ต ดกล องท ายมอเตอร ไซค ถอดได ม ย

กฎหมายแพ่งและพาณิชย์

ข้อสอบกฎหมายแพ่ง 1 และวิธีตอบคำาถามที ถูกต้อง เด็กชายดีอายุ14 ปเปนเด็กมีความประพฤติดีและสอบได้คะแนนดี นายเด่นบิดาจึงซื อจักรยานเสือภูเขาให้1 คัน ราคา 5,000 บาท เด็กชายดีขี จักรยานผ่านหน้าบ้านนายดัง (นักศึกษาปริญญาเอก) ทุกวัน ๆ ละหลาย ๆ รอบ นายดังชอบรถจักรยานคันนั น และแอบรู ้ว่าเด็กชายดีเปนคนขี เบื อ-เชื อคนง่ายจึงสอนให้เด็กชายดีขี มอเตอร์ไซค์จนเปน เด็กชายดีเบื อรถจักรยานและอยากได้ มอเตอร์ไซค์แทน นายดังจึงออกตัวว่าสงสารเด็กชายดีและจะรับซื อรถจักรยานเองแต่ขอให้ขายราคาถูกเพียง 2,000 บาท เด็ก ชายดีดีใจ จึงรีบขายทันที แล้วทุบกระปุกออมสินได้เงินมากพอไปซื อมอเตอร์ไซค์นายเด่นบิดาโกรธหาว่านายดังหลอกเด็กจึง พามาพบท่านในฐานะทนายความ ท่านจะแนะนำานายเด่นว่าอย่างไร (แนวคำาตอบ)ย่อหน้าที หนึ งเน้นหนักไปทางแก่นกฎหมายแยกเปนหมวดหมู ่สาระสำาคัญ บทบัญญัติในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์เรื อง ความสามารถในการทำานิติกรรมของผู ้ เยาว์มีสาระสำาคัญสรุปได้ดังนี  -นิติกรรมใด ๆ ที ผู ้เยาว์ทำาไปโดยไม่ได้รับความยินยอมของผู ้แทนโดยชอบธรรมก่อนย่อมเปนโมฆียะ เว้นแต่จะบัญญัติไว้เปน อย่างอื น -ผู ้แทนโดยชอบธรรมมีสิทธิ... 1.ให้สัตยาบันแก่นิติกรรมออันเปนโมฆียะนั นให้สมบูรณ์ได้หรือ 2.บอกล้างนิติกรรมอันเปนโมฆียะนั นให้ตกเปนโมฆะ -การให้สัตยาบันต่อนิติกรรมที ผู ้เยาว์ได้ทำาไปโดยไม่ได้รับความยินยอมของผู ้แทนโดยชอบธรรมนั นย่อมกระทำาได้โดยแสดง เจตนาต่อคู ่กรณีอีกฝายหนึ งและมีผลให้นิติกรรมดังกล่าวสมบูรณ์ตลอดไป -การบอกล้างนิติกรรมที ผู ้เยาว์ได้ทำาไปโดยไม่ได้รับความยินยอมของผู ้แทนโดยชอบธรรมนั น ย่อมกระทำาได้โดยแสดงต่อคู ่กรณี อีกฝายหนึ ง มีผลให้นิติกรรมดังกล่าวตกเปนโมฆะคือเสียเปล่ามาแต่เริ มแรก และให้ผู ้เปนคู ่กรณีกลับคืนสู ่ ฐานะเดิม ถ้าเปนการ พ้นวิสัยจะให้กลับคืนเช่นนั นได้ก็ให้ได้รับค่าเสียหายชดใช้แทนนอกจากนี หากผู ้มีสิทธิบอกล้างมฆียะกรรมมิได้ใช้สิทธิบอกล้าง

เมื อพ้นหนึ งปนับแต่เวลาที อาจให้สัตยาบันได้หรือเมื อพ้นเวลาสิบปนับแต่ได้ทำานิติกรรมอันเปนโมฆียะนั น (ย่อหน้าที สอง เน้นหนักไปในทางวินิจฉัย หรือปรับบทกฎหมายเข้ากับข้อเท็จจริง ภาษากฎหมายมาตรานั น วรรคนั น เขาเรียก ว่าอะไรก็เรียกไปตามนั น) กรณีตามปญหาวินิจฉัยดังนี เด็กชายดีอายุ 14 ปผู ้เยาว์ในฐานะผู ้ขายตกลงขายรถจักรยานเสือภูเขา ซึ งนายเด่นบิดาซื อมาให้ ตนในราคา 5,000 บาท แก่นายดังผู ้ซื อในราคาเพียง 2,000 บาท โดยยังไม่ได้รับความยินยอมจากนายเด่นบิดาของเด็กชายดี ในฐานะผู ้แทนโดยชอบธรรมของเด็กชายดีผู ้เยาว์ทำาให้นิติกรรมซึ งก็หมายถึงสัญญาซื อขายรถจักรยานเสือภูเขาระหว่างเด็ก ชายดีผู ้ขายกับนายดังผู ้ซื อนั นตกเปนโมฆียะ เมื อนายเด่นมาปรึกษาข้าพเจ้าในฐานะทนายความข้าพเจ้าจะแนะนำาให้นายเด่น พิจารณาทางเลือกเปน 2 แนวทางดังนี  ก.ทางเลือกที หนึ ง หากนายเด่นตัดสินใจยอมรับนิติกรรมซึ งหมายถึงสัญญาซื อขายที เด็กชายดีบุตรของตนในฐานะผู ้ขายได้ทำา ขึ นกับนายดังในฐานะผู ้ซื อ นายเด่นสามารถให้สัตยาบันแก่นิติกรรมหรือสัญญาซื อขายนั นได้ด้วยการแสดงเจตนายินยอมให้ นายดังรับทราบ หรือทอกระยะเวลาออกไปให้พ้นหนึ งปนับแต่เวลาที อาจให้สัตยาบันได้หรือเมื อพ้นสิบปนับแต่เด็กชายดีและ นายดังทำานิติกรรมซึ งหมายถึงสัญญาซื อขายนั น ข. ทางเลือกที สอง หากนายเด่นตัดสินใจไม่ยอมรับนิติกรรมซึ งหมายถึงสัญญาซื อขายที เด็กชายดีบุตรของตนในฐานะผู ้ขายได้ ทำาขึ นกับนายดังในฐานะผู ้ซื อ นายเด่นสามารถบอกล้างนิติกรรมหรือสัญญาซื อขายนั นได้ด้วยการแสดงเจตนาบอกล้างให้นาย ดังทราบ มีผลให้นิติกรรมซึ งหมายถึงสัญญาซื อขายนั นตกเปนโมฆะมาแต่เริ มแรกและให้เด็กชายดีและนายดังคู ่กรณีกลับคืนสู ่ ฐานะเดิมคือเด็กชายดีต้องคืนราคาคือเงินค่าซื อรถจักรยานที ได้รับจากนายดังให้แก่นายดังไป และนายดังต้องคืนรถจักรยาน คันที เด็กชายดีส่งมอบให้เพราะเปนการปฏิบัติตามการซื อขาย และถ้าเปนการพ้นวิสัยที จะได้คืน เช่นนายดังทำาให้รถจักรยาน พังเสียหาย นายดังก็ต้องชดใช้ค่าเสียหายแก่เด็กชายดี (ย่อหน้าที สาม สรุปสั น ๆ ตามคำาถามทีละประเด็นให้ครบถ้วน) สรุปหรือธงข้าพเจ้าแนะนำาให้นายเด่นพิจารณาทางเลือกตาม ก. หรือ ข. ด้วยเหตุผลตามที กล่าวมาแล้วข้างต้น - ที มาจากหนังสือประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ อาญา โดย ผศ.อรรถสิทธิ ชื นสงวน - วิธีการเขียนตอบ “ข้อสอบอุทาหรณ์” (1) โครงสร้างของการเขียนตอบข้อสอบอุทาหรณ์ ข้อสอบอุทาหรณ์เกือบทั งหมด เปนข้อสอบอุทาหรณ์แบบทั วไป ซึ งมีโครงสร้างการเขียนตอบคล้ายกัน คือ จะประกอบไปด้วย เนื อหา 4 ส่วน ซึ งจะมีลำาดับการเขียนตอบก่อนหลังกัน ดังต่อไปนี  1. ประเด็นของคำาถามการเขียนตอบ โดยมากจะเริ มต้นด้วยการตั งประเด็นของคำาถาม กล่าวคือเมื อนักศึกษาอ่านคำาถามและจับประเด็นข้อสอบได้ แล้ว เพื อแสดงให้ผู ้ตรวจเห็นถึงความสามารถในการวินิจฉัยข้อเท็จจริงในเบื องต้น และเพื อปองกันการวินิจฉัยผิดพลาด หรือ หลงประเด็น นักศึกควรจะเขียนประเด็นของคำาถามไว้เปนลำาดับแรกของการเขียนตอบ

2. หลักกฎหมายข้อสอบอุทาหรณ์จะมีคะแนนของหลักกฎหมายที เกี ยวข้องกับประเด็นของคำาถามเสมอ ซึ งอาจจะมีสัดส่วนน้อยกว่าการปรับบท ซึ งเปนส่วนที 3 แต่คะแนนของหลักกฎหมายก็อาจเปนส่วนที สามารถชี วัดผลการสอบในแต่ละข้อได้ บางครั งผู ้ตรวจข้อสอบอาจ กำาหนดสัดส่วนการให้คะแนนของหลักกฎหมายถึงครี งหนึ งของคะแนนทั งข้อ ซึ งมักจะเปนกรณีที คำาถามมีประเด็นที ถามหลาย ประเด็น3. การปรับบทกฎหมายเข้ากับข้อเท็จจริง ส่วนนี อาจจะเรียกได้ว่าเปนส่วนที สำาคัญที สุดของการเขียนตอบข้อสอบอุทาหรณ์เนื องจากเปนส่วนที วัดความเข้าใจในหลัก กฎหมาย และความสามารถในการปรับใช้หรือวินิจฉัยของนักศึกษา ความยากในการเขียนตอบข้อสอบอุทาหรณ์จึงอยู ่ที ส่วน ของการปรับบทกฎหมายนี เอง4. การสรุปคำาตอบส่วนนี อาจถือได้ว่าเปนส่วนสุดท้ายที จะมาเติมเต็มให้กับการเขียนตอบข้อสอบของนักศึกษาจบลงด้วยความสมบูรณ์ ทั งนี แม้ นักศึกษาจะจับประเด็น วางหลักกฎหมาย หรือปรับบทที ถูกต้อง แต่หากนักศึกษาไม่สรุปคำาตอบให้ตรงกับคำาถามที โจทย์ถาม ก็เหมือนนักศึกษายังไม่ได้ทำาในสิ งที ผู ้ถามประสงค์จะให้ทำา ซึ งนักศึกษาอาจเสียคะแนนที ไม่ควรจะเสียไป คำาถามนายแสวงขับรถโดยประมาทเลินเล่อ ชนนางอรชรหญิงหม้ายซึ งตั งครรภ์ได้7 เดือนเศษ เปนเหตุให้สมองของทารกในครรภ์ได้ รับการกระทบกระเทือนอย่างรุนแรง ต่อมานางอรชรได้คลอดบุตรออกมา คือ ดช.ประสาท ปรากฎว่า ดช.ประสาทมีอาการ วิกลจริตเพราะสมองได้รับความกระทบกระเทือนขณะอยู ่ในครรภ์นางอรชรจึงได้ยื นฟองนายแสวงต่อศาลแทน ดช.ประสาท เรียกค่าสินไหมทดแทน โดยอ้างว่านายแสวงประมาทเลินเล่อทำาให้ดช.ประสาทวิกลจริต นายแสวงให้การต่อสู ้คดีว่า ดช. ประสาทไม่มีสิทธิได้รับค่าสินไหมทดแทน เพราะในขณะที ตนขับรถชนนางอรชรนั น ดช.ประสาทยังไม่มีสภาพบุคคล จึงยังไม่มี สิทธิใดๆ ให้ผู ้อื นละเมิดได้ขอให้ศาลยกฟอง ข้อต่อสู ้ของนายแสวงฟงขึ นหรือไม่เพราะเหตุใด อนึ ง เมื อ ดช.ประสาทมีอายุ17 ปเศษ ได้ซื อรองเท้าจากร้านศึกษาภัณฑ์พานิชมา 1 คู ่ในราคา 35 บาท สัญญาซื อขายรายนี จะ มีผลสมบูรณ์หรือไม่ เพราะเหตุใด (1/2520) แนวการตอบนักศึกษาคนที  1 ประเด็น1. สิทธิของทารกในครรภ์มารดา 2. ความสามารถในการทำานิติกรรมของผู ้เยาว์ 3. ความสามารถในการทำานิติกรรมของคนวิกลจริต หลักกฎหมายบัญญัติอยู ่ใน ป.พ.พ. ดังนี  มาตรา 15 วางหลักว่า สภาพบุคคลย่อมเริ มขึ นแต่เมื อคลอดแล้วอยู ่รอดเปนทารกและสิ นสุดลงเมื อตาย ทารกในครรภ์มารดาก็สามารถมีสิทธิได้หากว่าภายหลังคลอดแล้วอยู ่รอดเปนทารก

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง