ม.692 ล กหน ร บสภาพหน ผ ค ำ ยกอาย ความส

โดยเปิดการเรียนการสอนทางด้านกฎหมายในช่วงแรกให้แก่ผู้ที่สนใจซึ่งต้องเป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีในสาขาอื่นมาแล้ว (หรือที่เรียกว่า “ภาคบัณฑิต”) ก่อนที่จะจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีให้แก่นักเรียนที่จบการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายปีที่ 6 หรือเทียบเท่า ตั้งแต่ พ.ศ. 2552 เป็นต้นมา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการขยายโอกาสทางการศึกษาให้แก่นักเรียนที่มีภูมิลำเนาหรือศึกษาอยู่ในภาคเหนือของประเทศ การจัดการเรียนการสอนเป็นไปอย่างมีมาตรฐานภายใต้หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิตของคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งเป็นหลักสูตรเดียวกันกับที่ท่าพระจันทร์ และศูนย์รังสิต การถ่ายทอดความรู้เป็นไปอย่างมีคุณภาพด้วยคณาจารย์ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญทางด้านกฎหมายในสาขาต่าง ๆ ทั้งที่ประจำอยู่ที่ท่าพระจันทร์ ศูนย์รังสิต และศูนย์ลำปาง

ในปัจจุบัน (พ.ศ. 2564) คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง มีการบริหารจัดการภายใต้หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต (ปรับปรุงใหม่) พ.ศ. 2561 ซึ่งเป็นหลักสูตรที่สร้างความโดดเด่นให้แก่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง โดยกำหนดให้มี “สาขากฎหมายกับการพัฒนาที่ยั่งยืน (Law and Sustainable Development)” ซึ่งเป็นสาขากฎหมายใหม่และเปิดการเรียนการสอนเฉพาะที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง เท่านั้น

ในสาขากฎหมายใหม่นี้ประกอบไปด้วยรายวิชาต่าง ๆ ทางด้านกฎหมายเกือบ 20 วิชา โดยมุ่งหวังที่จะสร้างนักกฎหมายที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาสังคมที่เกิดขึ้น มุ่งสร้างนักกฎหมายที่ตระหนักถึงความสำคัญของการดำรงชีวิตของคนในยุคปัจจุบันที่จะไม่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่คนรุ่นหลัง ทั้งด้านการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ที่มีอยู่จำกัดอย่างเห็นและตระหนักถึงคุณค่า การให้ความสำคัญแก่การรักษาสภาพเศรษฐกิจที่ดี ในขณะเดียวกันก็ไม่ทำลายเศรษฐกิจของประเทศอื่น และการรักษาไว้ซึ่งประโยชน์โดยส่วนใหญ่ของสังคม อีกทั้งรักษาไว้ซึ่งคุณภาพชีวิตของมนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ บนโลก ซึ่งหลักการนี้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาและการอยู่ร่วมกันบนโลกอย่างสันติสุขภายใต้การให้ความสำคัญโดยองค์การสหประชาชาติ (United Nation : UN)

โครงสร้างหลักสูตรของหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิตที่เปิดสอน ณ คณะนิติศาสตร์ ศูนย์ลำปาง เป็นหลักสูตรเดียวกันกับหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิตที่เปิดสอน ณ คณะนิติศาสตร์ ศูนย์รังสิต อันประกอบด้วยการศึกษารายวิชารวมกันไม่น้อยกว่า 146 หน่วยกิต ใช้ระยะเวลาในการศึกษา 4 ปี

คณะนิติศาสตร์ ศูนย์ลำปางรับนักศึกษาที่จบการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเข้าศึกษาประมาณปีละ 200 คนโดย โดยเปิดรับสมัคร 2 รอบดังต่อไปนี้

  • รอบที่ 2 โควต้าพื้นที่ (ศูนย์ลำปาง) รับนักเรียน/นักศึกษาที่กำลังศึกษาอยู่ใน เขตพื้นที่ 17 จังหวัดภาคเหนือ ได้แก่ จังหวัดลำปาง พิษณุโลก นครสวรรค์ แพร่ เชียงราย น่าน อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ ตาก ลำพูน เชียงใหม่ พะเยา แม่ฮ่องสอน กำแพงเพชร สุโขทัย พิจิตร และ อุทัยธานี และ เขตพื้นที่ 20 จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ จังหวัดกาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ นครพนม นครราชสีมา บึงกาฬ บุรีรัมย์ มหาสารคาม มุกดาหาร ยโสธร ร้อยเอ็ด เลย ศรีสะเกษ สกลนคร สุรินทร์ หนองคาย หนองบัวลำภู อำนาจเจริญ อุดรธานี และอุบลราชธานี รอบที่่ 3 Admissions แบ่งเป็น Admission 1 (สอบตรงนิติ มธ.) และ Admission 2 (Admission เดิม) นอกจากนี้การเรียนการสอนที่จัดโดยคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง ยังเน้นความผูกพัน ความใกล้ชิด และความอบอุ่นระหว่างคณาจารย์ประจำศูนย์ลำปางและนักศึกษาที่เข้ามาเรียนประมาณ 200 คนในแต่ละปี เน้นการใช้ชีวิตภายใต้สภาพแวดล้อมที่เป็นธรรมชาติ บรรยากาศร่มรื่น และปราศจากความเร่งรีบจากสภาพการจราจรที่แออัดในเมืองใหญ่ นักศึกษานิติศาสตร์ ศูนย์ลำปางทุกคนจะมีเวลาอย่างเพียงพอในการบริหารจัดการทั้งเรื่องการเรียน กิจกรรม และการพักผ่อนได้อย่างลงตัวโดยปราศจากความกังวลในเรื่องคุณภาพการศึกษาและโอกาสในการประกอบอาชีพซึ่งมีอยู่อย่างเท่าเทียมกันในทุกศูนย์การศึกษา

เมื่อผู้ค้ำประกันได้ชำระหนี้แล้ว ย่อมมีสิทธิไล่เบี้ยจากบุคคลใดต่อไปนี้

มาตรา ๖๙๓ ผู้ค้ำประกันซึ่งได้ชำระหนี้แล้ว ย่อมมีสิทธิที่จะไล่เบี้ยเอาจากลูกหนี้ เพื่อต้นเงินกับดอกเบี้ยและเพื่อการที่ต้องสูญหายหรือเสียหายไปอย่างใด ๆ เพราะการค้ำประกันนั้น อนึ่ง ผู้ค้ำประกันย่อมเข้ารับช่วงสิทธิของเจ้าหนี้บรรดามีเหนือลูกหนี้ด้วย

ผู้ค้ำประกันไล่เบี้ยผู้จำนองได้ไหม

เมื่อผู้ค้ำประกันชำระหนี้ไปแล้ว ผู้ค้ำประกันจะไล่เบี้ยจากผู้จำนองรายอื่นไม่ได้

ผู้ค้ำประกันหลุดพ้นภาระหน้าที่ของตนได้ในกรณีใด

มาตรา ๖๙๘ อันผู้ค้ำประกันย่อมหลุดพ้นจากความรับผิดในขณะเมื่อหนี้ของลูกหนี้ระงับสิ้นไปไม่ว่าเพราะเหตุใด ๆ มาตรา ๖๙๙ การค้ำประกันเพื่อกิจการเนื่องกันไปหลายคราวไม่มีจำกัดเวลาเป็นคุณแก่เจ้าหนี้นั้น ท่านว่าผู้ค้ำประกันอาจเลิกเสียเพื่อคราวอันเป็นอนาคตได้ โดยบอกกล่าวความประสงค์นั้นแก่เจ้าหนี้

ผลของสัญญาค้ำประกันก่อนการชำระหนี้ มีอะไรบ้าง

3. ผลก่อนชำระหนี้ เมื่อได้มีการทำสัญญาค้ำประกันกันแล้ว สัญญาย่อมผูกพันผู้ค้ำประกันให้ต้องปฏิบัติตามสัญญา โดยแยกได้เป็นผลเมื่อมีการเริ่มต้นเป็นผู้ค้ำประกันเกิดขึ้นแล้วตอนหนึ่งซึ่งเป็นตอนที่ลูกหนี้ผิดนัดชำระหนี้ และผลภายหลังจากผู้ค้ำประกันได้เข้าชำระหนี้แทนลูกหนี้แล้ว สำหรับตอนนี้กล่าวถึงผลก่อนที่ผู้ค้ำประกันเข้าชำระหนี้

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง