9 พากเพ ยร ม งส เป าหมาย goal-directed persistence

คณะท�ำงานวิชาการ สถาบัน RLG ได้ถอดรหสั เพอ่ื สรปุ คำ� ส�ำคัญ (key words) ของ EF เพื่อใหเ้ ข้าใจงา่ ยข้นึ ดังน้ี

กล่มุ ทกั ษะพน้ื ฐาน

ความจ�ำเพอ่ื ใช้งาน การยั้งคิดไตรต่ รอง การยดื หยุ่นความคิด

Working Memory Inhibitory Control Shift /Cognitive Flexibility ✿ จำ� ขอ้ มูลท่ีมคี วามหมาย ✿ หยดุ ..คดิ ไตรต่ รอง ✿ ปรบั เปลีย่ นความคดิ และจดั การกับขอ้ มูลนัน้ กอ่ นทำ� หรือพดู เม่ือเงอื่ นไขเปลย่ี น ✿ คดิ เช่ือมโยงกับ ✿ ชั่งใจ พินิจพจิ ารณา ✿ คดิ นอกกรอบ ประสบการณ์เดิม ✿ ชะลอความอยาก ✿ เหน็ วิธีและโอกาสใหมๆ่ ✿ ประมวลผลใชง้ านตอ่ “อดเปรย้ี วไวก้ ินหวาน”

กลุ่มทกั ษะก�ำกับตนเอง

การจดจ่อใสใ่ จ การควบคมุ อารมณ์ การตดิ ตามประเมินตนเอง

Focus / Attention Emotional Control Self-Monitoring ✿ มงุ่ ใจจดจอ่ ✿ จดั การอารมณ์ได้เหมาะสม ✿ ทบทวนสิง่ ท่ีทำ� ไป ✿ มสี มาธติ อ่ เนื่อง ✿ ม่นั คงทางอารมณ์ ✿ สะทอ้ นผลจากการกระท�ำ ✿ จดจ่ออยา่ งตืน่ ตวั ✿ ไม่ใช้อารมณแ์ กป้ ญั หา ของตนเองได้ ✿ แสดงออกอย่างเหมาะสม ✿ แก้ไขปรบั ปรุงใหด้ ีขน้ึ

15

กลมุ่ ทกั ษะปฏิบัติ

การริเริ่มและลงมือท�ำ การวางแผนและจดั การ การมุง่ เปา้ หมาย ทำ� งานใหส้ �ำเรจ็ Initiating Goal-Directed Persistence ✿ คดิ ริเรม่ิ Planning and Organizing ✿ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ ✿ ตดั สินใจลงมอื ทำ� ✿ ตง้ั เปา้ หมาย / วางแผน ✿ เกาะติดเป้าหมาย ด้วยตนเอง ✿ จดั ลำ� ดบั ความสำ� คญั ✿ พากเพียรอุตสาหะ ✿ ไม่ผัดวนั ประกนั พรุ่ง ✿ จดั ระบบ / ดำ� เนนิ การ ✿ ฝ่าฟันอุปสรรค ✿ บรหิ ารเวลา / บรหิ ารทรพั ยากร ✿ ประเมนิ ผล

องค์ประกอบ กลุ่มทกั ษะพ้ืนฐาน EF 3x3 ด้าน

  1. ความจ�ำเพอื่ ใช้งาน : Working Memory Working Memory คือความสามารถของสมองท่ีใช้ในการจัดข้อมูลหรือประสบการณ์เดิม ท่ีผ่านมาให้เป็นระบบ และประมวลมาใช้เมื่อเผชิญกับสถานการณ์ต่างๆ ให้เหมาะสม Working Memory ปลกุ ใหข้ อ้ มลู เคลอื่ นไหว แลว้ เลอื กขอ้ มลู ชนิ้ ทเี่ หมาะสม น�ำออกมาใช้ ช่วยให้เราจ�ำข้อมูลได้หลายต่อหลายเร่ืองในเวลาเดียวกัน Working Memory เปน็ ความจำ� ทเ่ี รยี กมาใชง้ านไดน้ ี้ จงึ มบี ทบาทสำ� คญั มาก ในชีวิต ตั้งแต่การคิดเลขในใจ การจดจ�ำสิ่งที่อ่านและจากประสบการณ์การ เรยี นรผู้ ่านส่งิ ที่เดก็ ลงมือทำ� เพือ่ นำ� มาประมวลใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจ การจดจ�ำ กติกา ข้อตกลง เพ่ือน�ำมาปฏิบัติ ความสามารถน้ีช่วยให้เด็กจดจ�ำกติกา ในการเลน่ การลำ� ดบั ขั้นตอนในการเก็บของให้เข้าที่ ฯลฯ

16

  1. การยงั้ คิดไตรต่ รอง : Inhibitory Control Inhibitory Control

คือความสามารถที่เราใช้ในการควบคุม กลั่นกรองความคิดและ Shifting / Cognitive แรงอยากตา่ งๆ จนเราสามารถตา้ นหรอื ยบั ยง้ั สง่ิ ยว่ั ยุ ความวา้ วนุ่ หรอื Flexibility นิสยั ความเคยชินต่างๆ แลว้ หยุดคดิ กอ่ นท่จี ะท�ำ Inhibitory Control ท�ำให้เราสามารถคัดเลือก มีความจดจ่อ รักษาระดับความใส่ใจ จัดล�ำดับความส�ำคัญและก�ำกับการกระท�ำ ความสามารถด้านน้ีจะช่วยป้องกันเราจากการเป็นสัตว์โลกท่ีมีแต่ สัญชาตญาณและท�ำทุกอย่างตามทอี่ ยาก โดยไม่ได้ใช้ความคดิ เป็นความสามารถท่ีช่วยให้เรามุ่งจดจ่อไปที่เร่ืองท่ีส�ำคัญกว่า ชว่ ยใหเ้ ราระวังวาจา พดู ในส่ิงทค่ี วรพูด และเมื่อโกรธเกร้ยี ว เร่งร้อน หงุดหงิด ก็สามารถควบคุมตนเองได้ ไม่ตะโกน ตบตีเตะต่อยคนอื่น และแม้มีความวุ่นวายใจก็ละวางได้ จนท�ำงานต่างๆ ที่ควรต้อง ท�ำได้ลุล่วง ความสามารถน้ีจะช่วยให้เด็กรู้จักอดทน รอได้ รอเป็น ไม่แซงคิว ไม่หยิบฉวยของผอู้ ่ืนมาเป็นของตนเพราะความอยากได้

  1. การยืดหยุ่นความคิด : Shifting / Cognitive Flexibility

คอื ความสามารถทจี่ ะ “เปลยี่ นเกยี ร”์ ใหอ้ ยใู่ นจงั หวะทเ่ี หมาะสม ปรบั ตวั เขา้ กบั ขอ้ เรยี กรอ้ งของสภาพแวดลอ้ มทเ่ี ปลยี่ นไป ไมว่ า่ จะเปน็ เวลาเปลี่ยน ลำ� ดบั ความสำ� คัญเปลีย่ น หรอื เปา้ หมายเปล่ยี น ชว่ ยให้ เราปรับประยุกต์กติกาเดิมหรือท่ีคุ้นเคย ไปใช้ในสถานการณ์ที่ แตกตา่ งได้ เปน็ ความสามารถทชี่ ว่ ยใหเ้ ราเรยี นรู้ ไมย่ ดึ ตดิ ตายตวั ชว่ ยใหเ้ รา มองเห็นจุดผิดแล้วแก้ไข และปรับเปล่ียนวิธีท�ำงานด้วยข้อมูลใหม่ๆ ช่วยให้เราพิจารณาสิ่งต่างๆ จากมุมมองที่สด ให้คิดนอกกรอบ นอกกล่อง ความสามารถนี้จะช่วยให้เด็กสนุกกับการปรับเปล่ียน วิธีเล่นให้มีความหลากหลาย แปลกใหม่ ช่วยปรับตัวปรับใจยอมรับ ได้ดใี นสถานการณ์ท่ไี ม่เป็นไปตามทค่ี าดหวงั

17

Focus / Attention กลุม่ ทกั ษะก�ำกบั ตนเอง Emotional Control

  1. การใส่ใจจดจอ่ : Focus / Attention

คือความสามารถในการรักษาความตื่นตัว รักษาความสนใจ ใหอ้ ยใู่ นทศิ ทางทคี่ วร เพอ่ื ใหต้ นเองบรรลสุ งิ่ ทต่ี อ้ งการจะทำ� ใหส้ ำ� เรจ็ ด้วยความจดจ่อ มีสติรู้ตัวต่อเน่ืองในระยะเวลาที่เหมาะสมตาม สมควรของวัยและความยากง่ายต่อภารกิจนั้นๆ การใส่ใจจดจ่อเป็นอีกคุณสมบัติพ้ืนฐานท่ีจ�ำเป็นในการเรียนรู้ หรือท�ำงาน เด็กบางคนแม้จะมีระดับสติปัญญาฉลาดรอบรู้ แต่เมื่อ ขาดทกั ษะความสามารถในการจดจอ่ เมอื่ มสี ง่ิ ใดไมว่ า่ สงิ่ เรา้ ภายนอก หรอื จากสง่ิ เรา้ ภายในตนเองกว็ อกแวก ไมส่ ามารถจดจอ่ ทำ� งานตอ่ ไป ได้ เช่นนี้ก็ยากท่ีจะท�ำงานใดๆ ให้ส�ำเร็จ ความสามารถนี้จะช่วยให้ เด็กๆ มสี มาธจิ ดจอ่ กบั การรอ้ ยลกู ปัด ตอ่ บล็อก ฟังนิทานจนจบเร่ือง และท�ำกิจกรรมตา่ งๆ อย่างใสใ่ จ ไม่วอกแวก

  1. การควบคมุ อารมณ์ : Emotional Control

คอื ความสามารถในการจดั การกบั อารมณข์ องตนเอง รวู้ า่ ตนเอง กำ� ลงั อยใู่ นภาวะอารมณค์ วามรสู้ กึ อยา่ งไร สามารถปรบั สภาพอารมณ์ ใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์ และควบคมุ การแสดงออกทง้ั ทางอารมณ์ และพฤติกรรมได้เหมาะสม เด็กท่ีควบคุมอารมณ์ไม่ได้ อาจกลายเป็นคนท่ีโกรธเกร้ียว ฉนุ เฉยี วงา่ ย ขหี้ งดุ หงดิ ขร้ี ำ� คาญเกนิ เหตุ ระเบดิ อารมณง์ า่ ย เรอื่ งเลก็ กลายเปน็ เรอ่ื งใหญ่ และอาจจะกลายเปน็ คนขก้ี งั วล อารมณแ์ ปรปรวน และซมึ เศรา้ ไดง้ า่ ย ความสามารถนจี้ ะชว่ ยใหเ้ ดก็ ๆ อดทนและใหอ้ ภยั ต่อการกระทบกระท่ังกันเล็กๆ น้อยๆ ในระหว่างเล่นด้วยกันได้ เมื่อไม่พอใจจะหาวิธีแก้ปัญหา ไม่ใช่โวยวาย อาละวาด

18

  1. การติดตามประเมินตนเอง : Self-Monitoring Self-Monitoring

คือความสามารถในการตรวจสอบความรู้สึก ความคิด หรือ การกระท�ำของตนเองท้ังในระหว่างการท�ำงาน หรือหลังจากท�ำงาน แล้วเสร็จ เพื่อให้ม่ันใจว่า จะน�ำไปสู่ผลดีต่อเป้าหมายที่วางไว้ หากเกิดความบกพร่องผิดพลาดก็จะน�ำไปสู่การแก้ไขได้ทันการณ์ และเป็นการท�ำให้รู้จักตนเองทั้งในด้านความต้องการ จุดแข็งและ จุดอ่อนได้ชัดเจนขึ้น รวมไปถึงการตรวจสอบความคิด ความรู้สึก หรือตัวตนของตนเอง ก�ำกับติดตามปฏิกิริยาของตนเอง และดูผล จากพฤติกรรมของตนทก่ี ระทบต่อผู้อนื่ ความสามารถนจ้ี ะชว่ ยใหเ้ ดก็ ไดท้ บทวนสง่ิ ทท่ี ำ� ไป รสู้ กึ สำ� นกึ ผดิ แล้วปรับปรุงตนเองใหม่ เช่น การพูดท่ีท�ำให้เพื่อนเสียใจ หรือ เมื่อท�ำผลงานเสร็จ ได้ทบทวนเพื่อพฒั นางานใหด้ ีข้ึน

กล่มุ ทกั ษะปฏบิ ตั ิ Initiating

  1. การริเริ่มและลงมือท�ำ : Initiating

คือความสามารถในการคิดค้นไตร่ตรองแล้ว ตัดสินใจว่าจะต้องท�ำส่ิงน้ันๆ และน�ำส่ิงท่ีคิดมาสู่ การลงมือปฏบิ ัตใิ ห้เกิดผล คนท่กี ลา้ ริเร่ิมนั้นจ�ำเปน็ ตอ้ งมคี วามกล้าหาญ กล้าตดั สนิ ใจ ไมผ่ ัดวนั ประกัน พรุ่ง ต้องกล้าลองผิดลองถูก ทกั ษะนเ้ี ปน็ พน้ื ฐานของความคดิ รเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ จะน�ำไปสู่การพัฒนาส่ิงใหม่ๆ ให้เกิดข้ึน ความ สามารถนี้จะช่วยให้เด็กๆ กล้าคิด กล้าตัดสินใจ และลงมอื เล่นหรอื ทำ� กจิ กรรม

19

Planning & Organizing 8) การวางแผนและจัดการทำ� งานใหส้ �ำเร็จ : Planning & Organizing

คือความสามารถในการปฏิบัติท่ีเร่ิมต้ังแต่การวางแผนท่ีจะต้อง น�ำส่วนประกอบส�ำคัญต่างๆ มาเชื่อมต่อกัน เช่น การต้ังเป้าหมาย การเหน็ ภาพรวมทง้ั หมดของงาน การก�ำหนดกจิ กรรม ฯลฯ เป็นการ น�ำความคาดหวังท่ีมีต่อเหตุการณ์ในอนาคตมาท�ำให้เป็นรูปธรรม วางเป้าหมายแล้วจัดวางขั้นตอนไว้ล่วงหน้า มีจินตนาการหรือ คาดการณ์ในสถานการณ์ต่างๆ ไว้ล่วงหน้า แล้วจัดท�ำเป็นแนวทาง เพือ่ นำ� ไปสู่ความส�ำเร็จตามเป้าหมายต่อไป จากนน้ั จงึ เขา้ ไปสกู่ ระบวนการดำ� เนนิ การ จดั การจนลลุ ว่ ง ไดแ้ ก่ การแตกเปา้ หมายใหเ้ ปน็ ขัน้ ตอน มีการจัดกระบวน ระบบกลไกและ การด�ำเนินการตามแผน ต้ังแต่จุดเริ่มต้นไปจนถึงจุดหมายปลายทาง รวมถึงการบริหารพ้ืนท่ี วัสดุ และการบริหารจัดการเวลาอย่างมี ประสิทธิภาพและยืดหยุ่นเพื่อให้งานส�ำเร็จ ด้วยความสามารถนี้ จะท�ำให้เด็กรู้จักจัดการกับกิจวัตรประจ�ำวัน การวางแผนการเล่น ทไี่ มซ่ ับซอ้ นได้ดว้ ยตนเอง

Goal-Directed 9) การมุ่งเป้าหมาย : Goal-Directed Persistence Persistence คือความพากเพียรเพื่อบรรลุเป้าหมาย และจดจ�ำข้อมูลนี้ ไว้ในใจตลอดเวลาที่ท�ำงานตามแผนนั้นจนกว่าจะบรรลุ ซึ่งรวมถึง ความใส่ใจในเรื่องเวลา (Sense of Time) กับความสามารถในการ สร้างแรงจูงใจให้ตนเอง และติดตามความก้าวหน้าของเป้าหมาย อยา่ งตอ่ เนอื่ ง นน่ั คอื เมอ่ื ตงั้ ใจและลงมอื ทำ� สง่ิ ใดแลว้ จะมงุ่ มนั่ อดทน เพอื่ ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย ไมว่ า่ จะมอี ปุ สรรคใดๆ กพ็ รอ้ มฝา่ ฟนั จนสำ� เรจ็ ความสามารถน้ีจะท�ำให้เด็กๆ เม่ือท�ำส่ิงใดก็จะมุ่งม่ันท�ำโดย ไม่ย่อท้อ เช่น ความพยายามที่จะข้ึนบาร์โค้งให้ได้ ความพยายาม ทจี่ ะผูกเชอื กรองเท้าจนสำ� เรจ็ ความต้ังใจทีจ่ ะกนิ ขา้ วจนหมดจาน

20

จะเห็นว่าคุณลักษณะของทักษะสมอง EF เหล่าน้ีมีความ การสร้างพ้ืนฐาน สอดคล้องกบั ทกั ษะทจ่ี ำ� เปน็ สำ� หรบั การดำ� เนินชีวิตในโลกศตวรรษท่ี ตทัก้ังษแะสตมอ่แงรEกFเรใหิ่ม้ลูกขอหงลชาีวนิต 21 ซึ่งเป็นยุคที่คนเราต้องมที กั ษะในการคิดวเิ คราะห์ คดิ สรา้ งสรรค์ กลา้ คดิ รเิ รม่ิ ยดื หยนุ่ ปรบั ตวั มเี ปา้ หมาย และกำ� หนดชวี ติ ตนเอง ฯลฯ เท่ากับเป็นการสร้าง ดังนั้น การสร้างพื้นฐานทักษะสมอง EF ให้ลูกหลานตั้งแต่แรกเร่ิม ของชวี ติ จะเทา่ กบั เปน็ การสรา้ งรากฐานชวี ติ ทแ่ี ขง็ แรงใหก้ บั ลกู หลาน ใรหา้กับกลฐูกหาลนานทไป่ีแขต็งแลรงอดชีวิต ของเรา เพอ่ื ท่จี ะดำ� เนนิ ชวี ติ ในโลกปัจจบุ นั และอนาคตไดอ้ ย่างดี

© RLG Institute

21

22

ทกั ษะสมอง EF เร่ิมพฒั นาข้นึ ในชว่ งวยั ใด กทัการษปะสูพมอ้นื งฐEาFน

เดิมเข้าใจกันว่าทักษะสมอง EF พัฒนาในเด็กวัยเรียน แต่ปัจจุบันยอมรับกัน ที่ดียังสามารถ แล้วว่าไมใ่ ชเ่ ชน่ นัน้ พบวา่ ช่วงเวลาวิกฤตในการสร้างพื้นฐานทักษะสมอง EF คือช่วงวัยแรกเริ่ม เริ่มได้ตั้งแต่ ของชีวติ นนั่ เอง ประสบการณใ์ นช่วงแรกเรม่ิ ของชีวติ จะกำ� หนดทักษะสมอง EF ในครรภ์มารดา ของเดก็ คนนน้ั เมอื่ โตและเป็นผู้ใหญ่ การสร้างพนื้ ฐานทกั ษะสมอง EF ทแ่ี ข็งแรง ในชว่ งแรกของชีวิต จะส่งผลต่อทกั ษะสมอง EF ไปตลอดชีวิต หรอื อาจพดู ไดว้ า่ หากเร่มิ พฒั นาทักษะสมอง EF เมื่อเด็กโตแล้วอาจจะสายไป ยิ่งไปกว่านั้น พบว่า การปูพ้ืนฐานทักษะสมอง EF ท่ีดียังสามารถเร่ิมได้ต้ังแต่ ในครรภม์ ารดา นบั ตงั้ แตป่ ฏสิ นธเิ ลยทเี ดยี ว ในชว่ งทเ่ี ปน็ ทารกในครรภ์ สมองของลกู มกี ารกอ่ รปู อยา่ งรวดเรว็ มาก มกี ารพฒั นาเปลยี่ นแปลงแทบเรยี กไดว้ า่ เปลยี่ นวนั ตอ่ วนั ถ้าพ่อแม่มีความรู้เก่ียวกับทักษะสมอง EF ก็จะช่วยดูแลให้การสร้างสมองของลูก ในครรภเ์ ปน็ ไปดว้ ยดี ลกู มสี มองทส่ี มบรู ณแ์ บบ เมอ่ื เกดิ มาพรอ้ มจะเรยี นรแู้ ละพฒั นา ในวัยต้นของชีวิตนี้ ทักษะสมอง EF ของลูกยังไม่ปรากฏชัดเจนเหมือน ในเด็กโต แต่เป็นช่วงเตรียมความพร้อมให้ลูกมีพัฒนาการทุกด้าน เพื่อการพัฒนา ด้านการคิด และการควบคุมอารมณ์ของตนเองในช่วงวัยถัดไป

23

เด็กวัย 0-3 ปี ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเจริญพัฒนาของทักษะสมอง EF ในวัยแรกเริ่ม

พ่อแม่เป็นหลักในการ ปัจจัยท่ีส่งผลต่อการเจริญพัฒนาของทักษะสมอง EF แบ่งออกเป็น 2 ปจั จยั หลกั คอื ปจั จยั ตามธรรมชาติ (Nature) และ ปจั จยั จากสงิ่ แวดลอ้ ม (Nurture) เป็นคเลนี้ยสงดำ� ูพคอ่ ัญแมท่ีสจ่ ุดึง ปัจจัยตามธรรมชาติ ได้แก่ ในการพัฒนา 1) พันธุกรรม ทักษะสมอง EF ของลูก 2) ความแข็งแรง ความปกติของสรีระและสมองตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา การตั้งครรภ์เป็นไปด้วยดี ไม่ได้รับปัจจัยเสี่ยงที่กระทบต่อการก่อร่างสร้างสมอง เช่น ความเครียดหรือการขาดสารอาหารท่ีส�ำคัญ แต่ได้รับปัจจัยเสริมโดยพ่อแม่ พยายามส่ือสารสรา้ งความรกั ความผกู พนั กบั ลูกในครรภ์

  1. พนื้ อารมณห์ รือลักษณะนสิ ัยของเดก็ แตล่ ะคน ปจั จัยจากสงิ่ แวดล้อม ไดแ้ ก่ การเล้ียงดูของพ่อแม่ การตอบสนองความต้องการพ้ืนฐานทางร่างกาย และจิตใจ การจัดสิ่งแวดล้อมและมีวิธีการดูแลเด็กที่เหมาะสมกับพัฒนาการเด็ก พอ่ แมม่ ที กั ษะสมอง EF ในการดแู ลเด็ก

หลักการส�ำคัญในการพัฒนาฝึกฝนทักษะสมอง EF ของลูกวัย 0-3 ปี

กอ่ นอื่น พ่อแมต่ ้องตระหนกั วา่

✪ ทักษะสมอง EF เป็นส่วนส�ำคัญในการท�ำงานของสมอง แต่ไม่ใช่เพียงปัจจัย เดียวที่จะน�ำไปสู่เป้าหมายการพัฒนาเด็กให้มีคุณภาพ ดังน้ัน นอกจากการ พัฒนาทักษะสมอง EF แล้ว ต้องเห็นภาพรวมการพัฒนาของพัฒนาการ ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ พัฒนาการทางร่างกาย อารมณ์-จติ ใจ สงั คม และสตปิ ัญญา ร่วมไปด้วย

✪ เด็กวัย 0-3 ปี พ่อแม่เป็นหลักในการเล้ียงดู พ่อแม่จึงเป็นคนส�ำคัญที่สุด ในการพัฒนาทักษะสมอง EF ของลกู

24

✿ การพัฒนาทักษะสมอง EF เป็นเร่ืองที่ต้องพัฒนาเป็นรายบุคคล พฒั นาแตกตา่ งกนั ไปได้ ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งใชว้ ธิ กี ารเดยี วกนั กบั เดก็ ทกุ คน ✿ สำ� หรบั พอ่ แมแ่ ลว้ การพฒั นาทกั ษะสมอง EF ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งลงลกึ กับเนื้อหาวิชาการหรือยึดติดงานวิจัย ควรยึดแค่หลักและน�ำมา ประยกุ ตใ์ หเ้ ปน็ เรอ่ื งง่ายๆ ในชวี ติ ประจำ� วัน ✿ พฒั นาทกั ษะสมอง EF ตามธรรมชาตขิ องพฒั นาการแตล่ ะชว่ งวยั พ่อแม่ต้องมีความรู้เร่ืองพัฒนาการสมองและจิตวิทยาพัฒนาการ กลา่ วคอื รวู้ า่ ชว่ งเวลาใดเปน็ ชว่ งทเี่ ดก็ พรอ้ มจะพฒั นาอะไร ชว่ งเวลา ใดสมองพฒั นาอยา่ งไร โดยอาศยั เกณฑม์ าตรฐาน เชน่ คมู่ อื เฝา้ ระวงั และสง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั (Developmental Surveillance and Promotion Manual – DSPM) โดยกรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุข ซึ่งสามารถปรับใช้ให้เหมาะกับลูกของตนหรือกับเด็ก แตล่ ะคนได้ เพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจวา่ ทำ� ไมลกู จงึ มพี ฤตกิ รรมตา่ งๆ และควรจะ พูดคุยอย่างไรเพ่ือตอบสนองความต้องการและส่งเสริมพัฒนาการ ของลูกไดอ้ ย่างเหมาะสม ✿ ตอ้ งฝกึ อยา่ งต่อเน่ืองในชวี ิตประจำ� วัน ✿ การฝกึ ตอ้ งทำ� ใหเ้ กดิ ความสนกุ ความสขุ ทงั้ พอ่ แมแ่ ละลกู บรรยากาศ ไมเ่ คร่งเครียด (Positive Informative Message)

25

การเลี้ยงดูท่ีส่งเสริมทักษะสมอง EF ของลูกวัย 0-3 ปี

ปัจจัยที่ส่งเสริมทักษะสมอง EF ในช่วงวัยนี้ คือ ส่ิงแวดล้อม ซ่ึงสิ่งแวดล้อม ที่ส�ำคัญท่ีสุดของลูกวัยน้ีก็คือพ่อแม่น่ันเอง การเล้ียงดูและปฏิสัมพันธ์ของพ่อแม่ กบั ลกู จงึ มคี วามสำ� คญั อยา่ งมาก การมปี ฏสิ มั พนั ธท์ ดี่ (ี Responsive Relationship & Positive Relationship) จะสง่ เสรมิ การเจรญิ เตบิ โตของสมองลกู ทำ� ใหส้ มองลกู มีโครงสร้างและวงจรสมองท่ีดี แข็งแรง รวมทั้งท�ำให้ลูกมีสุขภาพกายใจที่ดี ในทางตรงข้าม หากพ่อแม่มีปฏิสัมพันธ์เชิงลบกับลูกในช่วงวัยน้ี จะท�ำให้ลูก มพี น้ื ฐานทักษะสมอง EF ทอ่ี อ่ นแอได้ การเลยี้ งดทู ่ีทำ� ให้ลกู มีทกั ษะสมอง EF ทด่ี ีคอื

การสร้างสภาพแวดล้อมหรือการเลี้ยงดูท่ีมีการตอบสนอง ซึ่งกนั และกนั (Responsive Environment) พอ่ แม่ ผู้เลย้ี งดใู ห้ความรกั ความเอาใจใส่ โอบกอด พูดคุย มองตา เล่นกับลูก ในทางตรงข้าม ถ้าเด็กได้รับการเล้ียงดูแบบไม่มีปฏิสัมพันธ์ ไมม่ กี ารกระตนุ้ ความสมั พนั ธส์ องทาง เชน่ แมใ่ หน้ มไปดว้ ยเลน่ โทรศพั ท์ ไปด้วย พ่อแม่เลี้ยงลูกด้วยเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ท้ังหลาย เช่น ปล่อยลูกไว้กับทีวี คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต สมาร์ตโฟน ฯลฯ หรือ กลุ่มเด็กท่ีถูกทอดท้ิง เด็กก�ำพร้า ไม่ได้รับการโอบกอดสัมผัส สมองส่วนที่เก่ียวข้องกับทักษะ EF ก็จะไม่ได้รับการกระตุ้นพัฒนา สภาพแวดลอ้ มทต่ี อบสนองเดก็ นย้ี งั รวมถงึ การตอบสนองความตอ้ งการ พื้นฐานทง้ั ทางร่างกายและจิตใจของเดก็ ด้วย

26

พ่อแม่มีความสัมพันธ์เชิงบวก หรือความสัมพันธ์ท่ีดีกับลูก (Positive Relationship หรอื Supportive Relationship) พ่อแม่รู้จักรู้ใจลูก สามารถช่วยให้ลูกจัดการกับอารมณ์ ตนเอง (Emotional Support) เชน่ ลกู รอ้ งไหโ้ ยเยแลว้ พอ่ แมป่ ลอบ ประโลม แสดงความเขา้ ใจอารมณข์ องลกู และอนญุ าตใหล้ กู มอี ารมณ์ ดังกล่าวได้ แล้วจึงสอนการควบคุมอารมณ์ ในทางตรงข้าม หาก ลูกร้องแล้วพ่อแม่ดุให้เงียบทันที เป็นการตอบสนองที่ไม่ช่วยให้ ลูกเรียนรูก้ ารจัดการอารมณ์ที่ถูกต้อง ทั้งสองปัจจัยนี้จะช่วยสร้างเส้นใยประสาทที่จะพัฒนาเป็น พื้นฐานทักษะสมอง EF ที่ดีไปตลอดชีวิต ท้ังเสริมทักษะทางสังคม อารมณ์ การเรียนรู้ รวมถึงการเจริญเติบโตทางร่างกายที่ดีด้วย ถ้าพ่อแม่หรือผู้ก�ำลังจะเป็นพ่อแม่ได้มีความรู้เร่ืองการพัฒนาทักษะสมอง EF และพัฒนาการแต่ละช่วงวัยของลูก จะท�ำให้การเล้ียงดูลูกง่ายขึ้นอีกมาก และจะมกี ารตอบสนองลูกอยา่ งเหมาะสม เป็นไปในเชงิ บวก

27

บทบาทของทักษะสมอง EF ทสี่ ง่ ผลต่อชีวติ ในมติ ิต่างๆ

รศ.ดร.นวลจันทร์ จุฑาภักดีกลุ ผู้เชย่ี วชาญดา้ นทักษะสมอง EF จากศูนยว์ จิ ัยประสาทวทิ ยาศาสตร์ สถาบนั ชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะท�ำงานวิชาการสถาบัน RLG ได้รวบรวมข้อมูลวิจัยจาก ตา่ งประเทศ เพอื่ สรปุ ใหเ้ หน็ ความเกยี่ วขอ้ งของทกั ษะสมอง EF ทม่ี ตี อ่ ชวี ติ ในมติ ติ า่ งๆ ไมว่ า่ ดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม สตปิ ัญญา ไวด้ งั น้ี

ด้านสติ ปัญญา

ดา้ นร่างกาย ด้านสังคม

EF ที่บกพร่องจะเกี่ยวข้องกับโรคอ้วน ด้านอารมณ์ การกินอาหารมากไป การเสพติดสารต่างๆ จิตใจ และเม่ือเจ็บป่วยก็ไม่รักษาตัวต่อเน่ือง อัตราการบกพร่องใน EF สัมพันธ์กับ Crescioni et al.2011, Miller et al.2011, การมีงานท�ำและอาชีพการงาน การเรียน Riggs et al.2010 ต่อเน่ือง ความส�ำเร็จในการเรียน รายได้ ครอบครวั ความพงึ พอใจในชวี ติ คู่ การเปน็ คนท่ีมีความยับยั้งชั่งใจต่�ำ สขุ ภาวะ พอ่ แม่ สขุ ภาวะทางจติ ของลกู ความเส่ยี ง ขาดส�ำนึกรู้ตัวในวัยเด็ก จะมีอายุส้ันกว่า องค์รวมตลอด ในการขบั รถ ปญั หาการเงนิ และการไดร้ บั ด้วยโรคเลือดในหัวใจหรือมะเร็ง เพราะ ความเช่ือถือทางการเงิน พฤติกรรมผิด ใช้ชีวิตไปตามความอยากหรือแรงเร้า ช่วงชีวิต กฎหมาย อัตราการถูกจับ ความใส่ใจต่อ มักมีพฤติกรรมติดเหล้า สูบบุหรี่ สุขภาพและภาวะจิตเภท (รวมเป็นการ ไม่คุมน�้ำหนัก ไม่ออกก�ำลังกาย ศึกษาความบกพร่องในชวี ิต 15 ดา้ น) ไม่จัดการกับคอเลสเตอรอล เป็นต้น Barkley, 2011a; Barkley & Fischer, 2011; งานวิจยั ระยะยาว ของ Friedman et al.,1995 Barkley & Murphy,2010,2011)

28

ความพร้อมแรกเขา้ เรียน : EF ส�ำคัญต่อความพรอ้ มในการ EF เป็นเครื่องท�ำนายความส�ำเร็จในการ เรยี นยง่ิ กวา่ IQ หรอื ความสามารถในการอา่ นและคดิ คำ� นวณ เรียน การเข้าร่วมกิจกรรมกับโรงเรียน ในระดับแรกเขา้ เรยี นในชนั้ ประถม และสุขภาวะ EF เป็นเครื่องท�ำนายทักษะ ทางสังคม ความสัมพันธ์กับครูและเพ่ือนๆ Blair &Razza 2007, Morrison et al.2010 ท�ำนายฐานะการเงิน รายได้ในอนาคตและ อตั ราการทำ� ผิดกฎหมาย ความส�ำเร็จในการเรียน : EF พยากรณ์ความสามารถทั้ง คณติ ศาสตร์ การอา่ น ตลอดชว่ งการศกึ ษาในระดับต่างๆ Moffitt TE, Arseneault L, Belsky D, et al. 2011

Borella et al.2010, Duncan et al.2007, Gathercole et al.2004 สัมพันธภาพในชีวิตคู่ คู่สมรสที่มี EF ไม่ดี จะอยู่ด้วยกันยากกว่า พ่ึงพิงไม่ค่อยได้ มหี ลกั ฐานมากขนึ้ เรอ่ื ยๆชช้ี ดั วา่ ความจำ� เพอื่ ใชง้ าน (Working ใช้อารมณ์ หุนหันพลนั แลน่ Memory) กับการยั้งคิดไตร่ตรอง (Inhibitory Control) เป็นส่ิงท่ีบอกถึงความส�ำเร็จหลังจบจากโรงเรียนแล้ว ได้ดี Eakin et al. 2004 ย่ิงกวา่ การทดสอบ IQ คนที่ EF อ่อนแอ น�ำไปสู่ปัญหาสังคม Diamonds,A.(2008) อาชญากรรม พฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง และการระเบดิ อารมณ์ พบ EF บกพร่องในความผิดปกตทิ างจติ หลายดา้ น • การเสพติด (Baler&Volkow 2006) Broidy et al.2003, Denson et al.2011 • ADHD (สมาธสิ ้นั ) (Diamond 2005, Lui&Tannock, 2007) • Conduct Disorder (พฤติกรรมเกเร) (Fairchild et al, 2009) EF ทไ่ี มด่ ี น�ำไปสู่ผลิตผล (Productivity) • Depression (ซมึ เศรา้ ) (Taylor&Tavares et al, 2007) ที่ไม่ดี หางานยากและรักษางานไว้ได้ยาก • Obsessive Compulsive (ยำ�้ คดิ ยำ้� ท�ำ) (Penadeset al, 2007) • Schizophrenia (โรคจติ เภท) (Barch, 2005) Bailey 2007 การสง่ เสรมิ EF ทุกด้านช่วยให้เดก็ มีทักษะการ ปรบั ตัวและฟื้นตวั เมื่อเผชญิ กบั เหตกุ ารณ์วกิ ฤต สามารถกลับมาเข้มแข็งไดใ้ หม่ = ลม้ แลว้ ลุก Greenberg M.2007

29

สรุปแนวทางการพัฒนาพื้นฐานทักษะสมอง EF ลูกวัย 0-3 ปี

เนื่องจากลูกวัย 0-3 ปี คือนับต้ังแต่ปฏิสนธิในครรภ์มารดาไปถึงแรกเกิดและ จนกระท่ัง 3 ปี พ่อแม่เป็นบุคคลท่ีมีบทบาทส�ำคัญในการพัฒนาทักษะสมอง EF ของลูกโดยตรง โดยในการเล้ียงดูลูกอาจมีคนในครอบครัวช่วยเหลือ เช่น ปู่ย่า ตายาย พี่เล้ียงเด็ก ฯลฯ ซ่ึงพ่อแม่รวมท้ังคนในครอบครัวท่ีใกล้ชิดเด็กน้ีควรต้อง มีความรู้เรื่องทักษะสมอง EF และพัฒนาการเด็ก เพื่อให้การพัฒนาเด็กเป็นไป อยา่ งสอดคลอ้ งกนั ทำ� ใหผ้ ทู้ ไ่ี ดร้ บั ประโยชนส์ งู สดุ กค็ อื ตวั เดก็ นนั่ เอง สำ� หรบั วธิ กี าร พฒั นาทกั ษะสมอง EF ลูกวยั 0-3 ปี มีแนวทางหลักๆ ดงั น้ี

✪ ดูแลการตั้งครรภ์ให้เป็นไปอย่างราบรื่น มีคุณภาพ ขจัดหรือหลีกเล่ียง ปจั จยั ลบทจี่ ะสง่ ผลกระทบ ขดั ขวางการเจรญิ เตบิ โตของพฒั นาการสมอง ของทารก เช่น ความเครยี ด การขาดสารอาหาร ฯลฯ

พ่อแมร่ วมทั้ง ✪ บูรณาการการพัฒนาทักษะสมอง EF ควบคู่ไปกับพฤติกรรมพัฒนาการ คนในครอบครวั ในชีวิตประจ�ำวัน ความรู้ในเร่ืองพฤติกรรมพัฒนาการจะช่วยให้พ่อแม่ ฝึกทักษะสมอง EF ควบคู่ไปกับพัฒนาการได้ เช่น พัฒนาการของเด็ก ท่ีใกล้ชิดเด็กควรต้อง วัย 9-10 เดือน สามารถใช้นิ้วหยิบของชิ้นเล็กๆ ได้ พ่อแม่อาจจะ หั่นแครอตช้ินเล็กๆ ให้ลูกหยิบกินเอง หรือพ่อแม่พูด “หม่�ำ หม�่ำ” มีความรเู้ รื่อง เป็นการฝกึ ภาษาใหก้ ับลกู เหลา่ นี้ลว้ นพฒั นาทกั ษะสมอง EF ดว้ ย ทักษะสมอง EF ✪ เดก็ เรียนร้ไู ดด้ ีจากการใชป้ ระสาทสมั ผัส การพฒั นาระบบประสาทสมั ผัส และพฒั นาการเด็ก ดา้ นตา่ งๆ จะเปน็ พน้ื ฐานใหเ้ ดก็ พฒั นาดา้ นภาษาตอ่ ไป ซง่ึ เปน็ ปจั จยั สำ� คญั ต่อการพัฒนาทักษะสมอง EF พ่อแม่จึงควรให้ลูกได้ใช้ประสาทสัมผัส เพอื่ เรยี นรจู้ ากกจิ กรรมในชวี ติ ประจำ� วนั และจากการปฏสิ มั พนั ธก์ บั พอ่ แม่ โดยพอ่ แมม่ กี ารสื่อสารทีด่ ี สือ่ สารด้วยความเขา้ ใจกบั ลูก

30

✪ เด็กวยั 0-3 ปี เป็นวยั ทก่ี �ำลงั กอ่ รูปความรกั ความผกู พนั (Attachment) กับพ่อแม่ ผู้ดูแล ดังนั้น ส่ือเรียนรู้ที่ส�ำคัญคือตัวพ่อแม่ซึ่งมีความส�ำคัญ กว่าของเล่นหรือเครื่องมือกระตนุ้ พฒั นาการใดๆ ถา้ พ่อแมส่ ามารถสรา้ ง ความผกู พนั ใหเ้ กดิ กบั ลกู ได้ ไมว่ า่ จะสอนอะไร รวมทงั้ การฝกึ ทกั ษะสมอง EF กจ็ ะไดผ้ ลดี ✪ เลย้ี งลกู ดว้ ยการสรา้ งวนิ ยั เชงิ บวก ดแู ลใหค้ วามรกั ความเอาใจใส่ (Positive Discipline) จะทำ� ให้ลกู พัฒนาทักษะสมอง EF โดยหลกี เลย่ี งการลงโทษ ท้ังทางร่างกายและจิตใจ (Corporal Punishment) เพราะจะมีผล ให้ทักษะสมอง EF ของลูกอ่อนแอ ✪ พบว่าเด็กท่ีใช้สองภาษาอย่างเป็นธรรมชาติ เช่น พ่อพูดภาษาจีน แม่พูด ภาษาไทย ลูกจะมีทักษะสมอง EF ท่ีดี เพราะเด็กมีการใช้วงจรประสาท ดา้ นภาษามากกวา่ ปกติ แตท่ งั้ นเี้ ปน็ ทสี่ ภาพแวดลอ้ มทก่ี ระตนุ้ การพดู แบบ ธรรมชาติ ใชใ้ นชวี ิตประจำ� วนั ไมใ่ ชก่ ารนำ� เดก็ วัยเล็กไปเรง่ หรือฝกึ ภาษา ในห้องเรียน ✪ มีการคิดค้น Baby Sign Language หรือการใช้ภาษากาย ภาษามือ กับลูกที่ยังพูดไม่ได้เพ่ือช่วยให้พ่อแม่ตอบสนองลูกได้ดีขึ้น เน่ืองจาก เด็กเล็กยังไม่มที กั ษะทางดา้ นภาษาท่ีจะสามารถสื่อความตอ้ งการได้ เชน่ เวลาลกู หวิ เวลาอยากได้อะไร อยากไปไหน จะหาใคร เปน็ ตน้ หากพ่อแม่ เรียนรู้ ฝึกการใช้ Sign Language และใช้ภาษาท่าทางกับลูก กจ็ ะช่วยให้ พอ่ แมเ่ ขา้ ใจและตอบสนองความตอ้ งการของลกู ไดด้ ขี นึ้ ซง่ึ การตอบสนอง ทด่ี จี ะสรา้ งความสมั พนั ธเ์ ชงิ บวกกบั ลกู อนั เปน็ ปจั จยั สำ� คญั ในการพฒั นา ทักษะสมอง EF นอกจากนี้เม่ือลูกฝึกใช้ Sign Language ก็จะเป็นการ ปพู ื้นฐานทักษะสมอง EF เช่น Inhibit, Working Memory และ Shifting ไดด้ ้วย

31

2

ทักษะสมอง EF ดีได้ตง้ั แตใ่ นครรภ์

32

พัฒนาการสมองของทารกในครรภ์ ครรภข์ องแม่ เปรียบเสมือนโรงงาน การตั้งครรภ์ของแม่เปรียบเสมือนโรงงานผลิตฮาร์ดแวร์หรือเคร่ืองมือท่ีลูก สร้างสมองลกู จะใช้ในการรับรู้สิ่งแวดล้อมทั้งในช่วงที่อยู่ในครรภ์และจะใช้ต่อไปตลอดชีวิต แน่นอนว่าทักษะสมอง EF ของลูกในครรภ์อาจไม่ได้แสดงออกให้เห็น แต่ก็เป็น ช่วงเวลาส�ำคญั เพราะฮารด์ แวรห์ รอื สมองของลกู กำ� ลงั ก่อร่างสรา้ งตัว เพราะฉะนนั้ โรงงานนห้ี รอื ครรภข์ องแมจ่ ะตอ้ งมคี วามพรอ้ ม และให้ Input ท่ีดีท่ีเอ้ือต่อการเจริญงอกงามของสมอง ปราศจากปัจจัยลบมากระทบ กระบวนการสร้างสมองของลกู

กระบวนการพัฒนาสมองและระบบประสาท (Nervous System) ของลูกในครรภ์

“กรุงโรมไม่ได้สร้างในวันเดียวฉันใด สมองของเด็กก็ฉันน้ัน” การก่อร่างสร้าง สมองของทารกในครรภ์เป็นกระบวนการที่เกิดข้ึนอย่างต่อเน่ือง เริ่มจากการ ผสมกันของไข่กับสเปิร์มเป็นตัวอ่อน กลายเป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว พัฒนาจน มีลักษณะคล้ายมนุษย์ขนาดเล็ก กระท่ังพร้อมที่จะเกิดมา ภายใต้กระบวนการ มากมายที่มีความสลับซับซ้อน และขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น พันธุกรรม สภาพแวดลอ้ ม ฯลฯ

33

กระบวนการพัฒนาสมองของทารกในครรภ์

แบ่งเป็น 3 ระยะ แต่ละระยะมีการเปลี่ยนแปลงพัฒนาดังนี้

3 months ช่วงเวลา 3 เดอื นแรกของการตง้ั ครรภ์ (First Trimester)

ในชว่ งนเ้ี ปน็ ระยะเวลาของการสรา้ งโครงสรา้ งสมองหลกั ๆ เรมิ่ จากทอ่ ประสาท (Neuron Tube) อวัยวะท่ีเป็นพ้ืนฐานของระบบประสาท มีลักษณะเป็นท่อหรือ หลอดยาวๆ หลังจากนั้นส่วนหน้าจะเริ่มมีการขยายเป็นกระเปาะ เกิดข้ึนในช่วง ต้ังครรภ์ 3 สัปดาห์แรก แล้วพัฒนาเป็นสมองส่วนหน้า สมองส่วนกลางและ สมองส่วนหลังเม่ืออายุครรภ์ประมาณ 1 เดือน และจะมีการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง ไปจนกระท่ังคลอด ปจั จยั หลกั ทส่ี ง่ ผลตอ่ การสรา้ งสมองในชว่ งนคี้ อื พนั ธกุ รรม ปจั จยั รองเปน็ ปจั จยั ด้านสิ่งแวดล้อม เช่น การได้รับสารพิษ การได้รับรังสี การขาดโฟเลต (กรดโฟลิค) ซึ่งมีความส�ำคัญต่อการเติบโตของสมองและเซลล์ประสาทไขสันหลัง อาจรบกวน กระบวนการสร้างโครงสร้างของสมองให้ผดิ ปกตไิ ด้

3-6 months ชว่ งเวลา 3-6 เดอื นของการตง้ั ครรภ์ (Second Trimester)

สมองจะมีการพัฒนาขยายขนาดใหญ่ขึ้นและสร้างรอยหยัก หรือร่องสมองในต�ำแหน่งหลักๆ ก่อน เช่น รอยแยกระหว่างสมอง ส่วน Frontal กับ Temporal รอยหยักตรงกลางท่ีแยกสมองส่วน Frontal และ Parietal ในชว่ งนส้ี มองเนน้ การจดั รปู แบบการกระจาย ตัวของเซลล์ประสาท ซึ่งเดินทางไปอยู่ในต�ำแหน่งท่ีควรจะเป็น ทำ� ใหเ้ กดิ การจดั ชน้ั ของสมอง เกดิ รอยหยกั สมอง โรคทางพนั ธกุ รรม บางโรคท�ำให้การเดินทางของเซลล์ประสาทในระยะนี้ไม่เกิดขึ้น สมองไมเ่ รียงตวั เปน็ ชน้ั ไมม่ ีหยกั เกิดความผิดปกติของพฒั นาการ

34

ชว่ งเวลา 6-9 เดอื นของการตัง้ ครรภ์ (Third Trimester) 6-9 months

ช่วงสุดท้ายของการพัฒนาสมองของทารกในครรภ์ เน้นการ กระจายตวั ของเซลลป์ ระสาท เมอ่ื กระจายตวั ไปอยใู่ นตำ� แหนง่ ทค่ี วร จะเป็นแล้ว แต่ละเซลล์ก็เร่ิมส่งสัญญาณเชื่อมต่อกัน สมองจึงมี รอยหยักและขนาดเพ่ิมข้ึนอย่างมาก มีรูปแบบใกล้เคียงกับสมอง ทีส่ มบูรณแ์ ล้ว

ในกระบวนการสร้างสมองท้ัง 3 ระยะ การเช่ือมโยงของ วงจรประสาท (Synaptic Connection) เป็นกลไกหลัก ในการพัฒนาสมอง ท�ำหน้าที่เช่ือมต่อเซลล์ประสาทแต่ละเซลล์ เซลล์ประสาทจะปล่อยสารเคมี สื่อจากเซลล์ประสาทหนึ่งไปสู่ อกี เซลล์หน่ึง ท�ำให้สมองเกดิ การทำ� งาน แต่ที่ควรทราบคือ การพัฒนาของ Synapse ไม่ได้เกิดขึ้น พรอ้ มๆ กันในทกุ สว่ นของสมอง สมองสว่ นทม่ี ีการท�ำงานพ้ืนฐาน เชน่ การไดย้ นิ การเคลอ่ื นไหวจะเปน็ สว่ นทพี่ ฒั นากอ่ น ตามมาดว้ ย สมองส่วนภาษา และทักษะสมอง EF เป็นส่วนที่พัฒนาในช่วงหลัง แม้ว่าหลักการพัฒนาสมองเป็นเช่นน้ี แต่ไม่ได้หมายความว่าเราไม่ สามารถทำ� อะไรได้ เพยี งแตช่ ว่ งแรกสมองทำ� งานในเรอื่ งของการไดย้ นิ เสยี งซงึ่ จะนำ� ไปสเู่ รอื่ งภาษาและการพดู และกระบวนการคดิ จะคอ่ ยๆ เกิดตามมาภายหลัง

35

กระบวนการพัฒนาสมองขัน้ พื้นฐาน 5 กระบวนการ

1. Neurogenesis 4. Synaptogenesis

เปน็ กระบวนการสร้างเซลลป์ ระสาท เปน็ กระบวนการสรา้ งเครือขา่ ยเสน้ ใยประสาท ซึ่งเปน็ ขัน้ ตอนแรกในการพัฒนาสมอง เชอื่ มต่อ Synapse เรม่ิ ข้นึ ต้งั แตท่ ารกยังอยู่ในครรภ์ และเสร็จสมบรู ณก์ อ่ นทท่ี ารกจะคลอดออกมา สภาวะชว่ งต้งั ครรภ์รวมถงึ อณุ หภูมิ ความดนั และการเคล่อื นไหวของทารกในครรภ์ เชน่ การเตะ 2. Neural Migration มสี ่วนช่วยกระตุ้นใหเ้ กดิ กระบวนการน้ี Synaptogenesis เป็นกระบวนการทม่ี ตี ่อเน่อื งตลอดชวี ติ การโยกยา้ ยเซลล์ประสาท เปน็ กระบวนการ จดั ระเบียบสมองโดยการย้ายเซลลป์ ระสาท 5. Pruning ไปยังพน้ื ทีท่ รี่ ะบตุ ามหนา้ ทข่ี องเซลล์เหล่านี้ กระบวนการตัดแต่งกงิ่ สมอง เป็นกระบวนการ 3. Myelination จดั การกับการเช่อื มตอ่ เซลล์ประสาทท่ไี มจ่ �ำเป็น หรือทไ่ี มไ่ ดใ้ ช้งาน และเสรมิ สร้างความแข็งแรง เป็นกระบวนการเคลือบ Axon ของ ของส่วนท่ที �ำงานอย่เู สมอ การฝกึ เด็กให้ท�ำสิง่ ตา่ งๆ แตล่ ะเซลล์ประสาท โดยเน้อื เย่ือไขมนั ท่ีเรียกวา่ ซ้�ำๆ ท�ำให้สมองได้ใชว้ งจรประสาทน้ันบ่อยๆ ไมอลี ิน (Myelin) ซึง่ ช่วยใหก้ ารส่งสญั ญาณประสาท จนท�ำงานเปน็ อัตโนมตั ิ เชน่ การฝึกใหเ้ ดก็ รจู้ ักยบั ยงั้ ทำ� งานไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพมากขึ้น กระบวนการนี้ เดก็ ทไ่ี ดร้ บั การฝกึ บ่อยๆ เวลาเผชิญเหตุการณ์ จะเร่ิมข้ึนตง้ั แตอ่ ยใู่ นครรภ์ ถ้าแมต่ ้ังครรภอ์ ารมณด์ ี ที่ต้องหยดุ ต้องคดิ ต้องควบคุมตวั เอง จะท�ำไดด้ กี ว่า ได้รบั สารอาหารท่ดี ี จะท�ำให้ลกู เกิดมาพรอ้ มกับการ เดก็ ทไ่ี ม่เคยฝกึ มา ซึ่งวงจรประสาทส่วนของการ พัฒนาของไมอลี ินอย่างมาก ทำ� ให้เซลล์ประสาท หยุดคิดในเด็กทไ่ี มไ่ ดร้ ับการฝึก ไมไ่ ดใ้ ชง้ าน ส่งสญั ญาณไปได้เรว็ กระบวนการ Myelination ในทส่ี ุดก็จะค่อยๆ ฝ่อไป ของเซลลป์ ระสาทบริเวณก้านสมองและสมอง

Cerebellum ก็เร่ิมตง้ั แต่ในครรภ์เช่นกนั และจะเจรญิ เตบิ โตเต็มทตี่ อ่ เน่ืองไปยงั บรเิ วณ

สมองส่วน Frontal เมอื่ ถึงวัยรนุ่ ตอนปลาย

36

เซลล์ประสาท

เดนไดรท์ (Dendrite)

ไซเนปส์ (Synapses) เย่ือไขมัน (Myelin)

37

ศักยภาพของทารกในครรภ์

เราอาจคดิ วา่ ทารกในครรภย์ งั นอนนงิ่ ๆ ไมร่ บั รู้ ไมม่ คี วามสามารถใดๆ อนั ทจี่ รงิ สมองของทารกมีการพัฒนาไปเป็นขั้นตอนดังกล่าวข้างต้น ท�ำให้ทารกสามารถ ทำ� อะไรไดห้ ลายอย่าง ได้แก่

1. การกิน 2. การต่ืนและการนอนหลับ

ทารกสามารถกลืนน้�ำคร่�ำได้ อสางัแยเสกุเดทตยง่าจงั ถเไาปรึงกจ็นททังขาีพ่ หอ้รบถกวไกจะดเะกช้ถดาัดยี ริ้นเงจตวเนา่ื่ปนคท็กนือาาตรเรกวง้ั หแหลตลาล่อับับามขยแีชอคุล่วงระงทรทตภาด่ี ่ืนร์ ้ิน6กตใ-แงั้นแล7คตะรเส่รดภงือบ์ น ระถบ้าบกทลืนานงเ�้ำดคินร�่ำอไามห่ไดา้ รจมะทีป�ำัญใหห้ า เพียงแตว่ งจรของการตนื่ และการนอนหลับของทารก เพราะในน้�ำคร�่ำมีสารที่จ�ำเป็น ต่อการพัฒนา จะเกพิดอ่ขแ้นึ มไม่จึง่พใไนรม้อขม่ณคกวะับทรแลี่กมูกร่ แนะลตอะุ้นยนังลหไมูกลเ่ ใหับนมือคนรครนภท์ ัว่ ไป

ระบบทางเดินอาหาร

3. กาแรลขะยล�ัำบตแัวขนขา 4. การได้ยิน

คือ เ8ร-ม่ิ ต9งั้ แสตัปอ่ ดายาุคหร์รภม์ กี2ารเขดยือันบน้ิว ทารกได้ยินเสียงและสามารถตอบสนอง แต่เปก็นจรกึงะารทรสู้ ขงั่ ึกอยไาับดยน้ถคุ ึงอ้ รกยรๆาภร์ จ4ดน-ิ้นแ5มขไ่อเมดงท่ ลือันกู นได้ร้สู ึก ตอ่ เสียงท่ีได้ยิน อาจจะขยบั แขนขา

หวั ใจเตน้ เรว็ ขึน้ พบวา่ เม่อื เด็กเกิดมาแลว้

ไดย้ ินเสียงท่ีคุ้นเคยตัง้ แตอ่ ย่ใู นครรภ์ เดก็ จะสงบง่ายขึ้น โดยเฉพาะ

เสียงของมารดา ไมจ่ ำ� เปน็ ต้องเปน็ เสยี ง

เพลงคลาสสคิ เสยี งของแมแ่ ละพอ่ ท่พี ูดกับลูกโดยตรง ลกู สามารถรับรไู้ ด้

38

5. การมองเห็น 6. การสัมผัส

แม้ว่าสว่ นใหญ่แลว้ ทารกในครรภ์ ทารกสามารถตอบสนอง จะหลับตา แต่สามารถรับรู้และตอบสนอง ต่อการสัมผัสได้ เม่ือลูกดน้ิ

ตอ่ แสงไฟทส่ี ่องมาทที่ ้องแม่ได้ แลว้ เราสมั ผัสทีท่ ้องแม่ ทารกจะขยบั เคลื่อนไหว เชน่ เตะตอบโต้ มีการทดลองโดยเอาไฟสอ่ งทอ้ งแม่ แล้วพบวา่ ทารกมกี ารตอบสนอง เชน่

ชีพจรเตน้ เร็วข้นึ หรือเคลอ่ื นไหว

คทวาบรกคใุนมคตรัวรใภเอนอ์ งาก7ใยนุ.า7บกราเงดตาลือักรอนษคบณเรวสะม่ิ บแถนส้าคดทองุมางถรตตงึกคเั่วอหว็นเสาอแม่ิงสงสเงรสาเีม้าหาลอืรงถสใ่อนงกผา่ารน

ตอบทาสรนเกขอจ้าะงไตปคอ่ใอ่ นยสมๆงิ่ดเหลรันกูา้ มจแะาลมสะะอสดงาุ้งมหแามลรา้วถยหตคันอวไบาปมสทนวาา่องทงออา่ืนรยกใา่ นมงีกขแาณตระคกทวตี่หบา่างกคตสุมอ่ ่อสตงง่ิแัวเสรเา้งอทสงฟีแ่ี ในตา้ กกตารา่ งได้

เรอ่ื งเสยี งกเ็ ชน่ กนั แมว้ า่ เดก็ ยงั ไมร่ วู้ า่ เสยี งทไี่ ดย้ นิ คอื เสยี งอะไร เสยี งเพลงโมสารท์ หรอื เสยี งเพลงในดสิ โกเ้ ทค

แตท่ ารกมกี ารตอบสนองเสยี งทแี่ ตกตา่ งนใ้ี นลกั ษณะทต่ี า่ งกนั คอื จะตงั้ ใจฟงั หรอื สะดงุ้ เชน่ เดยี วกบั ผใู้ หญ่ หากเขา้ ไปในดสิ โกเ้ ทค

ลดทกเ่ีอสายยีรา่ งตงดไรนอกตบด็รสีดี ทนงั าๆอรกหงใตวั นใ่อจคยสรรงั ิ่งเภเตอร์ น้ า้าแยทรตุ งซ่ี ง้ัจำ้�แนๆตร่กสู้8นักึ ไเเหดดน้ เอื อื่ปนยน็ ขกทน้ึ าาไรรปคกทใวปน่ี บคกครตริุมสภาตก์ มเ็ัวชาเน่รอถกงนั ได้

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง