฐานภาคเหนอื

เรื่อง สิทธิได้รับเงินค่าป่วยการในการปฏิบัติหน้าท่ีของ ส่งเสริมและสนับสนุนให้หมอพ้ืนบ้านเข้ามามีส่วนร่วม อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน พ.ศ. 2564, 23 ในการดูแลสุขภาพของคนในหมู่บ้าน/ชุมชน ส่งเสริม สิงหาคม 2564, หน้า 2-4) ท้ังนี้ อาสาสมัคร บทบาทของหมู่บ้าน/ชุมชน ในการดูแลสุขภาพด้วยภูมิ สาธารณสุขประจาหมู่บ้านควรปฏิบัติงานภูมิปัญญา ปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ ตลอดจนสร้างการมีส่วน ท้องถ่ินด้านสุขภาพมากกว่า 4 คร้ังต่อเดือนหรืออย่าง ร่วมให้หมู่บ้าน/ชุมชน ได้เข้ามาร่วมคิด ร่วมทา และ น้อย 1 คร้ังต่อสัปดาห์ข้ึนไป องค์ประกอบน้ีให้ ร่วมสนับสนุนการดาเนินงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้าน ค ว า ม ส า คั ญ ต่ อ ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง อ า ส า ส มั ค ร สุขภาพก่อให้เกิดความเป็นเจ้าของภูมิปัญญาท้องถ่ิน สาธารณสขุ ประจาหมูบ่ า้ นในการเพิ่มความสามารถของ ด้านสุขภาพ ท้ังนี้ อาสาสมัครสาธารณสุขประจา บุ ค ค ล ใ น ก า ร ตั ด สิ น ใ จ แ ล ะ เ ลื อ ก ป ฏิ บั ติ ล ด เ ส่ี ย ง หมู่บ้านควรสามารถบริหารจัดการ ติดตามกากับ สนับสนนุ ใหป้ รบั สภาพแวดล้อมให้เอ้ือต่อการลดโอกาส ประเมินผล และให้คาชี้แนะในกระบวนการจัดการภูมิ เสี่ยงและไม่เอื้อต่อการมีพฤติกรรมสุขภาพเส่ียง ปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ เตรียมและริเร่ิมมาตรการ ตลอดจนการเข้าถึงการบริการส่งเสริมเทคนิควิธีปฏิบัติ ทางสังคมด้านสุขภาพด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นด้าน โดยดาเนินการอย่างต่อเนื่องจนทาให้เกิดการปรับปรุง สุขภาพ มีส่วนร่วมในการจัดทาแผนสุขภาพชุมชน/ สถานะสุขภ าพในบุคคลหรือกลุ่มคนในชุมช น ตาบลเก่ียวกับภูมิปัญญาท้องถ่ินด้านสุขภาพ ประสาน ประสานงานร่วมกับภาคีเครือข่ายโดยระดมทรัพยากร ความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.) และภูมิปัญญาท้องถิ่นผ่านกระบวนการร่วมคิดร่วมทา ผูน้ าทอ้ งที่ ผู้นาท้องถน่ิ องคก์ รและภาคเี ครือข่ายต่าง ๆ ในชมุ ชนอย่างเป็นระบบ และการมีสว่ นรว่ มของทุกภาค ในการดูแลสุขภาพประชาชนด้วยภูมิปัญญาท้องถ่ิน ส่วนที่เน้นชุมชนเป็นศูนย์กลาง (กรมสนับสนุนบริการ พร้อมท้ังสร้างหรือพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ภูมิปัญญา สุขภาพ, 2556) โดยนาภูมิปัญญาท้องถ่ินด้านสุขภาพ ท้องถ่ินด้านสุขภาพที่มีอยู่ในหมู่บ้าน/ชุมชนและขยาย มาผสมผสานกับองค์ความรู้สมัยใหม่ไปประยุกต์ใช้ใน เครือข่ายภูมิปัญญาท้องถ่ินด้านสุขภาพเพ่ือแลกเปล่ียน การปฏบิ ัตงิ าน ต่อยอดหรือพัฒนาเป็นนวัตกรรมในการ เรียนรู้ไปยังหมู่บ้าน/ชุมชนอ่ืน ๆ ซ่ึงมีความเหมาะสม ปฏิบัติงาน ประยุกต์ใช้และพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น และเป็นไปตามหลักเกณฑ์การปฏิบัติงานภูมิปัญญา ด้านสุขภาพให้สอดคล้องกับบริบททางด้านสังคม ท้องถ่ินด้านสุขภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจา เศรษฐกจิ และวฒั นธรรมท่เี ปลย่ี นแปลงไป สง่ เสริมและ หมบู่ า้ นดีเด่น (กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ, 2561) สนับสนุนให้หมู่บ้าน/ชุมชนฟ้ืนฟู สืบสานหรือต่อยอด สอดคล้องกับบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขประจา และใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาท้องถ่ินด้านสุขภาพท่ีมี หมู่บ้านยุคใหม่ มาตรฐานสมรรถนะของอาสาสมัคร อยู่ในหมู่บ้าน/ชุมชนโดยจัดการระบบสุขภาพชุมชน สาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (กรมสนับสนุนบริการ ด้วยภูมิปัญญาท้องถน่ิ ด้านสขุ ภาพ นาภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน สุขภาพ, 2556) และองค์ประกอบการพัฒนาสุขภาพ ด้านสุขภาพมาผสมผสานกับกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน ชุมชนตามบทบาทการปฏิบัติงานควบคุมและป้องกัน ก่อใหเ้ กดิ การต่อยอดเปน็ กิจกรรมใหม่ รวมทั้งนาต้นทุน โรคไม่ติดต่อเร้ืองรังของอาสาสมัครสาธารณสุขประจา หรือผลผลิตต่างๆ ในท้องถ่ินร่วมกับการใช้ภูมิปัญญา หมู่บ้าน (พงศธร เหลือหลาย, 2564) ท้องถ่ินด้านสุขภาพมาใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่าและมี ประสิทธิภาพเพอ่ื สร้างงาน สร้างอาชพี และสร้างรายได้ องค์ประกอบที่ 2 การจัดการภูมิ ในหมู่บ้าน/ชุมชน อีกท้ังสร้างจิตสานึกของประชาชน ปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพอยู่ในระดับต่า อาสาสมัคร และบรรยากาศท่ีเอ้ืออานวยต่อภูมิปัญญาท้องถ่ินด้าน สาธารณสุขประจาหมู่บ้านปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถิ่น สุขภาพ สร้างโอกาสให้กลุ่มต่าง ๆ ในหมู่บ้าน/ชุมชน ด้านสุขภาพน้อยกว่า 4 คร้ังต่อเดือนซ่ึงไม่เป็นไปตาม เช่น กลุ่มท่ัวไป กลุ่มผู้ป่วย กลุ่มเสี่ยง กลุ่มเด็กและ เกณฑ์ที่กาหนดไว้อย่างน้อย 4 ครั้งต่อเดือน (ประกาศ เยาวชน กลมุ่ ผูด้ ้อยโอกาส กลุ่มผนู้ าชมุ ชน เข้ามามีส่วน กระทรวงสาธารณสขุ เรือ่ ง สิทธิได้รับเงินค่าป่วยการใน รว่ มในดา้ นภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่นดา้ นสขุ ภาพ กา ร ปฏิ บั ติ หน้ า ที่ข อ ง อา ส า สมั ค รส า ธ าร ณ สุ ข ประจาหมู่บ้าน พ.ศ. 2564, 23 สิงหาคม 2564 26 วารสารสาธารณสขุ มูลฐานภาคเหนอื

, หนา้ 2-4) ทั้งนี้ อาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (พงศธร เหลอื หลาย, 2564) ควรปฏบิ ัตงิ านภมู ปิ ัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพมากกว่า 4 องค์ประกอบที่ 3 การส่งเสริมภูมิ คร้ังต่อเดือนหรืออย่างน้อย 1 คร้ังต่อสัปดาห์ขึ้นไป องค์ประกอบนี้ให้ความสาคัญต่อการปฏิบัติงานของ ปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพอยู่ในระดับต่า อาสาสมัคร อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้านในการบริหาร สาธารณสุขประจาหมู่บ้านปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถ่ิน จัดการทุนมนุษย์และองค์ความรู้ท่ีมีอยู่ในชุมชนเพื่อใช้ ด้านสุขภาพน้อยกว่า 4 คร้ังต่อเดือนซ่ึงไม่เป็นไปตาม ในการดูแลสุขภาพได้อย่างเหมาะสมและเป็นแกนนา เกณฑ์ที่กาหนดไว้อย่างน้อย 4 ครั้งต่อเดือน (ประกาศ ดาเนินการจัดการสุขภาพด้วยภูมิปัญญาท้องถ่ินด้าน กระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง สิทธิได้รับเงินค่าป่วยการใน สุขภาพ ให้คาช้ีแนะ ประสาน มอบหมายงาน และ การปฏิบัติหน้าที่ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจา ควบคุมทีมงานให้ดาเนินงานไปตามแผนได้สาเร็จพร้อม หมู่บ้าน พ.ศ. 2564, 23 สิงหาคม 2564, หน้า 2-4) ท้ังสามารถจัดการตนเอง จัดการครอบครัว จัดการ ทั้งนี้ อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้านควร ชุมชน และประเมินผลการดาเนินงานแบบมีส่วนร่วม ปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพมากกว่า 4 (กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ, 2556)โดยการเฝ้าระวัง ครั้งต่อเดือนหรืออย่างน้อย 1 ครั้งต่อสัปดาห์ขึ้นไป พฤติกรรมและสร้างการมีส่วนร่วมในการปรับเปล่ียน องค์ประกอบนี้ให้ความสาคัญต่อการปฏิบัติงานของ พฤติกรรมของประชาชนด้วยภูมิปัญญาท้องถ่ินด้าน อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้านในการส่งเสริม สุขภาพ วิเคราะห์และประเมินการเจ็บป่วยของตนเอง และสนับสนุนให้มีการพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นด้าน สมาชิกในครอบครัว และประชาชนในละแวกบ้านท่ี สุขภาพให้เกิดประโยชน์สูงสุดครอบคลุมการส่งเสริม รับผิดชอบอย่างเหมาะสมว่าจะใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น สุขภาพ การป้องกนั และควบคุมโรค การรักษาพยาบาล ด้านสุขภาพหรือพิจารณาส่งต่อหน่วยบริการสุขภาพ และการฟ้ืนฟูสุขภาพ (รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ใกล้บ้าน ใช้ภูมิปัญญาท้องถ่ินด้านสุขภาพในการ ไทย, 6 เมษายน 2560, หน้า 1-90) มีการต่อยอดและ ส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และการรักษาสุขภาพ นาไปใช้ประโยชน์อย่างต่อเน่ือง (กรมการแพทย์แผน ของตนเอง สมาชิกในครอบครัว และประชาชนใน ไทยและการแพทย์ทางเลือก, 2560) โดยการสารวจ ละแวกบ้านที่รับผิดชอบ ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้าน หรือค้นคว้าองค์ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถ่ินด้าน สุขภาพในฟื้นฟูสุขภาพกลุ่มผู้ป่วย กลุ่มผู้ด้อยโอกาส สุขภาพจากแหล่งต่าง ๆ ในพ้ืนท่ี/หมู่บ้าน/ชุมชน สมาชิกในครอบครัว และประชาชนในละแวกบ้านท่ี รวบรวมและอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพที่มี รับผิดชอบ ตลอดจนถ่ายทอดประสบการณ์หรือองค์ อยู่ในชุมชน เช่น หมอพ้ืนบ้าน การนวดพ้ืนบ้าน การ ความรู้เก่ียวกับภูมิปัญญาท้องถ่ินด้านสุขภาพให้กลุ่ม นวดพืน้ บ้าน ตารายาโบราณ สมุนไพร ฯลฯ และจดั การ ต่าง ๆ ในหมู่บ้าน/ชุมชน เช่น กลุ่มทั่วไป กลุ่มผู้ป่วย องค์ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพโดยมี กลุ่มเสี่ยง กลุ่มเด็กและเยาวชน กลุ่มผู้ด้อยโอกาส กลุ่ม จดบันทึก รวบรวม และเผยแพร่ เช่น สมุนไพร / ผู้นาชุมชน ซึ่งมีความเหมาะสมและเป็นไปตาม สมุนไพรท้องถิ่น การนวดท้องถิ่น/นวดพื้นบ้าน ผดุง หลกั เกณฑก์ ารปฏิบัติงานภมู ิปัญญาท้องถ่ินด้านสุขภาพ ครรภ์พ้ืนบ้าน/การดูแลมารดาหลังคลอด หมอพื้นบ้าน ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้านดีเด่น (กรม พธิ กี รรมเก่ียวกับสุขภาพ ฯลฯ ซึ่งมีความเหมาะสมและ สนับสนุนบริการสุขภาพ, 2561) สอดคล้องกับบทบาท สอดคล้องกับหลักเกณฑ์การปฏิบัติงานภูมิปัญญา อาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจาหมูบ่ ้านนกั จัดการสุขภาพ ท้องถ่ินด้านสุขภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจา ชุมชน (กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ, 2556) และ หมู่บ้านดเี ดน่ (กรมสนับสนนุ บริการสขุ ภาพ, 2561) องค์ประกอบการจัดการโรคไม่ติดต่อเร้ือรังตามบทบาท การปฏิบัติงานควบคุมและป้องกันโรคไม่ติดต่อเร้ืองรัง ของอาสาสมัครสาธารณสขุ ประจาหมบู่ า้ น 27 วารสารสาธารณสขุ มูลฐานภาคเหนอื

สรปุ ผล (อปท.) ควรนาไปประยุกต์ใช้ในการกาหนดนโยบาย อาสาส มัครสา ธ ารณสุ ขประจ า ทิศทาง และขอบเขตการปฏิบัติงานให้มีความชัดเจน มากย่ิงข้ึน และสร้างแนวทางการพัฒนาผลการ หมู่บ้านมีผลการปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้าน ปฏิบั ติงา นภูมิ ปัญญ าท้ องถิ่ นด้า นสุข ภ าพ ขอ ง สุขภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้านอยู่ใน อ า ส า ส มั ค ร ส า ธ า ร ณ สุ ข ป ร ะ จ า ห มู่ บ้ า น ใ ห้ มี ระดับต่า และองค์ประกอบการปฏิบัติงานภูมิปัญญา ประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล ท้องถ่ินด้านสุขภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจา หมู่บ้าน ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ได้แก่ การ 2. การพัฒนาเครื่องมือประเมินผล พัฒนาภูมิปัญญาท้องถ่ินด้านสุขภาพ การจัดการภูมิ การปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถ่ินด้านสุขภาพของ ปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ และการส่งเสริมภูมิปัญญา อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้านในพ้ืนที่อ่ืน ควร ท้องถิน่ ดา้ นสขุ ภาพ ต ร ว จ ส อ บ ค ว า ม ต ร ง ต า ม เ น้ื อ ห า ข อ ง ตั ว แ ป ร ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ บ ริ บ ท ข อ ง พื้ น ที่ ก่ อ น น า ไ ป ใ ช้ จ ริ ง ข้อเสนอแนะ เ น่ื อ ง จ า ก ก า ร วิ จั ย ค รั้ ง น้ี เ ก็ บ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล จ า ก อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน จังหวัดสุโขทัย 1. สานักงานสาธารณสุขจังหวัด ซง่ึ อาจแตกตา่ งด้านบรบิ ทกับพนื้ ที่จังหวัดอ่ืน ๆ สานกั งานสาธารณสุขอาเภอ โรงพยาบาล โรงพยาบาล ส่งเสรมิ สุขภาพตาบล และองคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น เอกสารอ้างอิง กลั ยา วานิชย์บญั ชา. (2560). การวิเคราะหส์ ถติ ิขั้นสูงดว้ ย SPSS for Windows (พมิ พค์ รงั้ ท่ี 12). กรุงเทพมหานคร: สามลดา. กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. (2560). แผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย ฉบบั ท่ี 1 พ.ศ. 2560–2564 (พิมพ์ครั้งท่ี 2). นนทบรุ ี: ทีเอส อนิ เตอร์ปรน้ิ . กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. (2556). คู่มืออาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้านมืออาชีพ. กรุงเทพมหานคร: พระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. (2560). หนังสือที่ระลึกวันอาสาสมัครสาธารณสุขแห่งชาติ ประจาปีพุทธศักราช 2560. นนทบรุ ี: กองสนับสนนุ สุขภาพภาคประชาชน. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. (2561). ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือก อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้านดีเด่น พ.ศ. 2562. สืบคน้ เม่ือ 1 สิงหาคม 2564, จาก //hss.moph.go.th/show_topic.php?id=3054 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. (2562). อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน. สืบค้น 1 สิงหาคม 2564, จาก //www.thaiphc.net/new2020/ กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน. (2557). วิวัฒนาการการสาธารณสุขมูลฐานในประเทศไทย (พ.ศ.2521- พ.ศ. 2557). กรงุ เทพมหานคร: องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง สิทธิได้รับเงินค่าป่วยการในการปฏิบัติหน้าที่ของอาสาสมัครสาธารณสุข ประจาหมู่บ้าน พ.ศ. 2564. (23 สงิ หาคม 2564). ราชกจิ จานุเบกษา ตอนพเิ ศษ, 138(194 ง), หนา้ 2-4. 28 วารสารสาธารณสขุ มลู ฐานภาคเหนอื

ยุทธนา แยบคาย และปราโมทย์ วงศ์สวัสดิ์. (2563). การปฏิบัติงานตามบทบาทที่สาคัญของอาสาสมัคร สาธารณสขุ ประจาหมูบ่ ้าน. วารสารวิทยาลยั พยาบาลพระปกเกล้า จนั ทบรุ ี, 31(2), 269-279. รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย. (6 เมษายน 2560). ราชกิจจานเุ บกษา, 134(40 ก), หนา้ 1-90. สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย. (2564). รายงานประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564. สุโขทัย: สานักงาน สาธารณสุขจังหวัดสโุ ขทยั . Bloom, B. S. J. (1975). Taxonomy of educational objectives, handbook I: The cognitive domain. New York, NY: David Mckay. Cronbach, L. J. (1984). Essentials of psychology and education. New York, NY: McGraw-Hill. Daniel, W. W. & Cross, C. L. (2013). Biostatistics: a foundation for analysis in the health sciences (10th ed). Hoboken, NJ: Wiley & Sons. Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate data analysis. Upper Sandle River, NJ: Prentice Hall. Rovinelli, R. J. & Hambleton, R. K. (1977). On the use of content specialists in the assessment of criterion-referenced test item validity. Tijdschrift voor Onderwijsresearch, 2(2), 49-60. 29 วารสารสาธารณสุขมลู ฐานภาคเหนือ

ปัจจัยทม่ี ผี ลตอ่ การดแู ลผ้สู งู อายทุ อ่ี ยใู่ นภาวะพงึ่ พงิ ของ อาสาสมคั รประจาครอบครัว อาเภอศรสี ชั นาลยั จงั หวัดสโุ ขทยั FACTORS AFFECTING THE ELDERLY DEPENDENDENCY CARE AMONG FAMILY VOLUNTEERS IN SI SATCHANALAI DISTRICT, SUKHOTHAI PROVINCE เตชทัต หอมบุปผา สานักงานสาธารณสขุ อาเภอศรสี ชั นาลัย บทคัดยอ่ การวิจัยเชิงพรรณนาครัง้ น้ีมวี ตั ถุประสงคเ์ พ่ือศึกษาปัจจัยท่ีมีผลต่อการดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะ พึ่งพิงของอาสาสมัครประจาครอบครัว อาเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย กลุ่มตัวอย่างคือ อาสาสมัครประจา ครอบครวั จานวน 370 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม วิเคราะห์ ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบขั้นตอน ผลการวิจัย พบว่า ความรู้ เจตคติ และการดูแลผูส้ งู อายทุ อี่ ยใู่ นภาวะพง่ึ พิงอยู่ในระดับปานกลาง การรับรู้บทบาทและแรงสนับสนุนทางสังคม อยู่ในระดับสูง ปัจจัยที่มีอานาจพยากรณ์การดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพ่ึงพิงของอาสาสมัครประจาครอบครัวสูง ที่สุดคือ เจตคติ (Beta = 0.552) แรงสนับสนุนทางสังคม (Beta = 0.171) และการรับรู้บทบาท (Beta = 0.122) ตามลาดับ ตัวแปรพยากรณ์ทั้ง 3 ตัวร่วมพยากรณ์การดูแลผู้สูงอายุท่ีอยู่ในภาวะพ่ึงพิงของอาสาสมัครประจา ครอบครัวได้ ร้อยละ 11.5 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ผลการวิจัยน้ีแสดงให้เห็นว่าหน่วยงานที่ เกยี่ วข้องควรสรา้ งเจตคติ สร้างการรบั ร้บู ทบาท และให้แรงสนบั สนุนทางสังคมแก่อาสาสมคั รประจาครอบครวั คาสาคญั : ผสู้ งู อายุ ภาวะพง่ึ พงิ อาสาสมัครประจาครอบครัว Abstract This descriptive research aimed to study the factors affecting the elderly dependency care among family volunteers in Si Satchanalai District, Sukhothai Province. The samples in the study were 370 family volunteers. The systematic random sampling method was used for the sample selection. A questionnaire was used as the instrument for data collection. Descriptive statistics and stepwise multiple regression analysis were used for data analysis. The study results showed that the knowledge, attitudes, and elderly dependency care were at a moderate level, role perception and social support were at a high level. The factor with the highest predictive power on the elderly dependency care among family volunteers was attitudes (Beta = 0.552), followed by social support (Beta = 0.171), and role perception (Beta = 0.122), respectively. Three predictors could co-predict the elderly dependency care among family volunteers at 11.5% with a statistical significance of 0.05. These research results indicate that related agencies should boost attitudes, role perception, and social support for family volunteers. Keyword : Elderly, Dependency, Family volunteers 30 วารสารสาธารณสขุ มูลฐานภาคเหนอื

บทนา ชุมชนรอบข้างด้วยการมีอาสาสมัครประจาครอบครัว โดยการให้นาบุตรหลาน ญาติ สมาชิกในครอบครัว ประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมสูงอายุ หรือผู้ดูแลมาเข้ารับการอบรมหรือเรียนรู้ร่วมกับญาติท่ี (Aging society) ตั้งแต่ปี 2548 ตามคานิยามของ ป่วยว่าควรจะดูแลอย่างไร และจะทาอย่างไรให้คนใน องค์การสหประชาชาติท่กี าหนดสดั ส่วนของประชากรท่ี ครอบครัวมีสุขภาพแข็งแรง สนับสนุนการดาเนินงาน มีอายุ 60 ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ 10.0 ของจานวน โดยชุมชนและเชื่อมโยงต่อยอดการดูแลสุขภาพจาก ประชากร ซ่ึงจะเข้าสู่สังคมสูงอายุโดยสมบูรณ์ อ า ส า ส มั ค ร ส า ธ า ร ณ สุ ข ป ร ะ จ า ห มู่ บ้ า น เ ข้ า ไ ป ใ น (Complete - Aging society) เมื่อมีสัดส่วนของ ครัวเรือนเพ่ือให้ประชาชนมีความรู้และสามารถดูแล ประชากรทีม่ ีอายุ 60 ปีขึ้นไปเกินร้อยละ 20.0 และเข้า ตนเองได้ พร้อมทั้งมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาของ สู่สังคมสูงอายุระดับสุดยอด (Super - Aging society) ชุมชน หากมีผู้ป่วยหรือผู้ท่ีมีภาวะพ่ึงพิงในครอบครัว เมื่อมีสัดส่วนของประชากรที่มีอายุ 60 ปีข้ึนไปเกินร้อย ต้องได้รับการดูแลซ่ึงบุคคลท่ีดีและเหมาะสมท่ีสุดก็คือ ละ 28.0 สาหรบั สถานการณ์ผสู้ งู อายไุ ทย ในปี 2564 มี สมาชิกในครอบครัว กระทรวงสาธารณสุขได้กาหนด ประชากรผู้สูงอายุสูงถึงร้อยละ 17.8 ของจานวน เป้าหมายว่าหนึ่งครอบครัวจาเป็นต้องมีอาสาสมัคร ประชากรไทยท้ังประเทศ ตามการคาดประมาณการ ประจาครอบครัวอย่างน้อยหนึ่งคนท่ีสามารถดูแล ประชากรประเทศไทยของสานักงานสภาพัฒนาการ สุขภาพตนเองและครอบครัวได้ ซึ่งจะทาให้ครอบครัว เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) คาดการณ์ว่าในปี ได้รับการถ่ายทอดความรู้สม่าเสมอทาให้เกิดทักษะทั้ง 2566 จะมีประชากรผู้สูงอายุสูงถึงร้อยละ 20.7 ของ ในระดับบุคคลและครอบครัวในการวิเคราะห์ สามารถ จานวนประชากรไทยทัง้ ประเทศ และคาดว่าในปี 2578 จัดการความเส่ียง ภัยสุขภาพ และดูแลสุขภาพของ จะมีประชากรผู้สูงอายุสูงถึงร้อยละ 28.6 ของจานวน ผู้ป่วยโรคไตเร้ือรัง ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประชากรไทยทั้งประเทศ (กรมอนามัย, 2559) ใน และผู้ด้อยโอกาส ตลอดจนการจัดการสุขภาพทุกกลุ่ม ขณะเดยี วกัน จานวนผูส้ ูงอายุที่มีข้อจากัดในการปฏิบัติ วัยตามแต่สมาชิกท่ีมีในครอบครัวตนเอง รวมทั้งมีส่วน กิจวัตรประจาวัน (ติดบ้าน) และผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะ ร่วมในการดูแลสุขภาพและแก้ไขปัญหาของชุมชนเป็น พึ่งพิง (ติดเตียง) ก็มีมากข้ึนตามไปด้วยจาเป็นต้องมี รูปแบบหนึ่งของการมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับ สมาชิกในครอบครัวท่ีมีความรู้และแนวทางการดูแลที่ ครอบครัวที่จะเช่ือมต่อและช่วยเสริมการดาเนินงาน ถูกต้อง กระทรวงสาธารณสุขได้ฝึกอบรมให้ความรู้แก่ ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้านได้เป็นอย่าง สมาชิกในครอบครวั ทีค่ ัดเลอื กมาเป็นอาสาสมัครประจา ดี โดยเร่ิมดาเนินการคร้ังแรกตั้งแต่เดือนมิถุนายน ครอบครัว (อสค.) เพ่ือให้สามารถดูแลผู้สูงอายุได้ 2559 เป็นต้นมา (กรมสนบั สนุนบริการสขุ ภาพ, 2559) ถูกต้องและเหมาะสม ส่วนผู้สูงอายุติดสังคมได้ส่งเสริม ให้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเองระดับครอบครัว ในปี 2564 จังหวัดสุโขทัยมีประชากร เพื่อใหผ้ สู้ งู อายุให้ดูแลตนเองได้ และสามารถนาความรู้ ผู้สูงอายุ จานวน 109,860 คน คิดเป็นร้อยละ 18.6 ที่ได้รับไปช่วยเหลือและดูแลสมาชิกในครอบครัวและ ของจานวนประชากรทง้ั จังหวัดสุโขทัย โดยอาเภอเมือง เพอื่ นผู้สงู อายดุ ว้ ยกันเองใหไ้ ด้รับการดูแลอย่างต่อเน่ือง สุโขทัยมีประชากรผู้สูงอายุมากท่ีสุด ร้อยละ 17.0 และกลับมาพึ่งตนเองได้ (กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ, รองลงมาคอื อาเภอศรสี ชั นาลัย ร้อยละ 16.0 และน้อย 2559) ที่สุดคือ อาเภอศรีนคร ร้อยละ 4.5 ซึ่งผู้สูงอายุได้รับ การคัดกรองความสามารถในการประกอบกิจวัตร กระทรวงสาธารณสุข โดยกรม ประจาวัน (Barthel Activities of Daily Living: ADL) สนับสนุนบริการสุขภาพ (2559) ได้ดาเนินงานสร้าง จานวน 76,115 คน คิดเป็นร้อยละ 69.28 พบว่า เครือข่ายสคู่ รวั เรอื นโดยการสร้างความรู้ด้านสุขภาพให้ ผู้สูงอายุเป็นกลุ่มติดสังคม ร้อยละ 97.5 ผู้สูงอายุเป็น คนไทยได้เรียนรู้ที่จะป้องกันดูแลตัวเองในเบ้ืองต้นทั้ง การปอ้ งกนั โรคในทุกกล่มุ วัยและสง่ ตอ่ ไปยัง กลมุ่ ติดบ้าน รอ้ ยละ 1.99 และผู้สงู อายุเป็นกลุ่ม 31 วารสารสาธารณสขุ มลู ฐานภาคเหนือ

ติดเตยี ง ร้อยละ 0.5 โดยอาเภอท่ีคัดกรองความสามารถ ท้งั น้ี จากการทบทวนเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องพบ ในการประกอบกิจวัตรประจาวันมากท่ีสุดคือ อาเภอ การศึกษาเก่ียวกับปัจจัยท่ีมีผลต่อการปฏิบัติงานตาม บ้านด่านลานหอย ร้อยละ 91.9 รองลงมาคือ อาเภอ บทบาทของอาสาสมัครประจาครอบครัว (ยุทธนา แยบ ศรีสัช นาลัย ร้อยละ 86. 7 และอาเภ อศรีนคร คาย และวลั ยา ตูพานิช, 2564) และปัจจัยที่มีผลต่อการ ร้อยละ 82.3 (สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย, ปฏิบัติงานตามสมรรถนะของอาสาสมัครประจา 2564) ซง่ึ ไดร้ ับการดแู ลจากอาสาสมัครประจาครอบครัว ครอบครัว (ยุทธนา แยบคาย และมุจลินท์ แปงศิริ, ที่ผ่านการเรยี นรูแ้ ละฝกึ ปฏบิ ตั หิ ลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุ 2564) อย่างไรก็ตาม ไม่พบการศึกษาเก่ียวกับการดูแล ทอี่ ยูใ่ นภาวะพ่ึงพิง ติดบ้าน ติดเตียง (Long Term Care: ผู้สูงอายุท่ีอยู่ในภาวะพึ่งพิงของอาสาสมัครประจา LTC) จานวน 15,331 คน โดยอาเภอเมืองสุโขทัยมีอาสา ครอบครัว ซ่ึงผลการวิจัยจะนาไปใช้ในการส่งเสริมและ สมัครประจาครอบครัวท่ีผ่านการเรียนรู้และฝึกปฏิบัติ สนับสนุนการดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงของ หลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง ติดบ้าน อาสาสมคั รประจาครอบครวั ทบทวนความรู้และเพิ่มพูน ติดเตียงมากที่สุด ร้อยละ 26.3 รองลงมาคือ อาเภอ ทักษะการดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพ่ึงพิงเพื่อให้นา ศรีสัชนาลัย ร้อยละ 24.4 และน้อยที่สุดคือ อาเภอศรี ความรู้ไปใช้ในการดูแลผู้สูงอายุท่ีอยู่ในภาวะพึ่งพิงให้มี นคร ร้อยละ 1.6 (กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ, 2560) คณุ ภาพชีวิตที่ดีและเพิ่มประสิทธิผลในการดูแลผู้สูงอายุ ประกอบกับรายงานผลการดาเนินงานพัฒนาคุณภาพ ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงให้ดีย่ิงขึ้น ดังนั้น ผู้วิจัยจึงมีความ ชีวิตของอาเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย พบว่า สนใจทจี่ ะศึกษาการดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพ่ึงพิงของ ผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพ่ึงพิง จานวน 239 คน คิดเป็น อาสาสมัครประจาครอบครัวและปัจจัยที่มีผลต่อการ ร้อยละ 1.3 ได้รับการดูและจากอาสาสมัครประจา ดูแลผู้สูงอายุท่ีอยู่ในภาวะพ่ึงพิงของอาสาสมัครประจา ครอบครัว ร้อยละ 100.0 และผลการประเมิน ครอบครวั อาเภอศรสี ชั นาลยั จังหวัดสุโขทัย ความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจาวันของ วัตถปุ ระสงค์ ผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพ่ึงพิง พบว่า ผู้สูงอายุติดเตียง สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจาวันได้ดีขึ้นและเปลี่ยนมา เพื่อศึกษาปัจจัยท่ีมีผลต่อการดูแล เปน็ ผูส้ ูงอายุติดบ้าน ร้อยละ 2.1 (สานักงานสาธารณสุข ผู้สูงอายุท่ีอยู่ในภาวะพึ่งพิงของอาสาสมัครประจา อาเภอศรีสชั นาลัย, 2563) ครอบครวั อาเภอศรีสัชนาลยั จงั หวัดสุโขทัย อาสาสมัครประจาครอบครัวยังไม่ วิธีการศกึ ษา สามารถดูแลผู้สูงอายุท่ีอยู่ในภาวะพึ่งพิงได้อย่างเต็ม ความสามารถเนื่องจากไม่มีประสบการณ์การดูแล การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive ผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงมาก่อนจึงขาดความม่ันใจใน research)ค รั้ ง นี้ ไ ด้ รั บ ก า ร พิ จ า ร ณ า รั บ ร อ ง จ า ก การดูแลผู้สูงอายุท่ีอยู่ในภาวะพึ่งพิงถึงแม้จะผ่านการ คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ สานักงาน ฝึกอบรมมาแล้วก็ตาม (วิเชษฐ์ เชิดสันเทียะ, ปาหนัน สาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย โครงการเลขที่ COA พิชยภิญโญ และสุนีย์ ละกาปั่น, 2564) นอกจากน้ียังมี No. 40/2021 เอกสารรับรองเลขท่ี่ IRB No. 45/2021 ผลการปฏิบัติงานตามบทบาทของอาสาสมัครประจา ลงวันที่ 23 สิงหาคม 2564 วิธีทบทวนแบบยกเว้น (Exemption review) ครอบครวั อยู่ในระดบั ปานกลาง (ยุทธนา แยบคาย และวลั ยา ตูพานิช,2564) 32 วารสารสาธารณสขุ มลู ฐานภาคเหนอื

1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่างคือ ถ้าตอบผิดให้ 0 คะแนน คะแนนเต็ม 20 คะแนน การ อาสาสมัครประจาครอบครัว (อสค.) อาเภอศรีสัชนาลัย แปลความหมายคะแนนความรู้แบ่งออกเป็น 3 ระดับ จังหวัดสุโขทัย จานวน 3,542 คน (กรมสนับสนุบริการ โดยใช้เกณฑ์ของ Bloom (1975) คือ ความรู้อยู่ใน สุขภาพ, 2560) คานวณขนาดตัวอย่างด้วยสูตรการ ระดับสูง ร้อยละ 80 ขึ้นไป ความรู้อยู่ในระดับปาน ประมาณการค่าเฉลี่ยประชากร (กัลยา วานิชย์บัญชา กลาง ร้อยละ 60-79 และความรู้อยู่ในระดับต่า น้อย และฐิตา วานิชย์บัญชา, 2558) ได้ขนาดตัวอย่าง กว่าร้อยละ 60 โดยมีค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหา จานวน 347 คน และสุ่มตัวอย่างสารองไว้ ร้อยละ 10 (Index of Item-Objective Congruence: IOC) อยู่ รวมเป็นจานวน 370 คน ใช้การสุ่มแบบเป็นระบบ ระหว่าง 0.67-1.00 (Rovinelli & Hambleton, 1977) (Systematic random sampling technique) โดยมี และค่าความเช่ือมั่นด้วยสูตร KR-21 ของคูเดอร์ เกณฑ์การคัดเข้าคือ กลุ่มตัวอย่างมีอายุ 20 ปีบริบูรณ์ ริชาร์ดสัน (Kuder-Richardson) เท่ากับ 0.70 (Kuder ขึ้นไป ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุท่ีอยู่ & Richardson, 1937) ในภาวะพึ่งพิง ติดบ้าน ติดเตียง มีระยะเวลาการเป็น อาสาสมัครประจาครอบครัวอย่างน้อย 6 เดือนข้ึนไป สว่ นที่ 3 เจตคติ พัฒนาข้ึนจากทฤษฎี และยินดีให้ข้อมูล ซึ่งมีเกณฑ์การคัดออกคือ กลุ่ม Knowledge Attitude Practice (KAP) ของ Bloom ตัวอย่างมีอาการเจ็บป่วยรุนแรง กะทันหัน ไม่สามารถ (1965) จานวน 10 ข้อ เป็นแบบสอบถามชนิดมาตรา ใหข้ อ้ มูลได้ และปฏเิ สธหรอื ถอนตวั จากโครงการวิจยั ส่วนประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับคือ เห็นด้วย อย่างย่ิง เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย และไม่เห็นด้วย 2. เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยเป็น อย่างยิ่ง โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนคือ ข้อคาถามเชิง แบบสอบถาม (Questionnaire) ท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึนจาก บวก ให้คะแนน 5, 4, 3, 2 และ 1 คะแนน ตามลาดับ การทบทวนวรรณกรรม แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยท่ี และขอ้ คาถามเชิงลบ ให้คะแนน 1, 2, 3, 4 และ 5 คะแนน เก่ียวขอ้ ง ซง่ึ ประกอบดว้ ย 6 ส่วนดงั นี้ ตามลาดับ คะแนนเต็ม 50 คะแนน การแปล ความหมายคะแนนเจตคติแบ่งออกเปน็ 3 ระดับ โดยใช้ ส่วนท่ี 1 ข้อมูลคุณลักษณะทาง เกณฑ์ของ Bloom (1975) คือ เจตคติอยู่ในระดับสูง ประชากร ประกอบด้วยเพศ อายุ สถานภาพสมรส ร้อยละ 80 ข้ึนไป เจตคติอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ ระดับการศึกษา อาชีพ รายไดเ้ ฉล่ียต่อเดือน บทบาทใน 60-79 และเจตคติอยู่ในระดับต่า น้อยกว่าร้อยละ 60 ครอบครัว จานวนสมาชิกในครอบครัว ระยะเวลาใน โดยมีค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหา (Index of Item- การเป็นอาสาสมัครประจาครอบครัว และการมี Objective Congruence: IOC) อยู่ระหว่าง 0.67-1.00 ตาแหนง่ อื่นในชุมชน ลกั ษณะคาถามเป็นเลือกตอบและ (Rovinelli & Hambleton, 1977) และค่าความเชื่อม่ัน เติมคาลงในชอ่ งว่าง ดว้ ยสตู รสัมประสทิ ธ์ิอลั ฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) เท่ากับ 0.88 (Cronbach, 1984) ส่วนท่ี 2 ความรู้ พัฒนาข้ึนจากทฤษฎี Knowledge Attitude Practice (KAP) ของ Bloom ส่วนท่ี 4 การรับรู้บทบาท พัฒนาข้ึน (1965) จานวน 20 ข้อ ลักษณะคาถามเป็นปลายปิด จากทฤษฎีการรับรู้บทบาท (Allport, 1968) จานวน แต่ละข้อมคี าตอบให้เลือกตอบแบบถูก-ผิด มีเกณฑ์การ 10 ข้อเปน็ แบบสอบถามชนดิ มาตราสว่ นประมาณ ให้คะแนน คอื ถ้าตอบถกู ให้ 1 คะแนน 33 วารสารสาธารณสขุ มูลฐานภาคเหนอื

ค่า (Rating scale) 5 ระดับคือ มากท่ีสุด มาก ปานกลาง ตามลาดับ คะแนนเต็ม 75 คะแนน การแปล น้อย และน้อยท่ีสุด โดยมีเกณฑ์การให้คะแนน 5, 4, 3, ความหมายคะแนนการดูแลผู้สูงอายุท่ีอยู่ในภาวะพึ่งพิง 2 และ 1 คะแนน ตามลาดับ คะแนนเต็ม 50 คะแนน แบ่งออกเป็น 3 ระดับ โดยใช้เกณฑ์ของ Bloom การแปลความหมายคะแนนการรับรู้บทบาทแบ่ง (1975) คือ การดูแลผู้สูงอายุท่ีอยู่ในภาวะพ่ึงพิงอยู่ใน ออกเป็น 3 ระดับ โดยใช้เกณฑ์ของ Bloom (1975) คือ ระดับสูง ร้อยละ 80 ขึ้นไป การดูแลผู้สูงอายุท่ีอยู่ใน การรับรู้บทบาทอยู่ในระดับสูง ร้อยละ 80 ข้ึนไป การ ภาวะพึ่งพิงอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 60-79 และ รับรู้บทบาทอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 60-79 และ การดูแลผ้สู งู อายุที่อยใู่ นภาวะพงึ่ พงิ อยู่ในระดับต่า น้อย การรับรู้บทบาทอยู่ในระดับต่า น้อยกว่าร้อยละ 60 กว่าร้อยละ 60 โดยมีค่าดัชนีความตรงตามเน้ือหา โดยมีค่าดัชนีความตรงตามเน้ือหา (Index of Item- (Index of Item-Objective Congruence: IOC) อยู่ Objective Congruence: IOC) อยู่ระหว่าง 0.67- ระหว่าง 0.67-1.00 (Rovinelli & Hambleton, 1977) 1.00 (Rovinelli & Hambleton, 1977) และค่าความ และค่าความเชื่อมั่นด้วยสูตรสัมประสิทธิ์อัลฟา เชื่อมั่นด้วยสูตรสัมประสิทธ์ิอัลฟาของครอนบาค ของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) เท่ากับ (Cronbach’s alpha coefficient) เท่ากับ 0.93 0.99 (Cronbach, 1984) (Cronbach, 1984) 3. วธิ ีการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยทา ส่วนที่ 5 แรงสนับสนุนทางสังคม หนังสือความอนุเคราะห์เก็บรวบรวมข้อมูลจาก พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคมของ สานกั งานสาธารณสุขอาเภอศรีสัชนาลัยถึงโรงพยาบาล House (1981) จานวน 17 ข้อ เปน็ แบบสอบถามชนิด ศรีสัชนาลัยและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลทุก มาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 3 ระดับคือ แห่งในอาเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย เพื่อให้ เพียงพอ ไม่เพียงพอ และไม่เคยได้รับ โดยมีเกณฑ์การ อาสาสมัครประจาครอบครัวตอบแบบสอบถามใน ให้คะแนนคือ 3, 2 และ 1 ตามลาดับ คะแนนเต็ม 51 ระหว่างวนั ที่ 1 กันยายน 2564 ถงึ วนั ท่ี 30 ตลุ าคม 2564 คะแนน การแปลความหมายคะแนนแรงสนับสนุน โดยมอี ตั ราการตอบกลับแบบสอบถาม ร้อยละ 100 ซึ่ง ทางสังคมแบ่งออกเป็น 3 ระดับ โดยใช้เกณฑ์ของ ภายในแบบสอบถามจะไม่มีการระบุช่ือของกลุ่ม Bloom (1975) คือ แรงสนับสนนุ ทางสงั คมอยใู่ นระดับสงู ตัวอย่าง ข้อมูลของกลุ่มตัวอย่างจะเก็บเป็นความลับ ร้อยละ 80 ขึ้นไป แรงสนับสนุนทางสังคมอยู่ในระดับ และไม่นามาเปิดเผย การศึกษาครั้งนี้จะไม่มีผลกระทบ ปานกลาง ร้อยละ 60-79 และแรงสนับสนุนทางสังคม ใด ๆ ต่อกลุ่มตัวอย่าง เม่ือผู้วิจัยได้รับแบบสอบถาม อยู่ในระดับต่า น้อยกว่าร้อยละ 60 โดยมีค่าดัชนีความ ครบเรียบร้อยแล้วตรวจสอบความสมบูรณ์ ครบถ้วน ตรงตามเนื้อหา (Index of Item-Objective Congruence: และความถูกต้องของแบบสอบถาม ระบุรหัส บันทึกลง IOC) อยู่ระหว่าง 0.67-1.00 (Rovinelli & Hambleton, คอมพิวเตอร์แล้วนาข้อมูลไปวิเคราะห์ผลการวิจัยใน 1977) และค่าความเชื่อม่ันด้วยสูตรสัมประสิทธ์ิอัลฟา ลาดบั ต่อไป ของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) เท่ากับ 4 . ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล ผู้ วิ จั ย 0.94 (Cronbach, 1984) วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้เป็นไปตามข้อตกลงเบื้องต้นของ ส่วนที่ 6 การดูแลผู้สูงอายุท่ีอยู่ใน การใชส้ ถติ ิด้วยโปรแกรมคอมพวิ เตอร์สาเร็จรูป ดังน้ี 1) ภ า ว ะ พ่ึ ง พิ ง พั ฒ น า ขึ้ น จ า ก ท ฤ ษ ฎี Knowledge การวิเคราะห์ข้อมูลคุณลักษณะทางประชากร ได้แก่ Attitude Practice (KAP) ของ Bloom (1965) จานวน เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ 15 ข้อ เป็นแบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า เฉลี่ยต่อเดือน บทบาทในครอบครัว จานวนสมาชิกใน (Rating scale) 5 ระดับคือ ทุกครั้ง บ่อยคร้ัง บางคร้ัง ครอบครัว ระยะเวลาในการเป็นอาสาสมัครประจา น้อยครั้ง และไม่เคย โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนคือ 5, ครอบครัว และการมีตาแหน่งอื่นในชุมชน โดยใช้สถิติ 4, 3, 2 และ 1 คะแนน จานวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 34 วารสารสาธารณสขุ มลู ฐานภาคเหนือ

ค่าต่าสุด และค่าสูงสุด 2) การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อ เป็นอิสระต่อกันและมีการแจกแจงเป็นโค้งปกติ การดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพ่ึงพิงของอาสาสมัคร ลักษณะการกระจายของตัวแปรตามเหมือนกันทุกค่า ประจาครอบครัว อาเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ของ ตัว แ ปรท าน าย (Homoscedasticity) ค ว า ม โดยใช้สถิติการวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบข้ันตอน สัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเป็นแบบเส้นตรง ตัวแปรไม่มี (Stepwise multiple regression analysis) ท้ังนี้ ความคลาดเคลื่อนในการวัด (Measurement error) ก่อนการวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบข้ันตอนได้ดาเนินการ และตัวแปรทั้งหมดมีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่า ตรวจสอบข้อตกลงเบ้ืองต้น จานวน 5 ข้อ (Hair, หรือไม่มีภาวะร่วมเส้นตรงพหุ (Multicollinearity) Black, Babin & Anderson, 2012) พบว่า ตัวแปร และ 3) กาหนดนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 เป็น ตามมีระดับการวัดแบบอันตรภาค มีความคลาดเคล่ือน เกณฑ์ในการยอมรับสมมตุ ฐิ าน ผลการศกึ ษา 1. ข้อมลู คุณลกั ษณะทางประชากร กลุม่ ตวั อย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง รอ้ ยละ 83.5 อายุเฉล่ีย 48.65 ปี ต่าสุด 21 ปี และสูงสุด 70 ปีสถานภาพสมรสมากที่สุด ร้อยละ 70.5 รองลงมาคือ โสด ร้อยละ 14.3 และน้อยที่สุดคือ หย่า/แยกกันอยู่ ร้อยละ 4.9 มีระดับการศึกษาประถมศึกษามากท่ีสุด ร้อยละ 42.2 รองลงมาคือ มัธยมปลาย/ประกาศนียบัตร วิชาชีพ (ปวช.) ร้อยละ 24.3 และน้อยที่สุดคือ ปริญญาตรี ร้อยละ 4.6 ประกอบอาชีพเกษตรกรรมมากที่สุด ร้อย ละ 63.2 รองลงมาคอื รับจ้าง ร้อยละ 22.7 และน้อยที่สดุ คือ พนักงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ/นักการเมืองท้องถิ่น รอ้ ยละ 2.4 มีรายได้เฉล่ียต่อเดือน 5,658.78 บาท ต่าสุด 2,000 บาท และสูงสุด 30,000 บาท มีบทบาทในครอบครัว เปน็ สมาชิกครอบครัว ร้อยละ 62.2 มีจานวนสมาชิกในครอบครัว 4 คนมากท่ีสุด ร้อยละ30.3 รองลงมาคือ 3 คน ร้อยละ 23.8 และน้อยท่ีสุดคือ 9 คน ร้อยละ 0.3 และ 10 คน ร้อยละ 0.3 มีระยะเวลาในการเป็นอาสาสมัคร ประจาครอบครัวเฉลีย่ 3.56 ปี ต่าสดุ 1 ปี และสงู สุด 6 ปี และมีตาแหน่งอื่นในชมุ ชน ร้อยละ 70.8 2. ความรู้ เจตคติ การรับรู้บทบาท แรงสนับสนุนทางสังคม และการดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ใน ภาวะพ่งึ พงิ ของอาสาสมัครประจาครอบครัว กล่มุ ตัวอยา่ งมคี วามรเู้ กีย่ วกบั การดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพ่ึงพิง เจตคติท่ีมีต่อการดูแลผู้สูงอายุ ทอ่ี ยู่ในภาวะพ่ึงพงิ และการดูแลผสู้ ูงอายุที่อยู่ในภาวะพ่ึงพิงของอาสาสมัครประจาครอบครัวอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนการรับรู้บทบาทเกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุท่ีอยู่ในภาวะพ่ึงพิง และแรงสนับสนุนทางสังคมท่ีมีต่อการดูแล ผสู้ งู อายทุ ่อี ยใู่ นภาวะพงึ่ พิงอยใู่ นระดับสงู ดังตาราง 1 ตาราง 1 คา่ เฉลี่ย สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน และระดับความรู้ เจตคติ การรับรบู้ ทบาท แรงสนบั สนนุ ทางสังคม และการดแู ลผู้สูงอายทุ ีอ่ ย่ใู นภาวะพงึ่ พิงของกลุ่มตัวอย่าง (n = 370) ตวั แปร S.D. การแปลผล ความรู้ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) 14.69 1.87 ปานกลาง เจตคติ (คะแนนเตม็ 50 คะแนน) การรบั ร้บู ทบาท (คะแนนเตม็ 50 คะแนน) 37.44 6.00 ปานกลาง แรงสนบั สนุนทางสงั คม (คะแนนเตม็ 51 คะแนน) 40.26 5.30 สูง การดูแลผ้สู ูงอายุทอี่ ยใู่ นภาวะพึง่ พิง (คะแนนเตม็ 75 คะแนน) 44.93 7.50 สงู 54.68 19.78 ปานกลาง 35 วารสารสาธารณสขุ มลู ฐานภาคเหนือ

3. ปจั จัยท่ีมผี ลตอ่ การดูแลผ้สู งู อายุทอ่ี ยูใ่ นภาวะพ่ึงพิงของอาสาสมคั รประจาครอบครัว ปัจจัยที่มีผลต่อการดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพ่ึงพิงของอาสาสมัครประจาครอบครัว เรียงลาดับ ตามความสามารถในการอธิบายความแปรปรวนของการดูแลผูส้ ูงอายุทอ่ี ยูใ่ นภาวะพึ่งพิงจากมากไปหาน้อยได้ ดังน้ี ตัวแปรที่ถูกคัดเลือกเข้าไปในการวิเคราะห์ขั้นตอนที่ 1 คือ เจตคติ โดยมีผลทางบวกต่อการดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ ในภาวะพึ่งพิงซึ่งสามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 6.9 (R2 = 0.069) โดยเมื่อคะแนนเจตคติเพิ่มขึ้น 1 คะแนน คะแนนการดูแลผู้สูงอายุท่ีอยู่ในภาวะพ่ึงพิงจะเพิ่มขึ้น 0.552 คะแนน (b = 0.552) ตัวแปรที่ถูกคัดเลือก เข้าไปในการวิเคราะห์ข้ันตอนท่ี 2 คือ แรงสนับสนุนทางสังคม โดยมีผลทางบวกต่อการดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะ พึ่งพงิ ซ่งึ สามารถอธิบายความแปรปรวนไดเ้ พ่มิ ข้ึน รอ้ ยละ 3.5 เป็นร้อยละ 10.4 (R2 Change = 0.035, R2= 0.104) โดยเม่ือคะแนนแรงสนับสนุนทางสังคมเพ่ิมขึ้น 1 คะแนน คะแนนการดูแลผู้สูงอายุท่ีอยู่ในภาวะพ่ึงพิงจะเพิ่มข้ึน 0.450 คะแนน (b = 0.450) และตวั แปรท่ีถกู คัดเลือกเข้าไปในการวิเคราะห์ขั้นตอนที่ 3 คือ การรับรู้บทบาท โดย มีผลทางบวกต่อการดูแลผู้สูงอายุท่ีอยู่ในภาวะพึ่งพิงซ่ึงสามารถอธิบายความแปรปรวนได้เพ่ิมข้ึน ร้อยละ 1.1 เป็นร้อยละ 11.5 (R2 Change = 0.011, R2 = 0.115) โดยเมื่อคะแนนการรับรู้บทบาทเพิ่มข้ึน 1 คะแนน คะแนน การดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงจะเพิ่มขึ้น 0.456 คะแนน (b = 0.456) ซึ่งตัวแปรพยากรณ์ทั้ง 3 ตัวแปร สามารถร่วมกันพยากรณ์การดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงของอาสาสมัครประจาครอบครัวได้ ร้อยละ 11.5 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ส่วนตัวแปรอื่น ๆ ได้แก่ ความรู้ เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน บทบาทในครอบครัว จานวนสมาชิกในครอบครัว ระยะเวลาในการเป็น อาสาสมัครประจาครอบครัว และการมีตาแหน่งอ่ืนในชุมชน ไม่มีผลต่อการดูแลผู้สูงอายุท่ีอยู่ในภาวะพึ่งพิงของ อาสาสมัครประจาครอบครัว ดงั ตาราง 2 ตาราง 2 แสดงการวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบข้ันตอนระหว่างตัวแปรพยากรณ์กับการดูแลผู้สูงอายุท่ีอยู่ในภาวะ พึ่งพงิ ของอาสาสมคั รประจาครอบครัว (n = 370) ตัวแปรพยากรณ์ R2 R2 Change Beta b s.e. of b t p-value 0.069 0.069 0.167 0.552 0.187 2.951 0.003 เจตคติ แรงสนับสนุนทางสังคม 0.104 0.035 0.171 0.450 0.135 3.333 0.001 การรบั รบู้ ทบาท 0.115 0.011 0.122 0.456 0.215 2.122 0.034 Constant (a) = -4.516, R = 0.339, R2= 0.115, Adjusted R2 = 0.108, F = 15.848, p<0.05, MSE = 349.023 โดยสามารถเขียนสมการในการพยากรณก์ ารดูแลผสู้ ูงอายทุ ี่อยู่ในภาวะพงึ่ พิงของอาสาสมัคร ประจาครอบครวั ในรปู คะแนนดบิ ได้ ดงั นี้ การดแู ลผสู้ งู อายทุ ่ีอย่ใู นภาวะพง่ึ พิงของอาสาสมคั รประจาครอบครัว = -4.516 + 0.552 (เจต คต)ิ + 0.450 (แรงสนบั สนนุ ทางสังคม) + 0.456 (การรบั รู้บทบาท) 36 วารสารสาธารณสขุ มูลฐานภาคเหนือ

อภปิ รายผล อธิบายได้ว่า อาสาสมัครประจาครอบครัวได้รับแรง จากผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อ สนับสนุนทางสังคมในการดูแลผู้สูงอายุท่ีอยู่ในภาวะ การดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพ่ึงพิงของอาสาสมัคร พงึ่ พิงจากภาคีเครือข่ายที่เก่ียวข้องเพิ่มขึ้นจะมีการดูแล ประจาครอบครัว พบว่า ตัวแปรเจตคติ แรงสนับสนุน ผู้สงู อายทุ ีอ่ ยใู่ นภาวะพ่ึงพิงเพ่ิมมากขึ้น (House, 1981) ทางสังคม และการรับรู้บทบาท ร่วมกันพยากรณ์การ โดยกระทรวงสาธารณสุขได้กาหนดแนวทางการ ดูแลผู้สูงอายุท่ีอยู่ในภาวะพึ่งพิงของอาสาสมัครประจา สนับสนุนด้านแหล่งวิชาการและสิ่งสนับสนุน ด้านการ ครอบครัวได้ ร้อยละ 11.5 บริหารจัดการ และด้านงบประมาณ ตลอดจนการ 1. เจตคติมีผลทางบวกต่อการดูแล ถ่ายทอดความรู้สม่าเสมอทาให้เกิดทักษะท้ังในระดับ ผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงของอาสาสมัครประจา บุคคลและครอบครัวในการวิเคราะห์ การจัดการความ ครอบครวั เมื่อเจตคติเพ่ิมข้ึนจะมีการดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ เสี่ยง ภัยสุขภาพ และดูแลสุขภาพของผู้ป่วยโรคไต ในภาวะพ่ึงพิงของอาสาสมัครประจาครอบครัวเพ่ิมข้ึน เรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และ อธิบายได้ว่าอาสาสมัครประจาครอบครัวเป็นผู้ดูแล ผู้ด้อยโอกาส ตลอดจนประชาชน 5 กลุ่มวัยตามแต่ สขุ ภาพของครอบครวั ตนเองโดยไม่รับค่าตอบแทนใด ๆ สมาชิกที่มีในครอบครัวตนเอง รวมทั้งมีส่วนร่วมในการ และไม่หวังส่ิงตอบแทน รวมถึงจะไม่เรียกร้องส่ิงตอบ ดูแลสุขภาพและแก้ไขปัญหาของชุมชนเป็นรูปแบบหนึ่ง แทนใด ๆ นอกเหนือจากการได้ช่วยเหลือคนใน ของการมีส่วนของประชาชนในระดับครอบครัวท่ีจะ ครอบครวั และผู้อนื่ ไดพ้ ้นทุกข์ มีความสุข และมีสุขภาพ เชื่อมต่อและช่วยเสริมการดาเนินงานของอาสาสมัคร ดีด้วยจิตเมตตาเป็นสาคัญ (กรมสนับสนุนบริการ สาธารณสุขประจาหมู่บ้านได้เป็นอย่างดี (กระทรวง สุขภาพ, 2559) ทั้งน้ี อาสาสมัครประจาครอบครัวยัง สาธารณสุข, 2559) โดยใช้ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน เป็นบุคคลที่มีจิตอาสา สมัครใจ มีความพร้อมที่จะดูแล (ศสมช.) ซึ่งเป็นสถานท่ีปฏิบัติงานของอาสาสมัคร สุขภาพของตนเองและสมาชิกในครอบครัว รวมทั้งมี สาธารณสุขประจาหมู่บ้านเป็นศูนย์การเรียนรู้การดูแล ส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาของชุมชนและได้รับการ สุขภาพระหว่างอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน ยอมรับจากครอบครัว อาสาสมัครสาธารณสุขประจา และอาสาสมัครประจาครอบครัว (จีรวรรณ หัสโรค์, หมู่บ้าน และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จึงถือได้ว่าเป็น 2561) ซึ่งสอดคลอ้ งกับผลการวจิ ัยของยุทธนา แยบคาย บุคคลที่มีเจตคติท่ีดีต่อการดูแลผู้สูงอายุท่ีอยู่ในภาวะ และมุจลินท์ แปงศิริ (2564) พบว่า แรงสนับสนุนทาง พ่ึงพิง มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี มีสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้อื่น สังคมมีผลต่อการปฏิบัติงานตามสมรรถนะของ และเสียสละเพื่อส่วนรวม (กระทรวงสาธารณสุข, อาสาสมัครประจาครอบครวั 2559) ซ่ึงเจตคติมีรากฐานมาจากความเช่ือหรือความรู 3. การรับรู้บทบาทมีผลทางบวกต่อ สึกท่ีสั่งสมมาทง้ั ทางบวกและทางลบเช่ือมโยงระหว่าง การดูแลผู้สูงอายุท่ีอยู่ในภาวะพ่ึงพิงของอาสาสมัคร ความรกู้ ับการปฏิบัติพฤติกรรมประกอบด้วยการสังเกต ประจาครอบครัว เมื่อการรับรู้บทบาทเพิ่มข้ึนจะมีการ การลงมอื ปฏบิ ตั ิ ความถูกตอ้ ง ความต่อเนื่อง และความ ดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพ่ึงพิงของอาสาสมัครประจา เป็นธรรมชาติ เมื่อลงมือปฏิบัติบ่อยคร้ังจนเกิดเป็น ครอบครัวเพิ่มข้ึน อธิบายได้ว่า อาสาสมัครประจา ทักษะการดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงที่ดี (Bloom, ครอบครัวมีการรับรู้บทบาทเก่ียวกับการดูแลผู้สูงอายุท่ี 1965) อยู่ในภาวะพึ่งพิงอยู่ในระดับสูงทาให้เกิดการรับรู้ 2. แรงสนับสนุนทางสังคมมีผล บทบาทที่ต้องปฏิบัติตามหน้าที่ท่ีได้รับมอบหมายให้ ทางบวกต่อการดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพ่ึงพิงของ ถูกต้อง ตรงตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ และเห็น อาสาสมัครประจาครอบครัว เมื่อแรงสนับสนุนทาง ประโยชน์หรือความสาคัญจากการรับรู้บทบาทที่จะ สังคมเพ่ิมขึ้นจะมีการดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง เกิดขึ้นว่าจะช่วยให้มีการดูแลผู้สูงอายุท่ีอยู่ในภาวะ ของอาสาสมคั รประจาครอบครวั เพิม่ ขน้ึ พง่ึ พิงดีขึ้น (Allport, 1968) ซ่ึงภายในหลักสตู รฝึก 37 วารสารสาธารณสุขมูลฐานภาคเหนือ

ฝึกอบรมอาสาสมัครประจาครอบครัวมีเน้ือหาวิชาแกน รายได้เฉลี่ยต่อเดือน บทบาทในครอบครัว จานวน หลักพ้ืนฐานให้อาสาสมัครประจาครอบครัวควรรับรู้ สมาชิกในครอบครัว ระยะเวลาในการเป็นอาสาสมัคร เกี่ยวบทบาทอาสาสมัครประจาครอบครวั และการเชื่อม ประจาครอบครัว และการมีตาแหน่งอ่ืนในชุมชน ไม่มี เครือข่ายกับอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน ผ ล ต่ อ ก า ร ดู แ ล ผู้ สู ง อ า ยุ ที่ อ ยู่ ใ น ภ า ว ะ พึ่ ง พิ ง ข อ ง เพ่ือให้อาสาสมัครประจาครอบครัวจะเป็นผู้ที่มีความรู้ อาสาสมัครประจาครอบครัว อธิบายได้ว่า ตัวแปรเจต และทักษะในการปฏิบัติตนเองด้านสุขภาพอนามัยที่ คติ แรงสนับสนุนทางสังคม และการรับรู้บทบาท มี ถูกต้องดูแลสุขภาพด้วยตนเองแก่สมาชิกในครอบครัว อานาจพยากรณ์การดูแลผู้สูงอายุท่ีอยู่ในภาวะพ่ึงพิง ได้เหมาะสมกับโรค ความเส่ียง ภัยสุขภาพ และ ของอาสาสมัครประจาครอบครัวได้ ร้อยละ 11.5 สามารถถ่ายทอดความรู้ให้แก่สมาชิกในครอบครัวได้ ซึ่งนอกเหนือจากนั้นเป็นตัวแปรอื่น ๆ ที่ยังไม่ได้มี เชื่อมโยง ส่งต่อเป็นเครือข่ายสานต่อการดูแลสุขภาพ การศึกษาในการวิจัยในคร้ังนี้อาจจะมีผลต่อการดูแล กับอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้านอย่างเป็น ผู้สูงอายุท่ีอยู่ในภาวะพ่ึงพิงของอาสาสมัครประจา ร่างแหเดียวกัน ไม่ซ้าซ้อนกัน (กระทรวงสาธารณสุข, ครอบครัว รอ้ ยละ 88.5 2559) โดยเฉพาะอาสาสมัครประจาครอบครัวท่ีดูแล กลุ่มผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ควรมีทีมสหวิชาชีพเป็นพ่ี สรปุ ผล เลี้ยงให้กับอาสาสมัครประจาครอบครัวเพราะต้องดูแล สุขภาพแบบองค์รวม กลุ่มผู้ป่วยไตวายควรใช้ อาสาสมัครประจาครอบครัวมีความรู้ กระบวนการกลุ่มในการเฝ้าระวังการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ และกลุ่มผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเร้ือรัง เจตคติ และการดูแลผู้สูงอายุท่ีอยู่ในภาวะพ่ึงพิงอยู่ใน ควรให้อาสาสมัครสาธารณสขุ ประจาหมู่บา้ นเป็นพี่เล้ียง ระดบั ปานกลาง การรับรู้บทบาทและแรงสนับสนุนทาง ให้กับอาสาสมัครประจาครอบครัว โดยใช้ศูนย์ สังคมอยู่ในระดับสูง ปัจจัยท่ีมีผลต่อการดูแลผู้สูงอายุท่ี สาธารณสุขมูลฐานชุมชน (ศสมช.) เป็นสถานท่ีในการ อยู่ในภาวะพึ่งพิงของอาสาสมัครประจาครอบครัว คั ด ก ร อ ง สุ ข ภ า พ แ ล ะ พ บ ป ะ ร ะ ห ว่ า ง ผู้ ป่ ว ย แ ล ะ ได้แก่ เจตคติ แรงสนับสนุนทางสังคม และการรับรู้ อาสาสมัครประจาครอบครัวในการติดตามพฤติกรรม บทบาท ตามลาดับ ตัวแปรพยากรณ์ท้ัง 3 ตัวร่วมกัน สุ ข ภ า พ ข อ ง ผู้ ป่ ว ย ด้ ว ย เ ท ค นิ ค ก า ร จั บ คู่ ร ะ ห ว่ า ง พยากรณ์การดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงของ อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้านและอาสาสมัคร อาสาสมัครประจาครอบครัวได้ ร้อยละ 11.5 ส่วนตัว ประจาครอบครัว (จีรวรรณ หัสโรค์, 2561) ซึ่ง แปรอื่น ๆ ไม่มีผลต่อการดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะ สอดคล้องกับผลการวิจัยของยุทธนา แยบคาย และ พึ่งพิงของอาสาสมัครประจาครอบครัว วัลยา ตูพานิช (2564) พบว่า การรับรู้บทบาทมีผลต่อ การปฏิบัติงานตามบทบาทของอาสาสมัครประจา ข้อเสนอแนะ ครอบครัว และสอดคล้องกับผลการวิจัยของยุทธนา แยบคาย และมุจลินท์ แปงศิริ (2564) พบว่า การรับรู้ ข้อเสนอแนะในการนาผลการวจิ ัยไปใช้ บทบาทมีผลต่อการปฏิบัติงานตามสมรรถนะของ 1. สานักงานสาธารณสุขจังหวัด อาสาสมคั รประจาครอบครวั สานกั งานสาธารณสุขอาเภอ โรงพยาบาล โรงพยาบาล 4. ตัวแปรอื่น ๆ ได้แก่ ความรู้ เพศ ส่งเสริมสุขภาพตาบล และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน อายุ สถานภาพ ระดบั การศึกษา อาชพี (อปท.) ควรฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแล ผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงให้แก่อาสาสมัครประจา ครอบครวั เพื่อเพ่ิมความรู้เกย่ี วกับการดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ ในภาวะพ่งึ พิงให้อยูใ่ นระดบั สูง 38 วารสารสาธารณสขุ มลู ฐานภาคเหนอื

2. สานักงานสาธารณสุขจังหวัด และ ครอบครัว โดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative สานักงานสาธารณสขุ อาเภอ ควรสร้างเจตคตทิ ดี่ ตี ่อการ research) ห รื อ กา ร วิ จัย เ ชิ ง ผส ม ผ สา น ( Mixed ดูแลผู้สูงอายุท่ีอยู่ในภาวะพึ่งพิงและการรับรู้บทบาท methods research) เพ่ิมเติม เพื่อให้ได้ปัจจัยท่ีมีผล เกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุท่ีอยู่ในภาวะพ่ึงพิงให้แก่ ต่อการดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงของอาสาสมัคร อ า ส า ส มั ค ร ป ร ะ จ า ค ร อ บ ค รั ว อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง แ ล ะ ประจาครอบครวั ท่อี าจนอกเหนือจากการวจิ ยั ในครั้งนี้ สม่าเสมอ ท้ังนี้ เพ่ือให้อาสาสมัครประจาครอบครัว ดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ควรพัฒนาระบบการสนับสนุนการ และประสทิ ธผิ ลมากยิ่งข้นึ ดูแลผู้สูงอายุท่ีอยู่ในภาวะพ่ึงพิงของอาสาสมัครประจา ครอบครัวโดยให้แรงสนับสนุนทางสังคมในการดูแล 3. สานักงานสาธารณสุขจังหวัด ผู้สูงอายุท่ีอยู่ในภาวะพึ่งพิงของอาสาสมัครประจา สานักงานสาธารณสุขอาเภอ โรงพยาบาล โรงพยาบาล ครอบครัวอย่างต่อเน่ือง เพียงพอ และเหมาะสม ส่งเสริมสุขภาพตาบล และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เพ่ือให้ผู้สูงอายุท่ีอยู่ในภาวะพึ่งพิงท่ีได้รับการดูแลจาก (อปท.) ควรเพิ่มแรงสนับสนุนทางสังคมในการดูแล อาสาสมัครประจาครอบครวั มคี ุณภาพชีวติ ทีด่ ี ผู้สูงอายุท่ีอยู่ในภาวะพึ่งพิงให้แก่อาสาสมัครประจา ครอบครัวอย่างเพียงพอและเหมาะสมต่อการดูแล 3. ควรพัฒนาโปรแกรมการฝึกอบรม ผู้สูงอายุท่ีอยู่ในภาวะพ่ึงพิงตามแนวทางท่ีกระทรวง ฟื้นฟูความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะ สาธารณสุขกาหนด ทั้งน้ี เพ่ือให้อาสาสมัครประจา พึ่งพิงของอาสาสมัครประจาครอบครัว โดยทบทวน ครอบครัวดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพ่ึงพิงได้ดีอย่าง ความรแู้ ละเพ่ิมพูนทักษะการดูแลผู้สูงอายุท่ีอยู่ในภาวะ ต่อเนื่อง พงึ่ พงิ ของอาสาสมัครประจาครอบครัวเพ่ือให้นาความรู้ ไปใช้ในการดูแลผู้สูงอายุท่ีอยู่ในภาวะพึ่งพิงและเพ่ิม ขอ้ เสนอแนะการทาวจิ ยั ครงั้ ต่อไป ประสิทธิผลในการดูแลผู้สูงอายุท่ีอยู่ในภาวะพึ่งพิงให้ดี ยงิ่ ขนึ้ 1. ควรศึกษาปัจจัยทม่ี ผี ลต่อการดแู ล ผสู้ ูงอายุทอี่ ยใู่ นภาวะพึ่งพิงของอาสาสมคั รประจา เอกสารอา้ งองิ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. (2559). คู่มืออาสาสมัครประจาครอบครัวกลุ่มดูแลผู้สูงอายุ. นนทบุรี: กรมสนบั สนุนบรกิ ารสขุ ภาพ. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. (2560). รายงานผลการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครประจาครอบครัว. สืบค้นเมื่อ 22 สงิ หาคม 2564, จาก //fv.phc.hss.moph.go.th/ ก ร ม อ น า มั ย . ( 2 5 5 9 ) . ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก า ร ก ร ม อ น า มั ย . สื บ ค้ น เ มื่ อ 1 4 ม ก ร า ค ม 2565, จ า ก //doc.anamai.moph.go.th/index.php?r=str-project/view&id=5074 กระทรวงสาธารณสุข. (2559). แนวทางการดาเนินงานอาสาสมัครประจาครอบครัว. นนทบุรี: กระทรวง สาธารณสขุ . กัลยา วานิชย์บัญชา และฐิตา วานิชย์บัญชา. (2558). การใช้ SPSS for Windows ในการวิเคราะห์ข้อมูล (พมิ พ์ครง้ั ที่ 27). กรงุ เทพมหานคร: สามลดา. จีรวรรณ หัสโรค์. (2561). การศึกษาการพัฒนาอาสาสมัครประจาครอบครัว เขตสุขภาพที่ 7. วารสารสุขภาพ ภาคประชาชน, 13(4), 80-88. ยทุ ธนา แยบคาย และวลั ยา ตพู านิช. (2564). ปัจจยั ทีม่ ีผลต่อการปฏบิ ตั ิงานตามบทบาทของอาสาสมคั ร ป ร ะ จ า ครอบครัว จังหวัดสุโขทยั . วารสารพยาบาลตารวจ, 13(1), 34-42. . 39 วารสารสาธารณสขุ มูลฐานภาคเหนอื

ยุทธนา แยบคาย และมุจลินท์ แปงศิริ. (2564). ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานตามสมรรถนะของอาสาสมัคร ประจาครอบครวั จงั หวดั สโุ ขทัย. วารสารสขุ ภาพกบั การจัดการสุขภาพ, 7(2), 65-77. วเิ ชษฐ์ เชิดสันเทยี ะ, ปาหนัน พิชยภิญโญ และสุนีย์ ละกาปั่น. (2564). การพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครประจา ครอบครวั ในการดแู ลผ้ทู ี่มภี าวะพง่ึ พิง. วารสารเกือ้ การุณย์, 28(1), 33-43. สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย. (2564). รายงานประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564. สุโขทัย: สานักงาน สาธารณสขุ จงั หวัดสุโขทยั . สานักงานสาธารณสุขอาเภอศรีสัชนาลัย. (2563). รายงานประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563. สุโขทัย: สานักงาน สาธารณสขุ อาเภอศรสี ชั นาลัย. Allport, G. W. (1968). The person in psychology: selected essays. Boston, MA: Beacon Press. Bloom, B. S. J. (1965). The role of educational science in curriculum development. International Journal of the Educational Sciences, 1(1), 5-15. Bloom, B. S. J. (1975). Taxonomy of educational objectives, handbook I: The cognitive domain. New York, NY: David Mckay. Cronbach, L. J. (1984). Essentials of psychology and education. New York, NY: McGraw-Hill. Hair, J., Black, W. C., Babin, B. J. & Anderson, R. E. (2012). Multivariate Data Analysis (7th ed). New York, NY: Pearson Education International. House, J. S. (1981). The association of social relationship and activities with mortality: community health study. American Journal Epidemiology, 116(1), 123-140. Kuder, G. F. & Richardson, M. W. (1937). The theory of the estimation of test reliability. Psychometrika, 2(3), 151–160. Rovinelli, R. J. & Hambleton, R. K. (1977). On the use of content specialists in the assessment of criterion-referenced test item validity. Tijdschrift voor Onderwijsresearch, 2(2), 49-60. 40 วารสารสาธารณสขุ มูลฐานภาคเหนอื

ภาวะโลหิตจางในสตรีตงั้ ครรภท์ ม่ี าฝากครรภ์ โรงพยาบาลคลองขลงุ อาเภอคลองขลงุ จงั หวัดกาแพงเพชร Anemia in pregnant women attending antenatal care at Khlong Khlung Hospital, Khlong Khlung District, Kamphaeng Phet Province อาทิน คาซาว, พย.ม. กลุ่มงานบรกิ ารด้านปฐมภมู แิ ละองค์รวม โรงพยาบาลคลองขลุง บทคัดยอ่ การวิจัยกึ่งทดลองชนิดศึกษากลุ่มเดียว วัดก่อนและหลังการทดลองครั้งน้ี มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาภาวะ โลหติ จางในสตรีตัง้ ครรภท์ ี่มาฝากครรภ์ โรงพยาบาลคลองขลงุ อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร ประกอบด้วย 2 ข้ันตอนคือ ข้ันตอนท่ี 1 การศึกษาความชุกและปัจจัยท่ีมีความสัมพันธ์กับภาวะโลหิตจางในสตรีต้ังครรภ์ กลุ่ม ตัวอย่างคือ สตรีต้ังครรภ์ที่มาฝากครรภ์ จานวน 220 คน ได้จากการสุ่มด้วยการจับฉลากแบบไม่คืน เก็บรวบรวม ข้อมูลจากเวชระเบียนด้วยแบบฟอร์มบันทึกข้อมูลและแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติการแจกแจงความถ่ี ร้อยละ Chi-square test, Fisher’s exact test และ Odds ratio และขั้นตอนท่ี 2 การศึกษาประสิทธิผลของ โปรแกรมป้องกันและแก้ไขปัญหาภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในสตรีต้ังครรภ์ กลุ่มตัวอย่างคือ สตรี ตัง้ ครรภ์ที่มภี าวะโลหติ จาง จานวน 64 คน ได้จากการคดั เลอื กกลมุ่ ตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง โดยกลุ่มทดลองเข้า ร่วมกิจกรรมตามโปรแกรมป้องกันและแก้ไขปัญหาภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในสตรีต้ังครรภ์ วิเคราะห์ ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยสถิติการแจกแจงความถ่ี ร้อยละ และ Paired Sample’s t-test และวิเคราะห์ข้อมูลเชิง คุณภาพด้วยการวิเคราะหเ์ น้ือหา ผลการวิจัยพบว่า อัตราความชุกของภาวะโลหิตจางในสตรีต้ังครรภ์ เท่ากับ 29.1 ปัจจัยท่ีมีความสัมพันธ์ กับภาวะโลหิตจางในสตรีตั้งครรภ์ ได้แก่ อายุ (Crude OR = 2.289; 95%CI: 1.052–4.983; p–value = 0.037) จานวนคร้ังของการตั้งครรภ์ (Crude OR = 0.429; 95%CI: 0.232–0.791; p–value = 0.007) อายุครรภ์ท่ีฝาก ครรภ์คร้ังแรก (Crude OR = 0.289; 95%CI: 0.156–0.534; p–value<0.001) สถานบริการที่ฝากครรภ์ (Crude OR = 0.281; 95%CI: 0.113–0.699; p–value = 0.006) การได้รับยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก/วิตามิน (Crude OR = 0.186; 95%CI: 0.096–0.361; p–value<0.001) และจานวนครั้งของการฝากครรภ์ (Crude OR = 3.267; 95%CI: 1.732–6.160; p–value<0.001) และภายหลังเข้าร่วมโปรแกรมป้องกันและแก้ไขปัญหาภาวะโลหิตจาง จากการขาดธาตุเหล็กในสตรีตั้งครรภ์ กลุ่มทดลองมีค่าเฉล่ียความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงสูงกว่าก่อนเข้าร่วม โปรแกรม อย่างมนี ัยสาคญั ทางสถิตทิ ่ี 0.001 ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่า หน่วยงานที่เก่ียวข้องควรฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างเจตคติท่ีดีต่อ การฝากครรภ์ให้แก่สตรีตั้งครรภ์ สามี และญาติ เพื่อให้มีการฝากครรภ์ครั้งแรกภายใน 12 สัปดาห์ การฝากครรภ์ คณุ ภาพครบ 5 คร้ังตามเกณฑ์ และควรติดตามภาวะสุขภาพของมารดาและทารกหลังคลอดในกลุ่มสตรีต้ังครรภ์ท่ี มีภาวะโลหิตจาง คาสาคญั : ภาวะโลหิตจาง สตรีต้งั ครรภ์ ฝากครรภ์ 41 วารสารสาธารณสขุ มลู ฐานภาคเหนือ

ABSTRACT The one–group quasi–experimental research were measured before and after this experiment. The objective of this study was to study anemia in pregnant women attending antenatal care at Khlong Khlung Hospital Khlong Khlung District Kamphaeng Phet Province. It consisted of two steps: Step 1 was to study the prevalence and factors associated with anemia among pregnant women. The sample group was 220 pregnant women attending antenatal care. Obtained at random with a non–return drawing collect data from medical records with record form and questionnaires. Data were analyzed using frequency distribution statistics, percentage Chi–square test, Fisher’s exact test and Odds ratio and step 2, a study on the effectiveness of a program for the prevention and treatment of iron deficiency anemia in pregnant women. The sample group was 64 pregnant women with anemia were selected from a specific sample group. The experimental group participated in activities according to the prevention and solution of iron deficiency anemia in pregnant women, data were analyzed with frequency distribution statistics, percentages, and Paired Sample’s t–test, and qualitative data were analyzed with content analysis. Result: The prevalence rate of anemia among pregnant women was 29.1, Factors associated with anemia in pregnant women were age (Crude OR = 2.289; 95%CI: 1.052–4.983; p–value = 0.037), number of episodes of pregnancies (Crude OR = 0.429; 95%CI: 0.232–0.791; p–value = 0.007), gestational age at first antenatal (Crude OR = 0.289; 95%CI: 0.156–0.534; p–value<0.001), antenatal care home (Crude OR = 0.281; 95%CI: 0.113–0.699; p–value = 0.006), receiving iron/vitamin fortified (Crude OR = 0.186; 95%CI: 0.096–0.361; p–value<0.001) and number of antenatal care visits (Crude OR = 3.267; 95%CI: 1.732–6.160; p–value<0.001), and after participating in the prevention and treatment program for iron deficiency anemia in pregnant women. The experimental group had higher mean erythrocyte concentrations than before participating in the program, statistically significant at 0.001. The results of this research show that relevant agencies should train, educate and build good attitudes towards antenatal care for pregnant women, their husbands and their relatives, to have the first antenatal care within 12 weeks, complete 5 quality antenatal care according to the criteria and should monitor the health of the mother and the baby after delivery in pregnant women with anemia. Keyword : Anemia, pregnant women, Antenatal care 42 วารสารสาธารณสุขมูลฐานภาคเหนอื

บทนา ที่ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกเม่ืออายุครรภ์น้อยกว่า ภาวะโลหิตจางเกิดจากความผิดปกติ 12 สัปดาห์มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเท่ากับร้อยละ 66.91, ในกระบวนการสร้างเมด็ เลือดแดง สาเหตุเกิดจากความ 74.74, 80.59 และร้อยละของหญิงต้ังครรภ์ได้รับการ ผิดปกติทางกรรมพันธ์ุของการสร้างฮีโมโกลบิน ดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์มีแนวโน้มความ (Hemoglobin) ภาวะขาดสารอาหาร โรคติดเช้ือ โรค ครอบคลมุ เพ่ิมสูงขึ้นเท่ากับร้อยละ 53.94, 62.86, 70.28 ไม่ติดต่อเรื้อรัง และการขาดธาตุเหล็ก สืบเนื่องจาก (ดาราวรรณ มณีกลุทรัพย์ และคณะ, 2563) เช่นเดียวกับ พฤติกรรมโภชนาการที่ไม่เหมาะสมทาให้ระดับความ ผลการดาเนินงานของคลินกิ ฝากครรภ์โรงพยาบาลคลองข เข้มข้นของเม็ดเลือดแดงลดลงเกิดภาวะโลหิตจางได้ ลุง จังหวัดกาแพงเพชร (ปีพ.ศ.2560–2562) งานอนามัย โดยพบว่าประมาณร้อยละ 80.0 ของภาวะโลหิตจางใน แม่และเด็กมีความครอบคลุมของการดาเนินกิจกรรมมี หญิงต้ังครรภ์เกิดจากท่ีมี ธาตุเหล็กไม่พอท่ีจะป้อนให้ แนวโนม้ เพ่มิ ขึ้น โดยอตั ราการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ เม็ดเลือดแดง ซึ่งเหล็กเป็นองค์ประกอบท่ีสาคัญในเม็ด ของหญิงต้ังครรภ์เท่ากับร้อยละ 71.62, 90.59, 94.74 เลือดแดงและการสร้างฮีโมโกลบิน (Hemoglobin) และร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอด ไมโอโกลบิน (Myoglobin) และเอนไซม์ (Enzyme) ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ความครอบคลุมมีแนวโน้ม (พีรพงศ์ อินทศร, 2553) หากไม่ได้รับการรักษาด้วยยา เพิ่มสูงขึ้นเท่ากับร้อยละ 60.40, 81.57, 84.65 ในส่วน เม็ดเสริมธาตุเหล็กอาจทาให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลว น้ีพบหญิงต้ังครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางจากการตรวจ Hct คลอดก่อนกาหนด ความทนในการเสียเลือดในระหว่าง คร้ังท่ี 1 ร้อยละ 20.33, 15.81, 14.28 และมีภาวะโลหิต คลอดได้น้อย เกิดการติดเช้ือในระยะหลังคลอดได้ง่าย จางตลอดการต้ังครรภ์ร้อยละ 3.66,3.84, 2.94 (กลุ่มงาน (พันธิพา จารนัย และคณะ, 2561) ส่วนอุบัติการณ์ภาวะ บริการปฐมภูมิ รพ.คลองขลุง, 2563) ซ่ึงถึงแม้จะมี โลหิตจางในหญิงต้ังครรภ์ของประเทศไทยพบค่าเฉลี่ย แนวโน้มลดลง แต่ก็ยังเป็นปัญหาท่ีสาคัญของการ ร้อยละ 23–30 สาเหตุภาวะโลหิตจางในหญิงต้ังครรภ์ ดาเนนิ งานอนามัยแมแ่ ละเดก็ ของอาเภอคลองขลงุ ได้แ ก่กา รขา ดส า รอา หาร จาพ ว กธ าตุเ หล็ ก แล ะ กร ด จากข้อมูลข้างต้น ผู้วิจัยมีความสนใจ โฟลิกการเสียเลือดจากการมีพยาธิปากขอโลหิตจาง ที่จะทาการศึกษาอัตราความชุกและปัจจัยที่มีผลต่อ จากอะพลาสติก (Aplastic Anemia) โรคทางพันธุกรรม ภาวะโลหิตจางในสตรีต้ังครรภ์และนาแนวทางการ เช่นธาลัสซีเมียโรคเม็ดเลือดแดงแตกง่ายรวมถึงการตก รักษาภาวะโลหิตจางและภาวะโลหิตจางจากการขาด เลอื ดก่อนคลอด ธาตุเหล็กของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข มา การฝากครรภ์ถือว่าเป็นพฤติกรรม ปรับใช้ในการดูแลสตรีตั้งครรภ์ท่ีมาฝากครรภ์ สุขภาพที่สาคัญอย่างหน่ึงของหญิงตั้งครรภ์เพราะจะ โรงพยาบาลคลองขลุง โดยคาดหวังว่าผลการศึกษานี้จะ ไดร้ ับการตรวจวินิจฉัย การดูแลรักษาเพื่อป้องกันความ นาไปสู่การกาหนดแนวทางการจัดกิจกรรมป้องกัน ผิดปกติหรอื ลดโอกาสเสยี่ งจากภาวะแทรกซ้อนระหว่าง ภาวะโลหติ จางจากการขาดธาตุเหล็กขณะตั้งครรภ์และ ต้งั ครรภ์ เช่น โรคพษิ แห่งครรภ์ เบาหวานขณะตั้งครรภ์ ก่อให้เกิดการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กให้บรรลุ และภาวการณ์ตกเลือด เป็นต้นสถานการณ์การ เปา้ หมายของจังหวดั และเขตสขุ ภาพต่อไป ดาเนนิ งานอนามัยแมแ่ ละเด็กของประเทศไทย ระหว่าง ปี พ.ศ.2560–2562 พบว่าร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ 43 วารสารสาธารณสขุ มลู ฐานภาคเหนอื

วตั ถุประสงค์ ตั้งครรภ์ท่ีมาฝากครรภ์ โรงพยาบาลคลองขลุง ในช่วง เดอื นกรกฎาคม 2563 ถึงเดือนมิถุนายน 2564 จานวน 1. เพื่อศึกษาความชุกของภาวะโลหิตจางใน 220 คน ไดจ้ ากการสุม่ ด้วยการจบั ฉลากแบบไม่คืน เก็บ ส ต รี ต้ั ง คร ร ภ์ ที่ม า ฝ า ก คร ร ภ์ โ ร ง พย า บ า ล คล อง ข ลุ ง รวบรวมข้อมูลจากเวชระเบียนด้วยแบบฟอร์มบันทึก อาเภอคลองขลุง จงั หวดั กาแพงเพชร ข้อมูลและแบบสอบถาม ทดสอบความเชื่อม่ันกับสตรี ต้งั ครรภโ์ รงพยาบาลขาณุวรลกั ษบุรี อาเภอขาณวุ รลักษบุรี 2. เพื่อศึกษาปัจจัยท่ีอาจมีผลต่อภาวะโลหิต จงั หวดั กาแพงเพชร จานวน 30 คน ไดค้ า่ α = 0.84, 0.89 จางในสตรีตั้งครรภ์ทม่ี าฝากครรภ์โรงพยาบาลคลองขลุง และ 0.92 ตามลาดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติการแจก อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร แจงความถี่ ร้อยละ Chi-square test, Fisher’s exact test และ Odds ratio 3. เพ่ือทดลองใช้โปรแกรมการป้องกันและ แก้ไขปัญหาภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กใน ข้ันตอนท่ี 2 การศึกษาประสิทธิผล ส ตรี ต้ัง คร รภ์ ท่ีม าฝ าก คร รภ์ โ รง พย าบ าล คล อง ข ลุ ง ของโปรแกรมป้องกันและแก้ไขปัญหาภาวะโลหิตจาง อาเภอคลองขลงุ จงั หวดั กาแพงเพชร จากการขาดธาตุเหล็กในสตรีต้ังครรภ์ท่ีมาฝากครรภ์ โรงพยาบาลคลองขลุง อาเภอคลองขลุง จังหวัด วธิ กี ารศกึ ษา กาแพงเพชร กลุ่มตัวอย่างคือ สตรีต้ังครรภ์ท่ีมีภาวะ โลหิตจาง จานวน 64 คน ได้จากการคัดเลือกกลุ่ม ก า ร วิ จั ย กึ่ ง ท ด ล อ ง ช นิ ด ศึ ก ษ า ตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง โดยกลุ่มทดลองเข้าร่วม กลุ่มเดียว วัดก่อนและหลังการ ทดลอง (Quasi กิจกรรมตามโปรแกรมป้องกันและแก้ไขปัญหาภาวะ experimental research with the one-shot case โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในสตรีต้ังครรภ์ที่ study) ค ร้ั ง นี้ ไ ด้ รั บ ก า ร พิ จ า ร ณ า รั บ ร อ ง จ า ก พัฒนาขึ้นจากแนวทางการรักษาภาวะโลหิตจางและ คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ สานักงาน ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก (กรมอนามัย, สาธารณสุขจังหวัดกาแพงเพชร โครงการเลขท่ี 64 07 2558) วิเคราะหข์ อ้ มูลเชงิ ปริมาณด้วยสถิติการแจกแจง 17 ลงวันที่ 29 กรกฎาคม 2564 ประกอบด้วย 2 ความถ่ี ร้อยละ และ Paired Sample’s t-test และ ข้นั ตอน ดงั น้ี วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) ขั้นตอนท่ี 1 การศึกษาความชุกและ ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะโลหิตจางในสตรี ต้ังครรภ์ที่มาฝากครรภ์โรงพยาบาลคลองขลุง อาเภอ คลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร กลุ่มตัวอย่างคือ สตรี ผลการศกึ ษา 1. ความชกุ ของภาวะโลหิตจางและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะโลหิตจางในสตรีตั้งครรภ์ โรงพยาบาลคลองขลงุ อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร อัตราความชุกของภาวะโลหิตจางในสตรีต้ังครรภ์ ร้อยละ 29.1 โดยพบในสตรีอายุ<20 ปี (ร้อยละ 45.2) ตง้ั ครรภ์≥3 ครัง้ (ร้อยละ 41.8) ฝากครรภ์ครั้งแรก>12 สัปดาห์ (ร้อยละ 42.6) ฝากครรภ์ท่ีโรงพยาบาลคลองขลุง (รอ้ ยละ 33.7) ได้รบั ยาเสริมธาตเุ หลก็ แต่ไมก่ นิ (รอ้ ยละ 45.4) และฝากครรภ์<5 คร้งั (ร้อยละ 48.3) และปัจจัยที่มี ความสัมพันธ์กับภาวะโลหิตจางในสตรีตั้งครรภ์ ได้แก่ อายุ (Crude OR = 2.289; 95%CI: 1.052–4.983; p– value = 0.037) จานวนครั้งของการต้ังครรภ์ (Crude OR = 0.429; 95%CI: 0.232–0.791; p–value = 0.007) อายุครรภ์ที่ฝากครรภ์ครั้งแรก (Crude OR = 0.289; 95%CI: 0.156–0.534; p–value<0.001) สถานบริการท่ี ฝากครรภ์ (Crude OR = 0.281; 95%CI: 0.113–0.699; p–value = 0.006) การได้รับยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก/ วิตามิน (Crude OR = 0.186; 95%CI: 0.096–0.361; p–value<0.001) และจานวนคร้ังของการฝากครรภ์ (Crude OR = 3.267; 95%CI: 1.732–6.160; p–value<0.001) ดงั ตารางท่ี 1 44 วารสารสาธารณสุขมูลฐานภาคเหนอื

ตารางที่ 1 อตั ราความชกุ และปจั จัยท่ีมคี วามสัมพนั ธก์ ับภาวะโลหติ จางในสตรตี ง้ั ครรภ์ (n = 220) ตัวแปร จานวน (รอ้ ยละ) ความชุก 2 and p-value Crude OR (95%CI) Hct < 33% Hct ≥ 33% (ร้อยละ) Fisher’s df 0.040 2.289 (1.052–4.983) อายุ exact test < 20 ปี 14 (45.2) 17 (54.8) 45.2 6.421† 2 0.006 0.429 (0.232–0.791) 20 - 33 ปี 38 (24.4) 118 (75.6) 24.4 0.000 0.289 (0.156–0.534) > 33 ปี 12 (36.4) 21 (63.6) 36.4 7.533‡ 1 0.004 0.281 (0.113–0.699) จานวนครัง้ ของการต้งั ครรภ์ 0.000 0.186 (0.096–0.361) <3 ครงั้ 36 (23.5) 117 (76.5) 23.5 16.456‡ 1 0.000 3.267 (1.732–6.160) 3 ครงั้ 28 (41.8) 39 (58.2) 41.8 อายุครรภ์ที่ฝากครรภค์ รัง้ แรก 8.193‡ 1 ≤ 12 สปั ดาห์ 21 (17.6) 98 (82.4) 17.7 > 12 สปั ดาห์ 43 (42.6) 58 (57.4) 42.6 27.255‡ 1 สถานบริการทฝ่ี ากครรภ์ รพ.สต. 6 (12.5) 42 (87.5) 12.5 14.054‡ 1 รพ.คลองขลงุ 58 (33.7) 114 (66.3) 33.7 การได้รบั ยาเม็ดเสริมธาตุเหลก็ กนิ 15 (13.4) 97 (86.6) 13.4 ไมก่ นิ 49 (45.4) 59 (54.6) 45.4 จานวนครัง้ ของการฝากครรภ์ < 5 ครงั้ 28 (48.3) 30 (51.7) 48.3 ≥ 5 ครงั้ 36 (22.2) 126 (77.8) 22.2 †Chi-square test ‡Fisher’s exact test 2. ภาวะโลหิตจางในสตรีต้ังครรภ์ที่มาฝากครรภ์ โรงพยาบาลคลองขลุง อาเภอคลองขลุง จังหวัด กาแพงเพชร สตรีตั้งครรภ์ทมี่ ีภาวะโลหิตจาง (จานวน 64 คน) หลังเข้าร่วมโปรแกรมป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาภาวะโลหิต จางจากการขาดธาตุเหล็ก พบว่า มีผลเลือดปกติ (Hct ≥33mg%) จานวน 53 คน (ร้อยละ 82.8) ยังมีภาวะโลหิต จาง (Hct<33mg%) จานวน 10 คน (ร้อยละ 15.6)ไม่สามารถติดตามได้ จานวน 1 คน (ร้อยละ 1.6)ในกลุ่มที่ยัง พบภาวะโลหิตจางพบว่ามคี วามผิดปกตเิ ปน็ beta thalassemia trait จานวน 6 คน (รอ้ ยละ 60.0) beta thalassemia HbE จานวน 4 คน (รอ้ ยละ 40.0) ดังตารางที่ 2 45 วารสารสาธารณสขุ มลู ฐานภาคเหนือ

ตารางที่ 4 ปญั หา อุปสรรค และแนวทางแกไ้ ขภาวะโลหติ จางจากการขาดธาตเุ หล็กในสตรีตงั้ ครรภ์ ลาดับ ปญั หาและอุปสรรค แนวทางแก้ไข 1 ผู้ป่วยรบั ประทานยาไมต่ รงตามขนาดท่แี พทย์สง่ั อธบิ ายเรอ่ื งขนาดของยาทีเ่ หมาะสมซงึ่ จะเป็นขนาดยาท่ี เนื่องจากมกี ารได้รบั ยาเสริมธาตเุ หลก็ จากหลายแห่ง ใช้ในการปอ้ งกันและรักษา แนะนาให้รับประทานยากับน้าผลไม้/ให้รับประทาน 2 ผู้ป่วยรับประทานยาไมค่ อ่ ยได้เน่อื งจากมปี ัญหา พร้อมหรอื หลังอาหารทันที คล่ืนไส้ อาเจยี น แนะนาใหร้ ับประทานยาให้ต่อเนอื่ ง 3 ผู้ปว่ ยรับประทานยาไมต่ อ่ เนอื่ ง เนือ่ งจากลืม/อาการ แนะนาญาติ/สามีเพ่ิมความใส่ใจในเรื่องการรับประทาน ข้างเคยี งของยา อาหารของสตรีตั้งครรภใ์ หม้ ากขน้ึ จัดผลไมแ้ บบหลากหลายเป็นอาหารระหวา่ งม้ือ 4 สว่ นใหญร่ ับประทานอาหารไม่ครบ 3 มือ้ เนื่องจาก อธบิ ายให้สตรตี ้งั ครรภ์/ญาติ/สามีได้รับรู้ผลเสียของการ อาการแพท้ อ้ ง เบ่ืออาหาร ฯลฯ ดมื่ นา้ หวาน/นา้ อัดลม ทั้งในระยะสน้ั และระยะยาว เป็นขอ้ จากดั สว่ นบคุ คล 5 รบั ประทานผัก ผลไม้ ในแตล่ ะวนั เป็นจานวนน้อย แนะนาใหเ้ ข้ารับบรกิ าร ณ หน่วยบริการใกล้ ๆ 6 ดื่มนา้ หวานหรือน้าอดั ลมมากเกินไปเน่อื งจากอากาศ ร้อน เบื่ออาหาร ทาให้ไม่หวิ และไม่ร้สู กึ อยากอาหาร 7 ครอบครัวมีฐานะยากจน 8 กรณีสูญหาย (Loss) 1 รายทไี่ มส่ ามารถตดิ ตามได้ อภิปรายผล ไม่รับประทานหรือรับประทานแต่ไม่ถูกต้อง เช่น ควร จากการศึกษาข้อมูลการฝากครรภ์ของสตรี กนิ ยาเม็ดธาตุเหล็กก่อนอาหารหรือตอนท้องว่างเพื่อลด ตั้งครรภ์โรงพยาบาลคลองขลุง ระหว่างวันท่ี 1 อาการคล่นื ไส้ อาเจียน เนือ่ งจากสว่ นใหญ่จบการศึกษา กรกฎาคม 2563–30 มิถุนายน 2564 จานวน 220 คน ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น(นพคุณ พบว่ามภี าวะโลหิตจาง (Hct<33mg%) จานวน 64 คน นันทศ์ ภุ วฒั น์, 2563) (ร้อยละ 29.1) โดยพบอายุต่ากว่า 20 ปี (ร้อยละ 45.2) ป ัจ จ ัย ที ่ม ีค ว า ม ส ัม พ ัน ธ ์ก ับ ก า ร เ ก ิด ภ า ว ะ ต้ังครรภ์มากกว่า 3 คร้ัง (ร้อยละ 41.8) ฝากครรภ์ครั้ง โลหิตจาง (Hct<33mg%) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ แรกเมื่ออายุครรภ์มากกว่า 12 สัปดาห์ (ร้อยละ 42.6) (p<0.05) ได้แก่ อายุ จานวนคร้ังของการตั้งครรภ์ อายุ ส่วนใหญ่ฝากครรภ์ท่ีโรงพยาบาลคลองขลุง (ร้อยละ ครรภ์ที่ฝากครรภ์ครั้งแรก สถานบริการท่ีฝากครรภ์ 33.7) ไดร้ ับยาเสริมธาตเุ หล็ก/วิตามินแต่ไม่กิน (ร้อยละ การไดร้ บั ยาเสริมธาตเุ หลก็ /วิตามนิ แตไ่ ม่กนิ และจานวน 45.4) และฝากครรภ์น้อยกว่า 5 ครั้ง (ร้อยละ 48.3) ครั้งของการฝากครรภ์ โดยพบว่าสตรีต้ังครรภ์ที่มีอายุ อธิบายได้ว่าการต้ังครรภ์ก่อนวัยอันควร (อายุน้อยกว่า น้อยกว่า 20 ปีมโี อกาสเกิดภาวะโลหิตจางมากกว่ากลุ่ม 20 ปี) ซ่ึงเปน็ วยั ท่ขี าดความพร้อมทงั้ ดา้ นรา่ งกาย จิตใจ ที่มีอายุมากกว่า 20 ปี 2.289 เท่า (OR = 2.289, และสังคม ขาดการไตร่ตรองนึกคิด ประกอบกับสังคม 1.052–4.983, p = 0.037) อธิบายได้ว่าสตรีตั้งครรภ์ อาเภอคลองขลุงซึ่งเป็นสังคมชนบทและยังมีความคิด ที่มีอายุน้อยกว่า 20 ปี มีโอกาสเกิดภาวะโลหิตจาง ความเช่ือแบบโบราณ ยังไม่เปิดใจยอมรับการมีสามี/ มากกว่าสตรีท่ีมีอายมุ ากกว่าท้ังนี้เน่ืองจากวัยรุ่นเป็นวัย ภรรยาในวัยท่ีต้องศึกษาหาความรู้ เป็นเหตุให้สตรี ท่ียังมีการเจริญเติบโตของร่างกายจึงมีความต้องการ ต้ังครรภ์ไม่กล้าเปิดเผยตนเอง ทาให้ฝากครรภ์ไม่ครบ ธาตุเหล็กเพ่ือนาไปใช้ในการเจริญเติบโตของทารกใน ตามเกณฑ์ หรือแม้แต่การรับประทานยาเม็ดเสริมธาตุ ครรภ์และการสร้างเม็ดเลือดแดง อีกทั้งสตรีต้ังครรภ์ เหล็ก/วิตามินท่ีได้รับพอมีอาการข้างเคียง เช่น ยามี วัยรุ่นมักเลือกรับประทานอาหารที่ตนชอบ ซึ่งอาจทา กลนิ่ เหมน็ กินแล้วคลื่นไส/้ อาเจียน ก็เลย ให้ได้รับสารอาหารท่ีมีธาตุเหล็กไม่เพียงพอต่อ 47 วารสารสาธารณสุขมลู ฐานภาคเหนอื

ความต้องการของร่างกาย ดังนั้น สตรีตั้งครรภ์ทุกราย 0.113–0.699, p = 0.006) เป็นเพราะสตรีต้ังครรภ์จะ ควรได้รับการตรวจหาสาเหตุของภาวะโลหิตจางตั้งแต่ ได้รับบริการเจาะเลือดและตรวจ Ultrasoundซ่ึงมี เร่ิมแรก(สุวิทย์ อุดมกิตติ สายชล พฤกษ์ขจร, 2552) โอกาสได้รับคาแนะนาจากแพทย์ เภสัชกร นัก สตรีที่ตั้งครรภ์น้อยกว่า 3 ครั้งมีโอกาสเกิดภาวะโลหิต โภชนาการ และพยาบาล รวมท้ังการรับยาเม็ดเสริม จางเป็น0.429 เท่าของกลุ่มท่ีต้ังครรภ์มากกว่า 3 ครั้ง ธาตุเหล็ก/วิตามินมีโอกาสเกิดภาวะโลหิตจางเป็น ขึ้นไป (OR = 0.429, 0.232–0.791, p = 0.007) 0.186 เท่าของกลุ่มท่ีได้รับแต่ไม่กิน (OR = 0.186, อธิบายได้วา่ ร่างกายของสตรีจะมีการสูญเสียเลือดและ 0.096–0.361, p<0.001) ซ่ึงล้วนแต่ทาให้เกิดภาวะ ธาตเุ หล็กในแต่ละครง้ั ท่คี ลอด รวมถึงการเลี้ยงบุตรด้วย โลหติ จางจากการขาดธาตุเหล็กขณะตั้งครรภ์ได้ (รายิน นมมารดาในช่วงหลังคลอดท่ีผ่านมา อีกทั้งการมีบุตร อโรรา่ และคณะ, 2552) หลายคนมีผลถึงเศรษฐกิจ ค่าใช้จ่ายของครอบครัว ผลการดาเนินงานตามโปรแกรมการ สตรตี ง้ั ครรภท์ ีม่ ีบตุ รแล้วมักใหค้ วามใส่ใจกับการทางาน ป้องกันและแก้ไขปัญหาภาวะโลหิตจางจากการขาด หาเลีย้ งชีพจนอาจทาให้ลืมรับประทานยาเม็ดเสริมธาตุ ธาตุเหล็กในสตรีต้ังครรภ์โรงพยาบาลคลองขลุง ท่ีมี เหล็ก หรือขาดความใส่ใจในการรับประทานอาหารท่ีมี ภาวะโลหิตจาง (Hct<33mg%) จานวน 64 คน (ร้อย ธาตเุ หล็กสูงเพ่ือใหไ้ ด้สารอาหารอย่างเพียงพอต่อความ ละ 29.1) หลังเข้าร่วมโปรแกรมพบว่ามีผลเลือดปกติ ต้องการของร่างกาย (ชบาไพร สุขกาย จิราพร เขียวอยู่ (Hct>33mg%) จานวน 53 คน (ร้อยละ 82.8) ยังมี ,2555)สตรีต้ังครรภ์ที่ฝากครรภ์ไม่ครบ 5 คร้ังมีโอกาส ภาวะโลหิตจาง (Hct<33mg%) จานวน 10 คน (ร้อย เกิดภาวะโลหิตจางมากกว่ากลุ่มที่ฝากครรภ์ครบตาม ละ 15.6)ในกลุ่มนี้พบว่ามีความผิดปกติเป็น beta เกณฑ์ 3.267 เท่า (OR = 3.267, = 1.732–6.160, thalassemia trait จานวน 6 คน (รอ้ ยละ 60.0) beta p<0.001)เป็นเพราะสตรีจะได้รับการดูแลจากบุคลากร thalassemia HbEจานวน 4 คน (ร้อยละ 40.0) ไม่ ทางการแพทย์เมอื่ มารับบริการฝากครรภต์ ามนัด ดังน้ัน สามารถติดตามได้ จานวน 1คน (ร้อยละ 1.6) และ หากสตรีมารับบริการฝากครรภ์ไม่ครบตามเกณฑ์ อาจ การศึกษานี้ยังพบว่าสตรีต้ังครรภ์ท่ีมีภาวะโลหิตจางมี ทาให้ได้รับการคัดกรองช้า ได้รับยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก ค่าเฉล่ียความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงหลังเข้าร่วม เพ่ือปอ้ งกันหรือรักษาภาวะโลหิตจางไม่เพียงพอ จนทา โปรแกรมสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมอย่างมีนัยสาคัญ ให้เกิดภาวะโลหติจางในขณะตั้งครรภ์ได้ (วราภรณ์ ปู่ ทางสถิติ (p<0.05) โดยเพิ่มขึ้นจาก 34.79 (S.D. = วัง, 2563) สตรีต้ังครรภ์ท่ีฝากครรภ์คร้ังแรกอายุครรภ์ 3.452) เป็น 37.19 (S.D. = 3.231) อธิบายได้ว่า <12สัปดาห์ มีโอกาสเกิดภาวะโลหิตจางเป็น 0.289 โปรแกรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาภาวะโลหิตจาง เ ท่ า ข อ ง ก ลุ่ ม ท่ี ฝ า ก ค ร ร ภ์ ค รั้ ง แ ร ก อ า ยุ ค ร ร ภ์ จากการขาดธาตุเหล็กในสตรีตั้งครรภ์ที่หน่วยบริการได้ >12 สัปดาห์ (OR = 0.289, 0.156–0.534, p<0.001) จัดทาข้นึ มปี ระโยชนแ์ ละเกดิ ประสิทธิผลต่อการป้องกัน อธิบายได้ว่า การฝากครรภช์ ้า(หลังไตรมาส 1) จะทาให้ และแก้ไขปัญหาภาวะโลหิตจางในสตรีต้ังครรภ์ได้อย่าง การฝากครรภ์ไม่ครบตามเกณฑ์ 5 คร้ัง ซ่ึงนอกจากจะ มีประสิทธิภาพ (จินนา รสเข้ม อุบลวรรณ กุลสันต์, ทาให้สตรีตั้งครรภ์ได้รับการคัดกรองช้าแล้วยังทาให้ 2558) และยงั จาเป็นต้องคานงึ ถงึ ปัจจัยอื่น ๆ ท่ีมีผลต่อ ได้รับยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก/วิตามิน รวมท้ังคาแนะนา พฤติกรรมสุขภาพของหญิงต้ังครรภ์ เช่น ปัจจัยนา เก่ียวกับอาหารและโภชนาการท่ีช้าไปด้วย ทาให้ไม่ได้ ได้แก่เจตคติต่อพฤติกรรมการดูแลตนเอง การรับรู้ รับประทานอาหารท่ีมีธาตุเหล็กสูงจนทาให้มีธาตุเหล็ก ประโยชน์ของพฤติกรรมการดูแลตนเอง และการรับรู้ สะสมไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย และยัง อุปสรรคของพฤติกรรมการดูแลตนเองปัจจัยเอ้ือได้แก่ พบว่าสตรีต้ังครรภ์ท่ีฝากครรภ์ที่ รพ.สต. มีโอกาสเกิด นโยบายส่งเสริมพฤติกรรมการดูแลตนเอง และการ ภาวะโลหิตจางเป็น 0.281เท่าของกลุ่มที่ฝากครรภ์ท่ี เข้าถึงสถานบริการสาธารณสุขและปัจจัยเสริม ได้แก่ โรงพยาบาลคลองขลุง (OR = 0.281, การได้รับแรงสนับสนุนทางสังคมและการได้รับ 48 วารสารสาธารณสุขมูลฐานภาคเหนอื

และการได้รับข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ (กวินฑรา ปรีสงค์, ภายใน 12 สัปดาห์ การฝากครรภ์คุณภาพครบ 5 คร้ัง 2558) ตามเกณฑ์ สรุปผล 2) หน่วยบริการฝากครรภ์ทุกระดับ ควรคานึงถึง อัตราความชุกของภาวะโลหิตจางใน นโยบาย “ฝากครรภค์ ุณภาพ” โดยจัดระบบบริการให้มี สตรีต้ังครรภ์ เท่ากับ 29.1 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับ ความพร้อมท้ังด้านบุคลากร วัสดุ–อุปกรณ์ เพ่ือให้สตรี ภาวะโลหิตจางในสตรีตั้งครรภ์ ได้แก่ อายุ จานวนคร้ัง ต้งั ครรภไ์ ด้รับบริการท่สี ะดวก รวดเร็ว ของการตั้งครรภ์ อายุครรภ์ที่ฝากครรภ์คร้ังแรก สถาน 3) ควรจัดให้มีการตรวจหาความเข้มข้นของเม็ดเลือด บริการท่ีฝากครรภ์ การได้รับยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก/ แดง (Hct) ในกลุ่มสตรีต้ังครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางเป็น วิตามิน และจานวนคร้ังของการฝากครรภ์ และ ระยะ ๆ ในช่วงของการตั้งครรภ์ (ปกติจะมีการตรวจ 2 ภายหลังเข้าร่วมโปรแกรมป้องกันและแก้ไขปัญหา ครั้ง) ทาให้สตรีต้ังครรภ์ท่ีมีภาวะโลหิตจางขาดโอกาส ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในสตรีตั้งครรภ์ ในการแก้ไขปญั หา กลุ่มทดลองมีค่าเฉล่ียความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงสูง 4) ควรติดตามภาวะสุขภาพของมารดาและทารกหลัง กว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ี คลอดในกลุม่ สตรีตัง้ ครรภท์ ่ีมภี าวะโลหติ จาง 0.001 กติ ตกิ รรมประกาศ ผู้ วิ จั ย ข อ ข อ บ คุ ณ ผู้ อา น ว ย ก า ร ขอ้ เสนอแนะ ผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า โรงพยาบาลคลองขลุง ท่ีอนุญาตให้ใช้ประโยชน์ข้อมูล ปจั จัยสว่ นบคุ คลของสตรีต้ังครรภ์มีผลต่อการเกิดภาวะ ผู้รับบริการในการทาการศึกษาวิจัยคร้ังนี้ และ โลหิตจางในสตรีต้ังครรภ์ท่ีมาฝากครรภ์ท่ีโรงพยาบาล ขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒทิ ุกทา่ นที่ไดใ้ ห้ความอนุเคราะห์ สละเวลาในการตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือที่ใช้ใน คลองขลงุ ผูว้ จิ ยั จึงมีขอ้ เสนอแนะ ดงั น้ี 1) ควรจัดกิจกรรมให้ความรู้กับสตรีต้ังครรภ์และญาติ/ การวิจัยและได้ให้ข้อเสนอแนะอันเป็นประโยชน์อย่าง ยิ่ง ขอขอบคุณนกั วชิ าการและผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกท่าน สามี เกี่ยวกับการมีเจตคติที่ดีต่อการฝากครรภ์ เพ่ือ ทไี่ ด้มีสว่ นสนับสนนุ ให้เกดิ ผลงานวิชาการฉบบั นข้ี น้ึ พัฒนาให้สตรีต้ังครรภ์มีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ ถกู ต้องเพมิ่ มากข้ึน โดยเฉพาะการฝากครรภ์ครัง้ แรก เอกสารอา้ งอิง กวินฑรา ปรีสงค์. (2558). ปัจจัยท่ีมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของหญิงต้ังครรภ์ท่ีมารับบริการ ฝากครรภ์โรงพยาบาลบางนา 5 จังหวัดสมุทรปราการ. [วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสต รมหาบณั ฑิต] คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกรกิ . วารสารร่มพฤกษ์. มหาวทิ ยาลัยเกริก, 33(3), 116–136. กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม รพ.คลองขลุง. (2563) ทะเบียนฝากครรภ์และคลอด. โรงพยาบาล คลองขลุง อาเภอคลองขลงุ จังหวดั กาแพงเพชร. จนิ นา รสเข้ม, อบุ ลวรรณ กลุ สนั ต์. (2558). ผลของโปรแกรมการพยาบาลแบบสนับสนุนและให้ความรู้ต่อการดูแล ตนเองและความเข้มข้นของเลือดในหญิงต้ังครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางโรงพยาบาลร้อง กวาง. [อนิ เตอร์เนต็ ] เขา้ ถึงเมอ่ื 17 มถิ ุนายน 2564. เข้าถึงจาก //www.ronghosp.org/ha/images/doc/award-rongkwang/r2r-jinna.pdf 49 วารสารสาธารณสุขมลู ฐานภาคเหนือ

ชบาไพร สุขกาย, จิราพร เขียวอยู่. (2555). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ อาเภอเขา พนม จังหวัดกระบ่ี. ศรีนครินทร์เวชสาร, 27(2), 133–138. ดาราวรรณ มณีกลุทรัพย์, อมรศักดิ์ โพธ์ิอ่า, สุพัฒน์ อาสนะ. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ด้านสุขภาพ กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์เขตอาเภอนาแก จังหวัดนครพนม. วารสาร สาธารณสุขและวิทยาศาสตร์สขุ ภาพ, 3(2), 1–12. นพคุณ นันท์ศุภวัฒน์.(2563). สถานการณ์ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ต่างด้าวท่ีฝากครรภ์และคลอดใน โรงพยาบาลสันทราย จังหวัดเชียงใหม่. วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว, 3(1), 36–45. พันธิพา จารนัย, มยุรี นิรัตธราดร, ณัฐพัชร์บัวบุญ . (2561). ผลของโปรแกรมส่งเสริมโภชนาการต่อพฤติกรรม ด้านโภชนาการและระดับความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงในสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่น. วารสารพยาบาล ศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั , 30(1), 59–69. พรี พงศ์ อนิ ทศร. (2553). “ความผิดปกตทิ างโลหิตวิทยาขณะตงั้ ครรภ์”. ใน ตาราสูติศาสตร์, 352–363. มานี ปิยะ อนนั ต์ ชาญชยั วันทนาศิริ และประเสริฐ ศนั สนยี ์วทิ ยกุล, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: บริษัท พี.เอ. ลีฟว่ิง จากัด. รายิน อโรร่า, ชยันตธ์ธร ปทุมานนท์, ชไมพร ทวิชศรี. (2552) ภาวะโลหิตจางใน สตรีท่ีมาฝากครรภ์ ณ โรงพยาบาลลาปาง:ความชุก สาเหตุ และปัจจัยเสี่ยง. ลาปางเวชสาร, 30(1), 28–37. วราภรณ์ ปูว่ งั . (2563). ความชุกและปัจจัยเสีย่ งของภาวะโลหิตจางในหญงิ ต้ังครรภ์ที่คลอดโรงพยาบาลหนองคาย. วารสารการพยาบาล สขุ ภาพ และการศกึ ษา, 3(1), 18–27. สุปรีชา แก้วสวัสดิ์, อรฤทัย อับดุลหละ และนเรศักด์ิ แก้วห้วย. (2563). การวิจัยกึ่งทดลอง:งานประจาสู่การ วจิ ัยกึ่งทดลอง สาหรับนกั สาธารณสขุ . วารสารสมาคมวิชาชพี สุขศึกษา, 35(1), 30–39. สุวิทย์ อุดมกิตติ และสายชล พฤกษ์ขจร. (2552). ภาวะโลหิตจางในสตรีตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ที่โรงพยาบาล พระนครศรีอยธุ ยา. วารสารวชิ าการ รพศ./รพท. เขต 4, 11(1), 45–52. สานักโภชนาการ กรมอนามัย. (2558). คู่มือแนวทางการควบคุมและป้องกันโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก. คณะกรรมการควบคุมและป้องกันโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก. นนทบุรี: สานักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. 50 วารสารสาธารณสขุ มูลฐานภาคเหนอื

ผลการประเมนิ ความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพ Health literacy ต่อส่อื การให้ ความรโู้ ภชนาการในการปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหาร Health Literacy Assessment Results to Develop Media for Providing Nutrition Knowledge as well as Change Consumption Behavior เพ่ิมศกั ดิ์ รุ่งจริ ารัตน์ ศนู ยอ์ นามัยท่ี 3 นครสวรรค์ บทคัดย่อ การศึกษาน้ีเป็นการวิจัยและการพัฒนา (Research and Development) พัฒนาสื่อการให้ ความรู้โภชนาการด้วยแนวทาง Health literacy แบ่งเป็น ระยะต้นทาง มีการสารวจพฤติกรรมการบริโภคอาหาร โดยใช้แบบเก็บขอ้ มูลของ สานกั โภชนาการ กรมอนามัย และสารวจความรบั รูข้ องผรู้ ับบริการด้านสื่อการให้ความรู้ ดา้ นโภชนาการ ในผู้ปกครองเด็กแรกเกิด – 5 ปี ท่ีมารับบริการคลินิกโภชนาการและ หอเด็กป่วย จานวน 90 คน ต้งั แตเ่ ดือน ตุลาคม 2561 –มนี าคม 2562 ระยะกลางทาง ออกแบบและพัฒนาสื่อ Love Heart & Love Health ต้องไม่หวาน ไม่มัน ไม่เค็ม เพ่ิมผักผลไม้ ได้แก่ ชุดให้ความรู้ทางโภชนาการ ใบสั่งกิน (เพ่ือสูงดีสมส่วน) โมเดล จาลองคานวณปริมาณน้าตาล ในเคร่ืองด่ืมและนม โมเดลจาลองเร่ืองปริมาณโซเดียมในอาหาร ชุดอาหารกินตาม วัยเพื่อสุขภาพ และกราฟการเจริญเติบโต เพื่อส่งเสริมความฉลาดรอบรู้ด้านโภชนาการ ด้วยส่ือในการให้ความรู้ พรอ้ มจดั สง่ิ แวดลอ้ มที่เออ้ื ต่อการเรยี นร้ทู ่ีสามารถจับต้องได้ ให้เกิดเปรียบเทียบและเกิดความช่ังใจในการตัดสินใจ ท่ีจะเลือกบริโภคอาหารที่เหมาะสม ระยะปลายทาง สัมภาษณ์ความรอบรู้ด้านสุขภาพตามหลัก V Shape ใน กลุ่มเป้าหมายและสรุปผล 6 ด้าน ได้แก่ การเข้าถึงข้อมูล ความเข้าใจในข้อมูลสุขภาพ ทักษะการสื่อสาร ทักษะ การตัดสินใจ การจัดการตนเอง รู้เท่าทันสื่อ ผลการดาเนินงานในระยะต้น สารวจความต้องการและเข้าถึงความ รบั รูข้ องผ้รู บั บรกิ ารทีเ่ ขา้ มาคลนิ ิกส่วนใหญ่กลมุ่ ผู้รบั บรกิ ารเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่สามารถอ่าน-เขียนได้ ร้อยละ 91.55 กลุ่มสามารถใช้โทรศัพท์ค้นหาข้อมูลหรือทากิจกรรมอ่ืน ร้อยละ 92.55 กลุ่มที่สามารถอ่าน-เขียนได้บ้าง ร้อยละ 7.35 กลุ่มท่ีไม่สามารถอ่านและเขียนได้เลย ร้อยละ 1.1 (กลุ่มน้ีได้แก่ผู้สูงอายุท่ีมีปัญหาสายตา/กลุ่ม ชาวตา่ งชาต)ิ ผลการประเมินความต้องการสอ่ื การสอน พบว่า ผู้รับบริการต้องการสื่อการสอนแบบ โมเดลอาหาร จริงพรอ้ มแสดงปริมาณที่จับต้องได้ ร้อยละ 97.77 ต้องการให้ส่ือมีข้อมูลที่แสดงสั้นๆ อ่านเข้าใจง่าย ร้อยละ 100 ต้องการให้สื่อ มีสีสัน สวยงาม ชัดเจน ร้อยละ 100 และมีช่องทางติดต่อท่ีง่าย ซักถามได้ ร้อยละ 95.55 ผลการ ดาเนินงานในระยะกลาง มีการพัฒนาส่ือและทดลองใช้ส่ือ 2 วงรอบ ได้แก่ วงรอบท่ี 1 ดาเนินการพัฒนาส่ือ การ สง่ เสริมการบริโภคอาหารต้องไม่หวาน ไมม่ นั ไม่เค็ม เพิม่ ผกั ผลไม้ สืบเนื่องจากเพื่อให้การอธิบายการบริโภคท่ีง่าย เห็นภาพ และเลือกปฏิบัติได้ แทนการอธิบายด้วยคาพูด มาใช้การนาโมเดลของจริงมาแสดงให้เห็นถึงปริมาณ น้าตาล ความเค็ม ช่วงเดือน ต.ค. 2561 ส่ือท่ีใช้เป็นการประยุกต์การนาโมเดลอาหารท่ีสนใจและสามารถใช้เป็น ตัวแทนคาอธิบายได้ง่าย ทาความสะอาด และติดบนแผ่นฟิวเจอร์บอร์ด รัดเข็มขัดเพ่ือให้แน่นหนา สื่อแสดงความ หวานใช้น้าตาลเป็นตัวแทน โดยคานวณให้เห็นปริมาณน้าตาลจากฉลากโภชนาการหรือส่วนประกอบเพ่ือ เปรียบเทียบปริมาณน้าตาลในผลิตภัณฑ์ต่างๆ สื่อความเค็มใช้ปริมาณโซเดียมเป็นตัวบอกปริมาณกรัมเทียบกับ ปริมาณท่ีควรได้รับ พร้อมบอกโทษของการกินเค็มทาขาต้ังโดยใช้ท่อพีวีซีทาเป็นขาต้ังฉาก เพื่อสามารถไวใ้ ช้ 51 วารสารสาธารณสุขมูลฐานภาคเหนอื

ต้ังสอน และประเมินระดับความพึงพอใจการใช้ส่ือ จากผู้รับบริการจานวน 30 คน พบว่า มีความพึงพอใจส่ือ ระดับดีมากร้อยละ 100 และมีข้อเสนอแนะให้มีการปรับโครงสร้างเพื่อให้สื่อแข็งแรง จึงเกิดกระบวนการพัฒนา สื่อครั้งที่ 2 จัดทาเป็นโครงเหล็กลักษณะการติดต้ังคล้ายแบบเดิม แบ่งเป็น 2 ช่องเพ่ือสามารถพับเก็บได้ โดย ออกแบบสีสนั ขอ้ ความท่ีชดั เจนมสี ีสัน รวมถึงรูปภาพการ์ตนู มคี าอธบิ ายชดั เจน สามารถใช้บอกสาเหตุ ผลเสียและ ตัวอย่างอาหารสาธิตได้ โครงส่ือมีขาต้ัง ช่องเสียบส่ือสามารถเปลี่ยนได้หลายชุดโดยใช้โครงเดิม ทาให้เกิดความ หลากหลายของตัวอย่างอาหารส่ือเรื่องเค็มประยุกต์ใช้หุ่นจาลองแสดงปริมาณร้อยละความเค็มในร่างกายเม่ือ บรโิ ภคอาหาร ทาใหผ้ ู้เรยี นสามารถเข้าใจและเลือกบริโภคอาหารได้มากนอ้ ยแคไ่ หน ผลการประเมินสื่อจากผู้ใช้ส่ือ พบว่าผรู้ บั บริการมคี วามสะดวกต่อการนาไปใช้ เคล่อื นย้ายไดง้ า่ ย รูปลกั ษณ์ สีสนั นา่ สนใจ ผู้รับบริการอยากเรียนรู้ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 100 สื่อจากกลุ่มเป้าหมายได้รับความสนใจเป็นอย่างย่ิงทั้งผู้ปกครอง และเด็ก เนื่องจากสีสัน รปู แบบสวยงาม ง่ายต่อการเรยี นรู้ ผลการดาเนินงานในระยะปลายทาง ประเมนิ ความรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพตามแนว V Shape ใน กลุ่มเป้าหมาย พบว่า ผลการประเมินด้านท่ี 1 การเข้าถึงข้อมูล ผู้รับบริการอ่านข้อมูลความรู้เรื่องการบริโภคอาหารต้องไม่หวาน ไม่มัน ไม่เค็ม เพิ่มผัก ผลไม้ ร้อยละ 100 ได้รับข้อมูลความรู้เรื่องการบริโภคอาหารต้องไม่หวาน ไม่มัน ไม่เค็ม เพ่ิมผัก ผลไม้ รอ้ ยละ 75 ไดร้ ับขอ้ มลู ความรกู้ ารบริโภคอาหารตอ้ งไม่หวาน ไม่มัน ไม่เค็ม เพ่มิ ผัก ผลไม้ จากนักโภชนาการ พบว่าร้อยละ 100 เคยได้รับข้อมูลจากนักโภชนาการหรือเจ้าหน้าที่งานโภชนาการ คะแนนเฉล่ียด้านการเข้าถึง ข้อมูล เทา่ กบั 91.67 ซ่งึ อยใู่ นระดับดีมาก ผลการประเมินด้านที่ 2 ความเข้าใจในข้อมูลสุขภาพ ผู้รับบริการมีเข้าใจเก่ียวกับเนื้อหาในสื่อความรู้ ร้อยละ 100 มีข้อมูลความรู้ที่เจ้าหน้าที่ให้ข้อมูล คิดเป็นร้อยละ 100 ผู้รับบริการมีเข้าใจข้อมูลความรู้ ที่นักโภชนาการให้ข้อมูล ร้อยละ 100 คะแนนเฉล่ียด้านการใจในข้อมูลสุขภาพ เท่ากับ 100 ซ่ึงอยู่ใน ระดบั ดมี าก ผลการประเมินดา้ นที่ 3 ดา้ นการโตต้ อบซักถาม ผู้รับบริการ มีการซักถามข้อมูลเกี่ยวกับการบริโภคอาหาร ตอ้ งไม่หวาน ไมม่ นั ไม่เค็ม เพิ่มผัก ผลไม้จากเจา้ หนา้ ที่ ร้อยละ 100 มีการซักถามข้อมูลเก่ียวกับการบริโภคอาหาร ต้องไม่หวาน ไม่มัน ไม่เค็ม เพ่ิมผัก ผลไม้จากนักโภชนาการ ร้อยละ 100 ผู้รับบริการสนใจซักถามจาก นักโภชนาการ คะแนนเฉลย่ี ดา้ นโต้ตอบ เทา่ กับ 100 ซ่ึงอยใู่ นระดบั ดมี าก ผลการประเมินด้านที่ 4 ด้านทักษะการตัดสินใจ ผู้รับบริการปฏิบัติได้ตามคาแนะนาตามข้อมูล ความรทู้ ีไ่ ด้ คดิ เป็นรอ้ ยละ 85.55 คะแนนเฉล่ยี ด้านทกั ษะการตัดสินใจ เทา่ กบั 85.55 ซง่ึ อยู่ในระดับดีมาก ผลการประเมินดา้ นท่ี 5 ดา้ นการจดั การตนเอง ผูร้ ับบริการมีเป้าหมายในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 100 ผู้รับบริการสามารถปฏิบัติตามสื่อให้ความรู้ได้ ร้อยละ 94.44 คะแนนเฉล่ียด้านการจัดการตนเอง เท่ากับ 94.94 ซ่ึงอยใู่ นระดบั ดีมาก ผลการประเมินด้านที่ 6 การรู้เท่าทันส่ือ ผู้รับบริการมีความเห็นว่าสื่อมีความน่าเช่ือถือ และถูกต้องตาม หลักการ ร้อยละ 100 และจะนาส่ือไปแนะนาคนรอบๆตัว ร้อยละ 100 คะแนนเฉลี่ยด้านการรู้เท่าทันส่ือ เท่ากับ 100 ซึ่งอยู่ในระดบั ดีมาก สรุปผลการวิจัย คะแนนเฉล่ียรอบรู้ด้านสุขภาพจากการประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพตามแนว V Shape ในกลุ่มเป้าหมาย ท้ังหมด 6 ด้าน เท่ากับ 95.36 ซึ่งอยู่ในระดับดีมากซ่ึงการพัฒนาส่ือการให้ความรู้ ทางด้านโภชนาการน้ีสามารถเป็น Model ต้นแบบในด้านการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ในด้านการเลือก รับประทานอาหาร และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในระดับจังหวัด เขตสุขภาพ กรม กระทรวง ที่มีภารกิจ ดา้ นเดียวกัน คาสาคัญ : ความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพ, โภชนาการ, ปรบั เปล่ยี นพฤติกรรม 52 วารสารสาธารณสขุ มลู ฐานภาคเหนอื

บทนา ปรับปรงุ ใหส้ ่ือการสอนเหล่านน้ั ทนั ยุคสมัยเสมอ ซ่ึงจาก ปัจจุบันประชาชนเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ ข้อมูลการผลิตสื่อทางด้านสุขภาพส่วนใหญ่ร้อยละ 80 เป็นโปสเตอร์หรือภาพ ทาให้ผู้รับบริการไม่สามารถ ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน เข้าถึงข้อมูลและไม่เกิดความตระหนักในการเลือกที่จะ โรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ และมะเร็ง เพิ่มข้ึน บริโภค ประกอบกับส่ือโฆษณาอาหารทางโทรทัศน์ท่ี เรื่อยๆ เกิดจาก กินมากเกินความต้องการของร่างกาย พบมักมีข้อความท่ีน่าดึงดูดและน่าสนใจมากกว่า จึง มักเปน็ อาหารท่ีมรี สหวาน มนั เค็มมากเกิน รวมท้ังขาด เปน็ เหตุผลทผี่ ลการสารวจการบรโิ ภคอาหารรวมถึงการ การออกกาลังกาย มีภาวะเครียด ซ่ึงโรคต่างๆ เหล่านี้ ปรับเปลี่ยนยังไม่ได้ผล ส่งผลให้สภาวะสุขภาพของโรค สามารถป้องกันได้ โดยเร่ิมที่เราปรับพฤติกรรมการกิน เร้ือรังทเ่ี กิดจากการบริโภคอาหารไมถ่ ูกตอ้ งเพม่ิ ข้นึ [1] อาหาร ลด หวาน มัน เค็ม เติมเต็ม ผัก ผลไม้ ข้อมลู สานกั โภชนาการ กรมอนามัยได้วิเคราะห์ปริมาณ จากการทบทวนงานวิจัย และทฤษฎี น้าตาลในกาแฟเย็นยอดยอดนิยมต่างๆ พบว่า ด้านการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ Health คาปูชิโน่ มีความหวานเท่ากับ น้าตาลประมาณ 8 ช้อน Literacy โดยท่านนายแพทย์วชิระ เพ็งจันทร์ และ ชา กาแฟมอคค่าความหวานเท่ากับน้าตาลประมาณ 6 คณะ ได้กล่าวถึง กระบวนการส่งเสริมความรอบรู้ด้าน ชอ้ นชา และลาเต้มคี วาม หวานเท่ากับน้าตาลประมาณ สุขภาพด้วย วีเชฟ V-Shape มี 6 องค์ประกอบ คือ 6.5 ช้อนชา นอกจากน้ีเครื่องด่ืมประเภทชาเขียวและ การเข้าถึง การเข้าใจ การตอบโต้ซักถามและ น้าอัดลม มีความหวานประมาณ 8 - 15 ช้อนชา/หรือ แลกเปลี่ยน การตัดสินใจ การเปลี่ยนพฤติกรรมและ 1 ขวดมีน้าตาลประมาณ 13 ช้อนชา ดังนั้นการบริโภค การบอกต่อ เพื่อใช้ในกระบวนการปรับเปลี่ยน อาหาร“หวาน มัน เคม็ ”เปน็ หน่งึ ในสาเหตุหลักของการ พฤติกรรมท่ีแท้จริงจนประสบความสาเร็จ[2] และ การ เกดิ โรคร้าย ท่ีเรียกว่า “NCDs (Non-Communicable ทบทวนผลการศึกษาวิจัยโครงการสารวจความรอบรู้ Diseases) หรือกลุ่มโรคไม่ติดต่อเร้ือรัง ซ่ึงได้แก่ ด้านสุขภาพของประชาชนอายุ 15 ปี ขึ้นไป โดยนาง โรคเบาหวาน กลุ่มโรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ วิมล โรมา โดยใช้กรอบเนื้อหาจากชุดข้อมูลความรู้ โรคมะเร็ง โรคถุงลมโป่งพอง โรคความดันโลหิตสูง และ พนื้ ฐานทีส่ าคัญและจาเป็นเพื่อการมีสุขภาพที่ดี 66 ข้อ โรคอ้วนลงพุง ซึ่งในปัจจุบันส่ือการให้ความรู้ทาง หรือ Thai Health Literacy 66 มาพัฒนาข้อคาถาม โ ภ ช น า ก า ร แ ต่ ล ะ ป ร ะ เ ภ ท มี ลั ก ษ ณ ะ แ ล ะ เพื่อสะท้อนสถานการณ์ความรอบรู้ด้านสุขภาพของ คุณสมบัติเฉพาะ บางประเภทจะให้ท้ังสาระและ ประชาชนไทย พบว่า การมีโรคเร้ือรังหรือภาวะอ้วนลง กาหนดให้ผู้อ่านตอบสนองด้วย ซึ่งอาจจะนาเสนอถึง พุงมักพบในกลุ่มคนท่ีมคี วามรอบรู้ด้านสุขภาพน้อยกว่า ความเป็นรปู ธรรมมากน้อยแตกต่างกันไป โดยสื่อท่ีเป็น แ ล ะ จ า ก ก า ร ท บ ท ว น แ ล ะ ส า ร ว จ ค ว า ม ร อ บ รู้ ข อ ง รูปธรรมมากจนสามารถสัมผัสและมีส่วนรวมกับส่ือ ผู้รับบริการด้านสื่อการให้ความรู้ด้านโภชนาการ ได้มากตัวอย่าง เช่น ของตัวอย่าง แบบจาลองต่างๆ ซึ่ง ในผู้ปกครองเด็กแรกเกิด – 5 ปี ท่ีมารับบริการคลินิก ส่ือเ ห ล่ า น้ีห า ก จ ะให้ เ ป็ น ส่ื อที่ ดี ก็ คื อเรื่ อง ข อ ง โภชนาการ พบว่า จากความรู้พื้นฐานตามทฤษฎี Thai รายละเอียดต่างๆที่แบบจาลอง แบบตัวอย่างเหล่านั้น Health Literacy 66 Key Message ผู้ปกครองและ สามารถแสดงออกมาได้ว่าสมจริงหรือไม่ ส่วนสื่อที่เป็น เด็กมปี ัญหาด้านความรอบรู้ 2 เรื่อง คือ 1. ความรอบรู้ ภาพกราฟิก ไม่ว่าจะเป็น ภาพ 2 มิติ ภาพ 3 มิติ ดา้ นการเลือกรับประทานอาหารไม่หวาน ไม่มัน ไม่เค็ม ภาพน่ิงหรือภาพเคลื่อนไหว ส่ือการสอนที่ดีหรือไม่น้ัน เพ่ิมผักผลไม้ และ 2. ความรอบรู้ด้านการดื่มน้าสะอาด จะอิงจากองค์ประกอบต่างๆของส่ือโดยรวมว่าสามารถ ให้เพียงพอ และกินอาหารให้ครบท้ังเนื้อสัตว์ ผัก ข้าว ทางานได้ดีเต็มศักยภาพของส่ือเหล่านั้นและสอดคล้อง ผลไม้ [3] ตามวตั ถุประสงค์ในการเรียนการสอนได้หรือไม่ รวมถึง การสร้างสรรค์ ดังนั้น เพื่อให้เกิดความรอบรู้ทางด้าน สุขภาพ ผู้วิจัยจึงเลือก ประเด็นการพัฒนาความ 53 วารสารสาธารณสขุ มูลฐานภาคเหนอื

รอบรู้ทั้ง 2 ด้าน จาก 66 Keymessage ประยุกต์กับ ให้เกดิ เปรียบเทยี บและเกิดความชั่งใจในการตัดสินใจที่ หลักทฤษฎี วีเชฟ V-Shape มี 6 องค์ประกอบ ด้วย จะเลือกบริโภคอาหารท่ีเหมาะสม ระยะปลายทาง การจัดทาโครงการวิจัยประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพ สัมภาษณ์ความรอบรู้ด้านสุขภาพตามหลัก V Shape Health literacy ต่อสื่อการให้ความรู้โภชนาการ ใน ในกลุ่มเป้าหมายและสรุปผล 6 ด้าน ได้แก่ การเข้าถึง การปรับเปล่ียนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร เพ่ือให้ ข้อมูล ความเข้าใจในข้อมูลสุขภาพ ทักษะการส่ือสาร ผู้ปกครองและเด็ก มีความรอบรู้ ทันต่อส่ือ และมีการ ทักษะการตัดสินใจ การจัดการตนเอง รู้เท่าทันส่ือ โดย ปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารให้ถูกต้อง มรี ายละเอียดดังนี้ วตั ถุประสงค์ 1. การเข้าถึงข้อมูล ประกอบด้วย 1. พัฒนาสื่อการให้ความส่ือการให้ ขอ้ มลู ความรูเ้ รือ่ งการบริโภคอาหารต้องไม่หวาน ไม่มัน ความรู้โภชนาการในการปรับเปล่ียนพฤติกรรมการ ไม่เค็ม เพ่ิมผัก ผลไม้ การได้รับข้อมูลความรู้เรื่องการ บรโิ ภคอาหารตอ้ งไม่หวาน ไม่มัน ไม่เค็ม เพ่ิมผัก ผลไม้ บริโภคอาหาร 2. ประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพ และการได้รับข้อมูลความรู้การบริโภคอาหารต้องไม่ Health literacy ตอ่ ส่ือการใหค้ วามรโู้ ภชนาการในการ หวาน ไม่มัน ไมเ่ คม็ เพิ่มผัก ผลไม้ จากนกั โภชนาการ 2. ความเข้าใจในข้อมูลสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ประกอบด้วย ความเข้าใจเก่ียวกับเนื้อหาในสื่อความรู้ วธิ ีการศกึ ษา เข้าใจข้อมูลความรู้ที่เจ้าหน้าท่ีให้ข้อมูล เข้าใจข้อมูล ความรู้ท่นี กั โภชนาการให้ขอ้ มูล การศึกษานี้เป็นการวิจัยและการ พัฒนา (Research and Development) พัฒนาส่ือ 3. การโต้ตอบซักถาม ประกอบด้วย การให้ความรโู้ ภชนาการด้วยแนวทาง Health literacy การซักถามข้อมูลเก่ียวกับการบริโภคอาหารต้องไม่ แบ่งเป็น ระยะต้นทาง มีการสารวจพฤติกรรมการ หวาน ไม่มัน ไม่เค็ม เพ่ิมผัก ผลไม้จากเจ้าหน้าที่ การ บริโภคอาหารโดยใช้แบบเก็บข้อมูลของ สานัก ซักถามข้อมูลเก่ียวกับการบริโภคอาหารต้องไม่หวาน โภชนาการ กรมอนามัย และสารวจความรับรู้ของ ไม่มัน ไมเ่ คม็ เพ่ิมผัก ผลไม้จากนักโภชนาการ ผู้รับบริการด้านส่ือการให้ความรู้ด้านโภชนาการ ในผู้ปกครองเด็กแรกเกิด – 5 ปี ท่ีมารับบริการคลินิก 4. ทักษะการตัดสินใจ ประกอบด้วย โภชนาการและ หอเด็กป่วย จานวน 90 คน ต้ังแต่ การปฏิบัติตามคาแนะนาตามข้อมูลความรู้ที่ได้ การ เดือน ตุลาคม 2561 – มีนาคม 2562 ระยะกลางทาง บริโภคอาหารต้องไมห่ วาน ไมม่ ัน ไม่เค็ม เพ่ิมผกั ผลไม้ ออกแบบและพฒั นาสื่อ Love Heart & Love Health : ต้องไม่หวาน ไม่มัน ไม่เค็ม เพ่ิมผักผลไม้ ได้แก่ ชุดให้ 5.การจัดการตนเอง ประกอบด้วย ความรู้ทางโภชนาการ ใบส่ังกิน (เพ่ือสูงดีสมส่วน) ศึกษาข้อมูลจากส่ือท่านมีเป้าหมายในการปรับเปล่ียน โมเดลจาลองคานวณปริมาณน้าตาล ในเครื่องดื่มและ พฤติกรรม สามารถปฏบิ ตั ิตามส่อื ใหค้ วามรู้ได้ นม โมเดลจาลองเร่ืองปริมาณโซเดียมในอาหาร ชุด อาหาร กินตา มวัยเ พื่อสุขภ าพ แ ละกร าฟกา ร 6.การรู้เท่าทันส่ือ ประกอบด้วย สื่อมี เจริญเติบโต เพ่ือส่งเสริมความฉลาดรอบรู้ด้าน ความนา่ เชื่อถอื และถูกต้องตามหลักการ การนาความรู้ จากการใชส้ ื่อไปแนะนาคนรอบๆ ตวั เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการวิจยั โภชนาการ ด้ว ยสื่อในการให้ความรู้พร้อมจัด แบบเก็บข้อมูล ผู้วิจัยใช้แบบประเมิน ส่ิงแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ที่สามารถจับต้องได้ และสารวจพฤติกรรมการบริโภคอาหารโดยใช้แบบ 54 วารสารสาธารณสุขมูลฐานภาคเหนอื

ข้อมูลของ สานักโภชนาการ กรมอนามัย แบ่งออกเป็น อาหาร การเข้าถึงข้อมูล ความเข้าใจในข้อมูลสุขภาพ 3 สว่ น ทักษะการส่ือสาร ทักษะการตัดสินใจ การจัดการ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปการสารวจพฤติกรรม ตนเอง รู้เท่าทันสื่อ และสรุปความรอบรู้ด้านสุขภาพใน การบริโภคอาหารโดยใช้แบบเก็บข้อมูลของสานัก สื่อโภชนาการภาพรวม โภชนาการ กรมอนามัย และสารวจความรับรู้ของ ผลการศึกษา ผู้รับบริการด้านสื่อการให้ความรู้ด้านโภชนาการใน ผลการดาเนินงานในระยะต้น สารวจความ ผปู้ กครองของเด็กแรกเกิด – 5 ปี ประกอบไปด้วยคาถาม ต้องการและเข้าถึงความรับรู้ของผู้รับบริการท่ีเข้ามา จานวน 4 ขอ้ คลนิ กิ ส่วนใหญก่ ล่มุ ผ้รู ับบริการเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม ส่วนที่ 2 แบบประเมินความต้องการสื่อ ท่ีสามารถอ่าน-เขียนได้ ร้อยละ 91.55 กลุ่มสามารถใช้ การให้ความรู้โภชนาการในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โทรศัพท์คน้ หาข้อมลู หรอื ทากิจกรรมอ่ืน ร้อยละ 92.55 การบรโิ ภคอาหารประกอบไปด้วยคาถามจานวน 4 ข้อ กล่มุ ทสี่ ามารถอ่าน-เขียนได้บ้าง ร้อยละ 7.35 กลุ่มที่ไม่ สว่ นที่ 3 แบบประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพ สามารถอา่ นและเขียนไดเ้ ลย รอ้ ยละ 1.1 (กลุ่มน้ีได้แก่ V Shape 6 ด้าน ได้แก่ การเข้าถึงข้อมูลความเข้าใจ ผู้สูงอายุที่มีปัญหาสายตา/กลุ่มชาวต่างชาติ) ผลการ ในข้อมูลสุขภาพ ทักษะการสื่อสาร ทักษะการตัดสินใจ ประเมินความต้องการสื่อการสอน พบว่า ผู้รับบริการ การจัดการตนเอง รู้เท่าทันส่ือ ประกอบไปด้วย คาถาม ต้องการส่ือการสอนแบบ โมเดลอาหารจริงพร้อมแสดง ท้งั หมด 13 ขอ้ ปริมาณที่จับต้องได้ ร้อยละ 97.77 ต้องการให้ส่ือมี วิธกี ารเกบ็ รวบรวมข้อมลู ข้อมลู ท่แี สดงสั้นๆ อ่านเข้าใจง่าย ร้อยละ 100 ต้องการ เก็บข้อมูลความรับรู้ของผู้รับบริการด้านสื่อการ ให้สื่อ มีสีสัน สวยงาม ชัดเจน ร้อยละ 100 และมี ให้ความรู้ด้านโภชนาการ ในผู้ปกครองเด็กแรกเกิด – ชอ่ งทางติดต่อทีง่ า่ ย ซกั ถามได้ ร้อยละ 95.55 5 ปี ท่ีมารับบริการคลินิกโภชนาการและ หอเด็กป่วย ผลการดาเนนิ งานในระยะกลาง มีการพัฒนาสื่อ และเก็บข้อมูล ประเมินความต้องการส่ือการให้ความรู้ และทดลองใช้ส่ือ 2 วงรอบ ได้แก่ วงรอบที่ 1 โภชนาการในการปรับเปล่ียนพฤติกรรมการบริโภค ดาเนินการพฒั นาส่ือ การสง่ เสรมิ การบรโิ ภคอาหารตอ้ ง อาหาร จานวน 90 คน ตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2561 – ไม่หวาน ไม่มัน ไม่เค็ม เพิ่มผักผลไม้ สืบเน่ืองจาก มีนาคม 2562 และหลังพัฒนานวัตกรรมกรรมมีการ เพอื่ ให้การอธบิ ายการบริโภคที่ง่าย เห็นภาพ และเลือก ประเมิน ความรอบรู้ด้านสุขภาพ V Shape 6 ด้าน ปฏิบัติได้ แทนการอธิบายด้วยคาพูด มาใช้การนา ได้แก่ การเข้าถึงข้อมูล ความเข้าใจในข้อมูลสุขภาพ โมเดลของจริงมาแสดงให้เห็นถึงปริมาณน้าตาล ความ ทักษะการสื่อสาร ทักษะการตัดสินใจ การจัดการ เคม็ ชว่ งเดือน ต.ค. 2561 สื่อท่ีใช้เป็นการประยุกต์การ ตนเอง รเู้ ทา่ ทนั ส่ือ ประกอบไปด้วย คาถามท้ังหมด 13 นาโมเดลอาหารท่ีสนใจและสามารถใช้เป็นตัวแทน ขอ้ คาอธิบายได้ง่าย ทาความสะอาด และติดบนแผ่น การวิเคราะห์ข้อมลู และสถิตทิ ี่ใช้ ฟิวเจอร์บอร์ด รัดเข็มขัดเพ่ือให้แน่นหนา สื่อแสดง ความหวานใช้น้าตาลเป็นตัวแทน โดยคานวณให้เห็น วิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา แบบความถี่ ร้อย ปริมาณน้าตาลจากฉลากโภชนาการหรือส่วนประกอบ ละ ได้แก่ ความรับรู้ของผู้รับบริการด้านสื่อการให้ เพื่อเปรียบเทียบปริมาณน้าตาลในผลิตภัณฑ์ต่างๆ ความรู้ด้านโภชนาการ ความต้องการส่ือการให้ความรู้ โภชนาการในการปรับเปล่ียนพฤติกรรมการบริโภค 55 วารสารสาธารณสุขมลู ฐานภาคเหนือ

ส่ือความเค็มใช้ปริมาณโซเดียมเป็นตัวบอกปริมาณกรัม ร้อยละ 100 มีข้อมูลความรู้ท่ีเจ้าหน้าที่ให้ข้อมูล คิด เทียบกบั ปริมาณท่ีควรไดร้ ับ พร้อมบอกโทษของการกิน เปน็ ร้อยละ 100 ผู้รับบริการมีเข้าใจข้อมูลความรู้ท่ีนัก เค็ม ทาขาต้ังโดยใช้ท่อพีวีซีทาเป็นขาต้ังฉาก เพื่อ โภชนาการให้ข้อมูล ร้อยละ 100 คะแนนเฉล่ียด้าน สามารถไว้ใช้ตั้งสอน และประเมินระดับความพึงพอใจ การใจในข้อมูลสุขภาพ เท่ากับ 100 ซึ่งอยู่ในระดับดี การใช้สื่อ จากผู้รับบริการจานวน 30 คน พบว่า มี มาก ความพึงพอใจส่ือระดับดีมากร้อยละ 100 และมี ข้อเสนอแนะให้มีการปรับโครงสร้างเพื่อให้ส่ือแข็งแรง ผลการประเมินด้านที่ 3 ดา้ นการโต้ตอบซักถาม จึงเกิดกระบวนการพัฒนาสื่อคร้ังที่ 2 จัดทาเป็นโครง ผู้รับบริการ มีการซักถามข้อมูลเกี่ยวกับการบริโภค เหลก็ ลกั ษณะการติดตั้งคล้ายแบบเดิม แบ่งเป็น 2 ช่อง อาหารต้องไม่หวาน ไม่มัน ไม่เค็ม เพ่ิมผัก ผลไม้จาก เพ่ือสามารถพับเก็บได้ โดยออกแบบสีสันข้อความที่ เจ้าหน้าท่ี ร้อยละ 100 มีการซักถามข้อมูลเก่ียวกับ ชัดเจนมสี สี ัน รวมถึงรูปภาพการ์ตูน มีคาอธิบายชัดเจน การบริโภคอาหารต้องไม่หวาน ไม่มัน ไม่เค็ม เพิ่มผัก สามารถใช้บอกสาเหตุ ผลเสียและตัวอย่างอาหารสาธิต ผลไม้จากนักโภชนาการ ร้อยละ 100 ผู้รับบริการ ได้ โครงสือ่ มีขาตัง้ ชอ่ งเสียบส่อื สามารถเปล่ียนได้หลาย สนใจซักถามจากนักโภชนาการ คะแนนเฉลี่ยด้าน ชุดโดยใช้โครงเดิม ทาให้เกิดความหลากหลายของ โต้ตอบ เทา่ กบั 100 ซงึ่ อยู่ในระดบั ดีมาก ตัวอย่างอาหารส่ือเรื่องเค็มประยุกต์ใช้หุ่นจาลองแสดง ปริมาณร้อยละความเค็มในร่างกายเมื่อบริโภคอาหาร ผลการประเมินด้านที่ 4 ด้านทักษะการตัดสินใจ ทาให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจและเลือกบริโภคอาหารได้ ผู้รับบริการปฏิบัติได้ตามคาแนะนาตามข้อมูลความรู้ท่ี มากน้อยแค่ไหน ผลการประเมินส่ือจากผู้ใช้สื่อพบว่า ได้ คดิ เป็นร้อยละ 85.55 คะแนนเฉลี่ยด้านทักษะการ ผู้รบั บรกิ ารมีความสะดวกต่อการนาไปใช้ เคลื่อนย้ายได้ ตัดสนิ ใจ เทา่ กับ 85.55 ซ่งึ อยู่ในระดับดีมาก ง่าย รูปลักษณ์ สีสันน่าสนใจ ผู้รับบริการอยากเรียนรู้ เพ่มิ ขึน้ ร้อยละ 100 สื่อจากกลุ่มเป้าหมายได้รับความ ผลการประเมินด้านท่ี 5 ด้านการจัดการตนเอง สนใจเป็นอย่างยิ่งท้ังผู้ปกครอง และเด็ก เนื่องจากสีสัน ผู้รับบริการมีเป้าหมายในการปรับเปล่ียนพฤติกรรม รูปแบบสวยงาม งา่ ยต่อการเรยี นรู้ ร้อยละ 100 ผู้รับบริการสามารถปฏิบัติตามสื่อให้ ความรู้ได้ ร้อยละ 94.44 คะแนนเฉลี่ยด้านการ ผลการดาเนินงานในระยะปลายทาง ประเมิน จดั การตนเอง เทา่ กบั 94.94 ซงึ่ อยใู่ นระดบั ดมี าก ความรอบรู้ด้านสุขภาพตามแนว V Shape ในกลุ่ม เป้าหมาย พบว่า ผลการประเมินด้านที่ 1 การเข้าถึง ผลการประเมินด้านท่ี 6 การรู้เท่าทันส่ือ ข้อมูล ผู้รับบริการอ่านข้อมูลความรู้เร่ืองการบริโภค ผู้รับบริการมีความเห็นว่าสื่อมีความน่าเชื่อถือ และ อาหารต้องไม่หวาน ไม่มัน ไม่เค็ม เพ่ิมผัก ผลไม้ ร้อย ถูกต้องตามหลักการ ร้อยละ 100 และจะนาส่ือไป ละ 100 ไดร้ ับข้อมลู ความร้เู ร่ืองการบริโภคอาหารต้อง แนะนาคนรอบๆตัว ร้อยละ 100 คะแนนเฉลี่ยด้าน ไม่หวาน ไม่มนั ไม่เคม็ เพ่ิมผัก ผลไม้ ร้อยละ 75 ได้รับ การรู้เท่าทันสอ่ื เทา่ กับ 100 ซึ่งอยู่ในระดับดมี าก ข้อมูลความรู้การบริโภคอาหารต้องไม่หวาน ไม่มัน ไม่ เค็ม เพิ่มผัก ผลไม้ จากนักโภชนาการ พบว่าร้อยละ สรุปคะแนนเฉลี่ยรอบรู้ด้านสุขภาพจากการ 100 เคยได้รับข้อมูลจากนักโภชนาการหรือเจ้าหน้าท่ี ประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพตามแนว VShape ใน งานโภชนาการ คะแนนเฉล่ียด้านการเข้าถึงข้อมูล กลุ่มเป้าหมาย ท้ังหมด 6 ด้าน เท่ากับ 95.36 ซึ่งอยู่ เทา่ กบั 91.67 ซง่ึ อยู่ในระดับดีมาก ในระดับดมี าก หมายเหตุ การประเมินระดับคะแนนความรอบรู้ด้าน ผลการประเมินด้านท่ี 2 ความเข้าใจในข้อมูล สขุ ภาพ สขุ ภาพ ผู้รับบรกิ ารมีเขา้ ใจเก่ียวกับเน้ือหาในส่ือความรู้ 1. ไดน้ ้อยกว่า 60 คะแนน อยู่ในระดบั ไม่ดี 2. ได้คะแนน 60 – 79 คะแนน อยู่ในระดับ พอใช้ได้ 3. ได้คะแนนเท่ากับหรือมากกว่า 80 คะแนน อยู่ในระดับ ดีมาก 56 วารสารสาธารณสขุ มูลฐานภาคเหนอื

สรปุ และอภิปรายผลการวิจัย Line ผู้ รั บ บ ริ ก า ร เ พื่ อ เ ป็ น ก า ร ถ า ม ต อ บ แ ล ะ 1. การพัฒนาสื่อการให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลสื่อต่างๆ หรือปัญหาพฤติกรรม ทางด้านโภชนาการนี้สามารถเป็น Model ต้นแบบใน การบริโภคอาหาร และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปัจจัยแห่ง ด้านการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ในด้านการ ความสาเร็จ จานวน 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มดอกหญ้า เลือกรับประทานอาหาร และการปรับเปลี่ยน สาหรบั เดก็ ผอม และกล่มุ ทานตะวนั สาหรับเด็กอว้ น พฤตกิ รรม ในระดบั จังหวัด เขตสุขภาพ กรม กระทรวง ข้อเสนอแนะ ทม่ี ีภารกิจดา้ นเดยี วกนั 1. ควรมีการทดสอบการใช้สื่อทาง 2. สื่อที่พัฒนาน้ีได้ขยายต่อไปใช้ใน โภชนาการเพ่ือส่งเสริมและพัฒนาความฉลาดรอบรู้ Cluster กลุ่มวัยเรียนและวัยรุ่น เพื่อแก้ไขปัญหาเด็กที่ ด้านโภชนาการในกลุ่มวัยอื่นๆ และมีการติดตามการ มีภาวะโภชนาการเกินอายุ 6 – 19 ปี โดยมีการนาไป ขยายผลการใช้สื่อในกลุ่มเป้าหมายที่ขยายผลการใช้ ใช้กับประชาชนในหลายๆโอกาสเช่น งานวันเด็ก และ ออกไป กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพตามโรงเรียนต่างๆในเขต สุขภาพที่ 3 2. สื่อที่ผลิตจากรูปแบบของจริงอาจจะ ใช้ได้ในระยะเวลาสั้นๆ เน่ืองจาก ท้ังรูปแบบอาหาร 3. ขยายรูปแบบความรอบรู้ในการ และผลิตภัณฑ์ต่างๆ ในปัจจุบันมีการพัฒนาไปอย่าง ประชุมพัฒนาศักยภาพบุคลากรในหลักสูตร Chopa & รวดเร็ว Chipa Coach เพ่ือพัฒนาศักยภาพครู บุคลากรทาง การศึกษา และเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขในการสร้างความ 3. ความแข็งแรงของผลิตภัณฑ์ และอายุ รอบรู้ พฤติกรรมที่พึงประสงค์ 4 ด้าน ปัจจุบันมีการ ของผลิตภัณฑ์ท่ีนามาใช้เป็นส่ือ เช่น น้าตาล กล่องนม ขยายไปใชใ้ นพน้ื ทใ่ี นเขตสขุ ภาพที่ 3 ขวดน้าต่างๆ อาจจะมีการชารุด หรือหมดอายุตาม กาหนด 4. มีการใช้สื่อทาง Social ได้แก่ กลุ่ม เอกสารอา้ งองิ อรรถเกียรติ กาญจนพิบูลวงศ์,ภาณุวัฒน์ คาวังสง่า และ สุธิดา แก้วทา. (2563).รายงานสถานการณ์ โรค NCDsเบาหวาน ความดนั โลหติ สูง และปัจจยั เสี่ยงท่ีเก่ียวขอ้ ง พ.ศ.2562. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์อักษรกราฟฟิคแอนด์ดไี ซน์. กานดาวสี มาลีวงษ์, วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย, ยงยศ หัตถพรสวรรค์, ศรีสุดา สว่างสาลี, วณิดา มงคลสินธ์ุ, ภุชงค์ เสนานุช, สุวิมล แสนเวียงจันทร์ และ สมศักดิ์ อมรสิริพงศ์. (2561). ความรอบรู้สุขภาพของ ชมรมผู้สูงอายุเพ่ือส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ“ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย”:กรณีศึกษา เขตดอนเมือง [ขอ้ มลู อิเลก็ ทรอนกิ ส์]. วารสารเกอ้ื การณุ ย์, 25(2), 119-136. นางวมิ ล โรมา, รศ.ดร.ชะนวนทอง ธนสุกาญจน์, รศ.ดร.มธุรส ทิพยมงคลกุล, ดร.ณัฐนารี เอมยงค์, ดร.นรีมาลย์ นีละไพจิตร, นางมุกดา สานวนกลาง และ นายสายชล คล้อยเอี่ยม. (2561). โครงการสารวจ ความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนไทย อายุ 15 ปี ขึ้นไป พ.ศ. 2560 (ระยะที่ 1). (สถาบันวจิ ัยระบบสาธารณสุข (สวรส.)). 57 วารสารสาธารณสขุ มลู ฐานภาคเหนอื

แนะนำผ้ทู รงคุณวฒุ ิ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์กิตติพงศ์ พลเสน การศกึ ษา : - วท.บ.(สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวชิ าเอกอนามยั ชมุ ชน (เกยี รตินยิ มอันดับ 2) คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล - ร.บ.(ทฤษฎีและแขนงทางรฐั ศาสตร์) มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช - ศศ.ม.(ประชากรศาสตร์) วทิ ยาลยั ประชากรศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ตาแหน่งปัจจบุ ัน : พนักงานมหาวิทยาลัย (อาจารย์ประจา) ภาควชิ าอนามยั ชุมชน คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหิดล ดร. ศรสี ุดา งามขา การศึกษา : - วิทยาศาสตร์บัณฑติ (พยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ - พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การบรหิ ารการพยาบาล) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ - Doctor of Philosophy in Nursing, College of Nursing, - University of Illinois at Chicago, USA - Postdoctoral Fellow, School of Nursing University of Michigan Ann Arbor, USA. ตาแหนง่ ปัจจบุ ัน : พยาบาลวิชาชีพชานาญการพิเศษ (ด้านการสอน) วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สวรรค์ประชารักษ์ นครสวรรค์ ดร.ชลุ ีพร ปยิ สุทธ์ิ การศึกษา : - ปรญิ ญาตรี วทิ ยาศาสตร์บัณฑติ (พยาบาล) มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ - ปริญญาโท พยาบาลศาสตรม์ หาบัณฑิต (การพยาบาลศึกษา) - การพยาบาลผ้ใู หญ่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั - International course training of community health nursing มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ - ปริญญาเอก Philosophy in Nursing ( Adult Nursing) University of San Diego, USA - หลกั สตู รการพฒั นาสมรรถนะความเชย่ี วชาญด้านโรคมะเรง็ Amphia University Hospital ประเทศเนเธอร์แลนด์ ตาแหนง่ ปัจจบุ ัน : พยาบาลวิชาชีพชานาญการ (ด้านการสอน) วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สวรรคป์ ระชารักษ์ นครสวรรค์ 58

แนะนำผู้ทรงคณุ วุฒิ วา่ ที่ร้อยตรี ดร.ยทุ ธนา แยบคาย การศึกษา : วท.บ. (สาธารณสขุ ศาสตร์) มหาวิทยาลยั พะเยา น.บ. มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช ร.บ. มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง ส.ม. มหาวทิ ยาลัยนเรศวร วท.บ. (อาชวี อนามยั และความปลอดภัย) มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช ศ.บ. มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช ส.บ. (สาธารณสุขชมุ ชน) มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช รป.บ. มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช ส.ด. มหาวิทยาลยั นเรศวร ตาแหน่งปัจจุบนั : นักวิชาการสาธารณสขุ ชานาญการ สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุโขทยั นายวสิ ุทธิ บญุ ญะโสภิต การศึกษา : - ศิลปศาสตรบณั ฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์) มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง - วทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสขุ ศาสตร์) คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหดิ ล - พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาพระพทุ ธศาสนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตาแหน่งปัจจุบัน : อปุ นายก คนท่ี 1 สมาคมพฒั นาชุมชนยัง่ ยืน ข้อมลู ผ้ทู รงคณุ วฒุ เิ พิ่มเติม 59

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง