Google scholar ม ว ตถ ประสงค การใช งานอย างไร

International Buffalo Information Center, Office of the University Library, Kasetsart University has studied the functions of Google Scholar by applying the Google Scholar Citation to Buffalo Bulletin in order to increase the efficiency in tracking cited articles and to expand the channel for access to the developing articles. The study compared the results with commercial databases with the aim of evaluating journal quality and providing guideline to improve Thai journal quality, as it was presently found that there were few Thai journals publishing in international database as well as there were limitations on tracking cited articles and their usage. The study found that Google Scholar Citation can be used to create a profile of the journal, display of cited articles, detail of article and h-index, resulted in higher level of convenience and real-time articles and cited articles tracking. It can be linked to expand the search result to Buffalo Bulletin from Google Scholar. This can be helpful for those Thai articles that were not indexed in international databases to track the citations and expand their channel to be found and cited in international level.

การใช้ GOOGLE SCHOLAR สำหรบั งานวิจยั และวชิ าการ เอกสารประกอบการอบรม โครงการขบั เคลือ่ นมหาวิทยาลยั ราชภฏั หมบู่ ้านจอมบึงส่รู ะดบั World Class University ด้วย Google Scholar Citations

คยุ กนั ก่อน นัน้ สาคญั ไฉน ? ใช้งาน Google Scholar อย่างไร อาจารย์ของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง สามารถใช้อเี มลของมหาวทิ ยาลัยให้เป็น ส่วนหน่งึ ของ Google Education โดยทอ่ี าจารย์สามารถใช้โปรแกรมตา่ ง ๆ ของ Google และจัดเก็บ ไฟลต์ า่ ง ๆบนระบบคลาวด์ของ Google ไดแ้ บบไม่จำกดั เน้ือที่ เช่น [email protected] ทาไมต้อง Google Scholar จำนวนบทความทางวิชาการ และจำนวนบทความวิจัยที่ถูกอ้างอิงปรากฏในนามของ มหาวิทยาลัยโดยรวม เป็นตัวชี้วัดที่สำคัญสำหรับการจัดอันดับคุณภาพของมหาวิทยาลัย Webometrics ใช้ จำนวนบทความทางวิชาการ และจำนวนบทความทางวิชาการที่ถูกอ้างอิงในนาม ของมหาวทิ ยาลัยบน Google Scholar เปน็ ตวั ชว้ี ดั ทางดา้ น Openness ศนู ยส์ รา้ งสรรคน์ วตั กรรมการเรยี นรอู้ จั ฉรยิ ะ มหาวิทยาลยั ราชภฏั หมบู่ า้ นจอมบึง 2

ข่าวประกาศผลการจัดอันดับเว็บไซต์โดย Top Universities by Google Scholar Citations 2 0 1 8 ก า ร จ ั ด อ ั น ด ั บ โ ด ย Top Universities by Google Scholar Citations (www.webometrics.info/en/node/169) รายงานดังน้ี จากภาพข้างบน มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ที่ 1 ของประเทศไทย และอันดับที่ 839 ของโลก (จำนวนการอ้างอิงบทความวิชาการทั้งหมดของมหาวิทยาลัยที่วัดได้โดย Google Scholar เท่ากับ 60,030) ในขณะที่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยไดอ้ ันดับที่ 2 ของประเทศ และได้อันดับที่ 919 ของโลก (จำนวนการอา้ งอิงบทความวิชาการท้ังหมดท่ีวดั ได้โดย Google Scholar เทา่ กับ 40,461) ศนู ยส์ ร้างสรรคน์ วตั กรรมการเรยี นร้อู จั ฉริยะ มหาวิทยาลยั ราชภัฏหมูบ่ า้ นจอมบึง 3

จานวน Citations ของ MCRU? ถ้าหากดูจากตัวเลข ดิฉันเชื่อว่าการก้าวเข้าสู่ 2,000 อันดับแรกในเกณฑ์การเผยแพร่ (Openness) ของมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงอาจจะไม่ไกลเกินฝัน เนื่องจากเรามีอาจารย์ จำนวนมากที่มีผลงานวิชาการที่ได้รับการอ้างอิงในบทความวิชาการระดับนานาชาติอย่างแพร่หลาย ซึ่งบางท่านอาจจะมีมากกว่า 100 อ้างอิง การประชาสัมพันธ์อาจารย์ทกุ ท่านที่มีผลงานวิชาการสร้าง โปรไฟล์ของตนเองใน Google Scholar ผ่านโดเมนของ Google Education จึงเป็นหนึ่งในปัจจัย สำคัญที่จะผลักดันมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงขึ้นสู่อันดับของ Webometrics หากพวกเรา ทุกคนรว่ มแรงกัน ตัวอย่างจำนวนการอ้างอิงใน Google Scholar ของอาจารย์มหาวิทยาลยั ราชภฏั หมูบ่ า้ นจอมบงึ ศูนยส์ รา้ งสรรค์นวตั กรรมการเรยี นรอู้ ัจฉริยะ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหม่บู า้ นจอมบึง 4

แนะนา อ้างอิงเนื้อหาของบทความจาก Webometrics เรื่อง มหาวิทยาลัย 2,000 อันดับแรกของ โลกที่ถูกอ้างอิงบทความวิชาการของ Google (TOP 2000 UNIVERSITIES BY GOOGLE SCHOLAR CITATIONS) ในเดือน ธันวาคม พ.ศ.2561 จะเห็นได้ว่าจำนวนการอ้างอิงบทความวิชาการของ Google หรือที่เรียกว่า Google Scholar Citations คือ หนึ่งในเกณฑ์ถูกนำมาใช้เป็นตัวชี้วัดในการ จัดอันดับคุณภาพของมหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ของ Webometrics ในด้านของการเผยแพร่ (Openness) ที่วัดปริมาณการเก็บขอ้ มูลด้านการวิจยั ที่เผยแพร่ จำนวนบทความวิชาการ จำนวนการ อา้ งองิ บทความทางวชิ าการของอาจารย์ท่ีสามารถสืบคน้ ได้ด้วย Google Scholar 1. Google Scholar คืออะไร ปัญหาประการหนึ่งที่นักวิจัยมือใหม่ รวมไปถึงนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาตั้งแต่อดีตจนถึง ปัจจบุ ันประสบอย่กู ค็ ือ การค้นหาแหล่งขอ้ มลู เพื่อประกอบการผลิตผลงานทางวิชาการ เช่น บทความ วิชาการ บทความวิจัย ตลอดจนฐานข้อมูลการวิจัย เพราะแหล่งทรัพยากรสารสนเทศที่ว่ามานั้นถูก จัดเก็บอยู่อยา่ งกระจดั กระจาย ไม่สามารถสบื คน้ รวมจากแหล่งเดียว (Noruzi, 2005) นอกจากนี้ยงั มี ปัญหาสำคัญคือ การสืบค้นขอ้ มูลการวิจัยจากฐานข้อมูลสำเร็จรูปโดยเฉพาะงานวจิ ัยจากต่างประเทศ นั้น มีค่าใช้จ่ายที่ค่อนข้างสูง ในกรณีที่เป็นฐานข้อมูลสำเร็จรูปที่สถาบันการศึกษา เช่น มหาวิทยาลัย หรือหน่วยงานด้านการศึกษาอื่น ๆ เป็นผู้บอกรับ ภาระค่าใช้จ่ายก็จะตกเป็นของมหาวิทยาลัยหรือ หน่วยงานต้นสังกัด และผู้ที่สามารถใช้งานฐานข้อมูลเหล่านั้นได้จำเป็นต้องเป็นบุคลากรภายในหรือ นักศึกษาเท่านั้น ส่วนการเขา้ ถึงเพือ่ การสืบค้นผู้ใช้ก็จำเปน็ ต้องเขา้ ถึงฐานข้อมลู ผ่านกลุ่มหมายเลขไอ พี (IP address) ของต้นสังกัด หรือใช้งานผ่าน VPN (Virtual Private Network) ซึ่งนับว่าไม่สะดวก ต่อการใชง้ านเป็นอยา่ งยิ่ง เพราะบอ่ ยคร้ังทน่ี ักวิจัยหรือนักศึกษาต้องทำวจิ ยั ในเวลากลางคืน หรือต้อง ทำวิจยั นอกสถานทีแ่ ละนอกเวลาทำการของมหาวทิ ยาลยั Google Scholar เป็นอีกเครื่องมือหนึ่งในการค้นหาสารสนเทศทางวิชาการได้อย่าง กว้างขวาง โดย Google Scholar สามารถจำกัดผลการค้นหาในสาขาวิชาและแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ได้ มากมายจากจุดเดียว ซึ่งสารสนเทศดังกล่าวนี้ได้แก่ บทความ วิทยานิพนธ์หนังสือ บทคัดย่อ และ บทความจากวารสารวิชาการ แวดวงวิชาชีพ คลังสารสนเทศที่เก็บบทความฉบับร่าง มหาวิทยาลัย ศูนยส์ รา้ งสรรค์นวตั กรรมการเรยี นรอู้ จั ฉริยะ มหาวิทยาลยั ราชภฏั หมู่บา้ นจอมบงึ 5

รวมไปถึงองค์กรด้านการศึกษาอื่น ๆ (กิตติพันธุ์ คงสวัสดิ์เกียรติ, 2555) จึงกล่าวได้ว่า Google Scholar สามารถช่วยให้นักวิจัย นักเรียนนักศึกษา สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการค้นคว้าแหล่ง สารสนเทศไดม้ ากท่ีสดุ อกี เครื่องมือหน่งึ ในโลกของการวิจยั และการทำผลงานวชิ าการ นอกจากประเด็นด้านการเข้าถึง (access) แล้ว การติดตามผลการอ้างอิงผลงาน (citation) หรือบทความต่าง ๆ ทไี่ ดร้ บั การตพี ิมพห์ รอื เผยแพร่ นับเป็นเรือ่ งท่มี ีความสำคัญต่อนักวจิ ยั หรือผู้แต่งที่ เป็นเจ้าของผลงานนั้น ๆ Google Scholar เป็นหนึ่งในเครื่องมือที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการ สืบค้นและการติดตามการอ้างอิงผลงานโดยเฉพาะผลงานทางวิชาการที่สืบค้นได้ผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต โดย Google Scholar มีฟังก์ชันการทำงานสำหรับการนับจำนวนการอ้างอิงบทความ เช่น My citation หรือ Google Scholar citation ซึ่งประกอบด้วยฟังก์ชั่นย่อย ได้แก่การแสดง ขอ้ มลู ของบทความวชิ าการ การสง่ ออก (export) ขอ้ มลู ในรปู แบบตา่ ง ๆ เพือ่ นำไปใชก้ ับเคร่ืองมือใน การจัดการบรรณานุกรม ซึ่งรูปแบบในการส่งออกข้อมูลที่ Google Scholar สนับสนุน ได้แก่ BibTex, EndNote, RefMan และ CSV เป็นต้น กล่าวได้ว่าสำหรับผู้ที่อยู่ในวงวิชาการแล้ว Google Scholar ถือเป็นอีกบริการของ Google ที่สามารถใช้ใน การสืบค้นงานเขียนและส่ิงพิมพ์ทางวิชาการ รวมไปถึงเปน็ แหล่งดาวน์โหลดบทความวิชาการ บทคัดย่อวิทยานิพนธ์ ตลอดจนรายงานการวิจัย แต่ทั้งน้ี Google Scholar ยังมี ข้อจำกัดที่ผู้ใช้ควรตระหนักอยู่ นั่นคือ กลไกหลักของ Google Scholar จะมุ่งเน้นที่การสืบค้นข้อมูลวิจัยจาก สถาบันการศึกษาเท่านั้น หากงานวิจัย บทความวิจัย หรือ บทความวิชาการไม่ได้ถูกเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของสถาบันการศึกษา Google Scholar ก็จะไม่ได้ จัดเก็บและรวบรวมเอาไว้ ซึ่งทำให้มีงานวิจัยอีกจำนวนมากไม่ได้ถูกนำมารวมในผลการสืบค้นของ Google Scholar ซึ่งรวมไปถึงฐานข้อมูลสำเร็จรูปเชิงพาณิชย์ที่ Google Scholar จะทำหน้าที่ช้ี แหล่งเช่ือมโยง (link) เพียงอย่างเดียว ไม่มีการจัดเก็บแฟ้มเอกสารเต็มรูป (full-text) ให้ผู้ใช้สามารถ ดาวน์โหลดได้เหมือนข้อมูลการวิจัยหรือบทความวิชาการที่มีการอนุญาตให้เผยแพร่ได้ในแบบเปิด (open access) (Russell, 2017) ศูนยส์ ร้างสรรค์นวตั กรรมการเรยี นรอู้ ัจฉริยะ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏหมู่บา้ นจอมบงึ 6

จากทกี่ ล่าวมาแล้วข้างตน้ สามารถสรุปเปน็ ประเดน็ ไดด้ ังนี้ 1. ส่วนบริการเสริมของ Google ที่รวบรวมบทความทางวิชาการ และจำนวนบทความทาง วชิ าการที่ถกู อ้างองิ ของนกั วชิ าการ ซึง่ สามารถถูกสบื คน้ ไดโ้ ดย Google 2. นักวิชาการสามารถใช้อีเมลของตนเองในการยืนยันสถานะนักวิชาการ ความเป็นเจ้าของ บทความ และจำนวนบทความที่ถกู อ้างอิงของตนเอง 3. การใช้อีเมลของมหาวิทยาลัย จะทำให้จำนวนบทความทางวิชาการ และจำนวนบทความ ทางวชิ าการที่ถกู อา้ งองิ ปรากฏในนามของมหาวิทยาลัยโดยรวม 2. คณุ ลกั ษณะของ Google Scholar Google Scholar เป็นการรวบรวมเอกสารทางวิชาการต่าง ๆ ไว้ในที่จุด ๆ เดียว ทำให้ง่าย ต่อการสืบค้น และผู้สืบค้นจะได้รับข้อมูลต่าง ๆ ที่ครบถ้วนสมบูรณ์นอกจากน้ี Google Scholar ยังคงจัดอันดับ Impact Factor หรือ งานวิจัยที่ได้รับการยอมรบั เอาไว้ด้วย ทำให้ผู้วิจัยเองกไ็ ด้ทราบ ว่างานวิจัยของตนเองนั้น ได้รับการยอมรับในสังคมหรือแวดวงวิชาการมากน้อยขนาดไหน แต่ระบบ ของ Google Scholar ก็ยังมีข้อบกพร่อง คือไม่สามารถสืบค้นไปยังเว็บไซต์อื่น ๆ นอกจาก สถาบันการศึกษาได้ เช่น หากมีการบรรจุบทความวิชาการหรือบทความวิจัยในรูปแบบของ E- Journal ในเว็บไซต์อ่ืน ๆ ทเี่ ป็นเวบ็ ไซต์เฉพาะเจาะจงของวารสารทางวิชาการนั้น แต่ไม่ได้บรรจุไว้ใน เว็บไซต์ของมหาวทิ ยาลัย ซึ่งจำเป็นทีจ่ ะตอ้ งลงท้ายดว้ ย .edu (หากเป็นสถาบันการศึกษาในประเทศ สหรัฐอเมริกา) หรือ .ac.th (หากเป็นสถาบันการศึกษาที่อยู่ในประเทศไทย) ก็จะไม่สามารถสืบหา บทความเหลา่ นั้นใน Google Scholar ได้ (กติ ติพนั ธ์ คงสวสั ดเิ์ กียรติ, 2555) คุณลักษณะของ Google Scholar แบ่งออกตามฟังก์ชันที่ผู้ใช้สามารถใช้งานได้ซึ่ง จำแนกออกเปน็ 4ดา้ น ประกอบด้วย 1. สามารถค้นหาสารสนเทศทางด้าน ก า ร ว ิ จ ั ย แ ล ะ ว ิ ช า ก า ร ไ ด ้ จ า ก แ ห ล ่ ง ข ้ อ ม ู ล ท่ี หลากหลายผ่านจดุ สืบคน้ เพียงจดุ เดยี ว ศูนยส์ รา้ งสรรค์นวตั กรรมการเรยี นรอู้ ัจฉริยะ มหาวิทยาลยั ราชภฏั หมบู่ า้ นจอมบงึ 7

2. สามารถสืบค้นและดาวน์โหลดบทความ บทคัดย่อและการอ้างอิงของผลงานทางวิชาการ จากทั่วโลก 3. สามารถใช้แหล่งเชื่อมโยง (link) ค้นหาตำแหน่งของบทความฉบับสมบูรณ์จากฐานข้อมูล หอ้ งสมุดสถาบันอุดมศกึ ษาหรอื บนเว็บไซต์มหาวิทยาลยั 4. สามารถใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการศึกษาวิจัยในหลากหลายสาขาวิชา ทั้งวิทยาศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และสงั คมศาสตร์ ส่วนการจัดอันดับบทความของ Google Scholar นั้น มีการจัดอันดับตามเกณฑ์ต่อไปนี้คือ เนื้อหาของชื่อเรื่องและบทความ ผู้แต่ง สิ่งพิมพ์หรือวารสารที่บทความนั้น ๆ ถูกตีพิมพ์ความถี่หรือ จำนวนของการถูกอ้างถึง (cited) ในบทความวิชาการอื่น โดยผลลัพธ์ที่ถูกประมวลออกมาแล้วว่ามี ความเกี่ยวขอ้ ง (relevance) มากทสี่ ุดจะปรากฏในหนา้ แรกของผลการสืบคน้ เสมอ 3. ลงทะเบยี นใช้งาน เร่ิมต้นใช้งาน Google Scholar 1. เข้าไปยัง //scholar.google.co.th/ แล้วกด Enter หลังจากนั้น กรอกข้อมูล account Gmail หรือ account หนว่ ยงานของทา่ นท่ใี ชร้ ่วมกบั Gmail หากไม่มี account ควรสมัคร Gmail ให้เรียบร้อย หลังจากนั้นให้ทำการ login เข้าไปใช้งานดังภาพที่ 1 และลงชื่อเข้าใช้งานด้วย บัญชรี ายชอื่ ของ Gmail ดงั ภาพที่ 2 Log in เข้าสู่ระบบดว้ ย Account ทีท่ ่านใชง้ านอยู่ ภาพท่ี 1 แสดงตำแหน่งการ Log in เข้าสู่ระบบ Google Scholar ศนู ยส์ ร้างสรรค์นวตั กรรมการเรยี นรู้อัจฉรยิ ะ มหาวิทยาลยั ราชภัฏหมู่บา้ นจอมบงึ 8

ภาพที่ 2 การล็อกอินเข้าสรู่ ะบบดว้ ยบัญชีรายช่ือของ Gmail หรอื Google account 2. เลือกที่ “โปรไฟล์ของฉัน” เพื่อเขา้ สูห่ นา้ จอการปรบั แต่งโปรไฟล์ ดังภาพท่ี 3 ภาพที่ 3 เมนูการจดั การโปรไฟลข์ องผูใ้ ช้ ศูนยส์ ร้างสรรค์นวตั กรรมการเรยี นรูอ้ จั ฉริยะ มหาวิทยาลยั ราชภฏั หมู่บ้านจอมบงึ 9

3.xxทำการป้อนข้อมูลตามที่ Google Scholar ต้องการให้ยืนยัน จากนั้นคลิกที่ถัดไป (ผู้ใช้ ควรป้อนขอ้ มูลเป็นภาษาอังกฤษ) ดงั แสดงตวั อย่างตามภาพที่ 4 • กรอกชอื่ -สกุล (Name: Firstname and Lastname) • องค์กรท่ีสงั กดั (Affiliation: Your school or university) • หัวข้อที่สนใจ Areas of interest: เช่น Public Health, Marketing, Finance, Computer Security, etc. (ปอ้ นไดไ้ ม่เกิน 5 ประเภท) • อเี มลสำหรบั การยืนยัน (Email for verification: your school or university email) • หนา้ แรก หรือ Homepage: (ถ้ามี โดยเฉพาะเว็บไซตข์ องสถาบันการศึกษา ซึ่งใช้เกบ็ ผลงาน ของเจ้าของโปรไฟล์เนื่องจาก Google Scholar จะทำการค้นหาข้อมูลของงานวิจัยหรืองาน วิชาการจากเวบ็ ไซต์ทอ่ี า้ งอิงน้)ี จากนัน้ กดปุม่ บันทกึ (Save) ซง่ึ ตรงน้ี Google scholar จะส่งอเี มลเ์ พอื่ ใหเ้ รา Verify ผา่ นอีเมล์ ท่กี รอกอีกครง้ั หนึ่ง ภาพท่ี 4 แสดงตวั อย่างการป้อนข้อมลู ในโปรไฟล์ ศนู ยส์ ร้างสรรคน์ วตั กรรมการเรยี นรูอ้ จั ฉรยิ ะ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏหมูบ่ ้านจอมบงึ 10

4.xxหากเจ้าของโปรไฟล์ไม่มีบทความหรืองานวิจัยที่เก็บไว้ในคลังสารสนเทศ มหาวิทยาลัย หรือเว็บไซต์ต้นสังกัดของตนมาก่อน Google Scholar จะแจ้งผลการสืบค้นว่า ไม่พบบทความหรือ งานวจิ ัยดงั แสดงตวั อยา่ งในภาพที่ 5 ภาพท่ี 5 หน้าจอแสดงผลกรณีทีผ่ ้ใู ชไ้ ม่มบี ทความหรอื งานวจิ ัยถกู เผยแพร่ในเว็บไซต์ของต้นสังกัด 5. แต่ถ้าเจ้าของโปรไฟล์ มีบทความหรืองานวิจัยที่เผยแพร่ในเว็บไซต์ของต้นสังกัด Google Scholar จะจัดแสดงรายการ (item list) เพื่อให้ผู้ใช้ตรวจสอบรายละเอียดของแต่ละรายการ ตรวจสอบการถกู อา้ งถึง (cited) รวมไปถงึ การต้ังค่าแจ้งเตือนต่าง ๆ จาก Google Scholar ดังภาพที่ 6 ภาพที่ 6 หนา้ จอแสดงผลบทความวิชาการและงานวิจยั ในกรณีทต่ี รวจสอบจาก My Profile ศนู ยส์ ร้างสรรค์นวตั กรรมการเรยี นรู้อจั ฉรยิ ะ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหมบู่ า้ นจอมบงึ 11

อาจกล่าวได้ว่า จุดนี้คือ ข้อควรสังเกตสำหรับผู้ใช้งานทั่วไปที่ประสงค์จะเผยแพร่ผลงานของ ตนผ่าน Google Scholar ทั้งนี้เนื่องมาจาก การใช้งาน My Citation ในหน้าจอแสดงผลการสืบค้น ของ Google Scholar นั้น จะปรากฏหน้าที่แสดงผลงานการวิจัยหรือผลงานว่าการต่าง ๆ ที่ผู้ใช้เคย ตีพิมพ์เผยแพร่ผ่านระบบอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ไม่ว่าจะเป็นบทความวิชาการ บทความวิจัย ตลอดจน วิทยานิพนธ์และดุษฎีนิพนธ์ต่าง ๆ ซึ่งข้อมูลของทรัพยากรสารสนเทศดังกล่าว จะต้องถูกบันทึกใน ระบบของมหาวิทยาลัยเท่านั้น เพราะกลไกการสืบค้นและจัดเก็บข้อมูลของ Google Scholar จะ ค้นหาจากเฉพาะในเว็บไซต์ที่ถูกกำหนดและลงทะเบียนยืนยันตัวตนผ่าน Google Scholar เท่าน้ัน ดังนั้น สถาบันการศึกษาต่าง ๆ จึงควรให้ความสำคัญแก่ Google Scholar โดยอาจเริ่มต้นจากการ สร้างคลังสารสนเทศของมหาวิทยาลัย (Institutional Repository) เพื่อจัดเก็บผลงานวิชาการและ งานวิจัย รวมถึงศึกษาวิธีการเชื่อมต่อข้อมูลจากมหาวิทยาลัยกับ Google Scholar ทั้งนี้เพราะ แนวโน้มปัจจุบันของวงการการศึกษานั้น Google Scholar จะเป็นแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือและได้รับ การยอมรบั อยา่ งเปน็ วงกว้างในวงการวชิ าการ 4. การเพ่ิมบทความลงในโปรไฟล์ ในกรณีที่ท่านต้องการเพิ่มบทความวิชาการ บทความวิจัย ตลอดจนวิทยานิพนธ์และดุษฎี นิพนธต์ า่ ง ๆ สามารถทำไดด้ งั น้ี 1. คลกิ ทเี่ ครื่องหมาย + ตามลกู ศรชีต้ ามภาพที่ 7 จากน้ันคลิกเลือกรายการท่ีต้องการ ใน กรณ๊น้ีต้องการ “เพ่มิ บทความ” ภาพที่ 7 แสดงการเพิ่มบทความลงใน My Profile ศูนยส์ ร้างสรรคน์ วตั กรรมการเรยี นร้อู ัจฉรยิ ะ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏหมบู่ ้านจอมบงึ 12

2. ปรากฏแบบฟอรม์ ให้กรอกข้อมลู จากน้นั ให้กรอกขอ้ มลู และกดบันทึก กจ็ ะเพ่ิมบทความลง ในโปรไฟล์ของคุณได้ทนั ที h index คืออะไร ในขณะทเ่ี ราใชค้ ่า Impact Factor ประเมนิ คณุ ภาพงานวิจัย เรากใ็ ช้คา่ h index ใน การประเมินคณุ ภาพนกั วจิ ยั หรือกลมุ่ นกั วจิ ยั หรอื หนว่ ยงานของนักวิจัยด้วยเชน่ กัน h index คดิ คน้ โดย Prof. Jorge Hirsch นกั ฟิสกิ สจ์ ากมหาวิทยาลยั แคลฟิ อรเ์ นยี ซานดิเอโก ในความหมาย คือ ตัวเลขทีแ่ สดงจาํ นวนผลงานวจิ ยั ของนกั วิจัยทีม่ ีจาํ นวนครงั้ การอ้างอิง เทา่ กบั หรือมากกวา่ จาํ นวนผลงานน้นั ๆ ตัวอยา่ งเช่น นกั วจิ ยั A มผี ลงาน 5 เร่ือง มีจำนวนการอ้างองิ 10, 8, 5, 4 และ 3 ตามลำดับ มี h index = 4 นกั วจิ ยั B มจี ำนวนการอ้างอิงในผลงาน 5 เรอ่ื ง 25,8, 5, 3 และ 3 จะมี h index = 3 เราสามารถสบื ค้นคา่ h index ไดจ้ ากฐานข้อมลู ISI Web of Science, ฐานข้อมลู Scopus และฐานข้อมลู Google Scholar ศูนยส์ ร้างสรรค์นวตั กรรมการเรยี นรู้อจั ฉรยิ ะ มหาวิทยาลยั ราชภัฏหม่บู ้านจอมบึง 13

จัดทำโดย คณะกรรมกำรศนู ย์สร้ำงสรรคน์ วัตกรรมกำรเรียนรอู้ จั ฉริยะ มหำวิทยำวลยั รำชภัฏหมบู่ ำ้ นจอมบึง 1) ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นฤมล ชูเมอื ง ตาแหน่ง ประธานกรรมการ 2) อาจารย์ วา่ ท่ีรอ้ ยโทศภุ กฤษ สุขเจรญิ ตาแหน่ง กรรมการ 3) อาจารย์ ดร.สันติ ตาแหน่ง กรรมการ รกั ษาวงศ์ ตาแหน่ง กรรมการ ตาแหน่ง กรรมการ 4) อาจารย์ ว่าทร่ี อ้ ยโท ดร.กฤษดา กฤตเมธกุล ตาแหนง่ กรรมการ 5) นางสาวรชั นี ตาแหนง่ กรรมการ นาเลศิ ตาแหน่ง กรรมการ ตาแหนง่ กรรมการ 6) นายชาญวทิ ย์ ดวงบุผา ตาแหน่ง กรรมการ ตาแหน่ง กรรมการ 7) นายปัญญา ธรี ะเสถยี ร ตาแหน่ง กรรมการ ตาแหน่ง กรรมการและเลขานุการ 8) นายสมพร ชศู รี ตาแหนง่ ผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร 9) นายเอกรวี ครฑุ างคะ 10) นางสาวกชพร สขุ แสวง 11) นางสาวสพุ รรณี แสงเทศ 12) นางสาวสมชั ญา ตนั วราโชติ 13) นางสาวร่งุ ไพลนิ สกุ รวี นัด 14) นางสาวกานต์สริ ี ปานสวัสดิ์

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง