Loose connective tissue ม ความส าค ญอย างไรในผน งของล าไส

กาย วิภาค ศาสตร

นางสาววรญั ญา รอดสดุ 6417701001063

คำนำ

E-bookเ ล  ม นี้ เ ป  น ส  ว น ห นึ่ ง ข อ ง วิ ช า ก า ย วิ ภ า ค ศ า ส ต ร (Anatomy) โ ด ย มี จุ ด ป ร ะส ง ค  เ พ่ือ ใ ห  ผู จั ด ทำ ไ ด  อ ธิบ า ย โครงสรางของเซลลระดับโม เลกุล เซลลของสิ่งมีชีวิต ภาพรวมของกระบวนการแบงเซลล เนื้อเยื่อและอวัยวะของ ระบบตางๆในรางกายมนุษยรวมทั้ง ผิวหนัง กระดูกและขอ กลามเนื้อ ประสาท การไหลเวียนโลหิต การหายใจ การยอย อาหาร การขับถาย ตอมไรทอ การทำงานของฮอรโมน การ สืบพันธุ การปฏิสนธิ การเจริญเติบโตในภาวะปกติของ รางกายได ตลอดจนการนำไปประยุกตใชในวิชาชีพพยาบาล ในภายภาคหนา

สุดทายนี้ตองขอขอบคุณอาจารย ท่ีกรุณาตรวจและให คำแนะนำเพื่อแกไขตลอดการทำงาน ผูจัดทำหวังวา E-book เลมนี้จะใหความรูและเปนประโยชนแกผูอานทุกๆทาน หากมี ขอแนะนำหรือขอผิดพลาดประการใด ผูจัดทำขอนอมรับไว และขออภัยมา ณ ทน่ี ดี้ ว ย

วรญั ญา รอดสดุ ผูจดั ทำ

สารบญั หนา

เรือ่ ง 1-21 22-45 CELL AND SKIN 46-60 FEMALE REPRODUCTIVE SYSTEM 61-96 ENDOCRINE SYSTEM 97-112 MUSCULAR SYSTEM 113-140 SKELETAL SYSTEM 141-159 DIGESTIVE SYSTEM URINARY AND MALE 160-169 REPRODUCTIVE SYSTEM 170-187 RESPIRATORY SYSTEM 188-210 CARDIOVASCULAR SYSTEM NERVOUS SYSTEM

1

2

โครงสรา งของเซลล

เซลล (Cell)

คือ หนวยเล็กท่ีสุดของส่ิงมีชีวิต โดยเซลลสามารถเพิ่มจำนวนการ เจริญเติบโตและตอบสนองตอส่ิงเราได เซลลบางชนิดเคล่ือนที่ไดดวย ตัวเอง เชน เซลลอสุจิ เปนตน เซลลมีอยูหลายชนิดซึ่งมีรูปรางและ ลกั ษณะท่ีแตกตา งกนั ไปตามตำแหนง ทอี่ ยขู องเซลล เซลลสามารถบงบอก ถึงคุณสมบัติและแสดงความเปนสิ่งมีชีวิตไดอยางชัดเจนสมบูรณ และ เซลลยังชวยในการสรางและซอมแซม ผิวหนัง กลามเน้ือ กระดูก อวัยวะ ตา งๆ ของรางกาย

เซลลม สี ว นประกอบของทสี่ ำคญั อยู 3 สวน คอื เย่อื หุม เซลล (Cell Membrane/Plasma membrane)

ไซโตพลาสซมึ (Cytoplasm) นวิ เคลยี ส ( nucleus )

3

โครงสรา งและหนา ทขี่ องเซลล

เยื่อหมุ เซลล (Cell Membrane/plasma membrane)

เปนเสมอื นรว้ั บา นกนั เซลลออกจากกัน ประกอบดวยสารโปรตีนรอ ยละ 70 คดั เลอื กสารท่จี ะผา นเขา-ออกจากเซลล จึงมีคณุ สมบตั เิ ปนเยอ่ื เลือกผา น (Semipermeable membrane) และรักษาสมดลุ ของสภาพแวดลอมภายใน เซลล

ไซโทพลาสซมึ (Cytoplasm)

• ไซโตซอล (cytosol) มลี ักษณะเปนของเหลวคลา ยวุน ประกอบดว ย สารอนิ ทรียแ ละสารอนินทรยี ร วมถึงสาร แขวนลอยตา งๆและเปนแหลงของปฏกิ ิรยิ าเคมี • ออรแ กเนลล( organelle) เปนองคประกอบของเซลลท ม่ี โี ครงสรา ง (Structure) และหนา ที่ (Function) ท่ีแนน อน แขวนลอยอยใู นไซโตซอล

ไมโทคอนเดรยี (mitocondria) 4

มีรูปรางหลายแบบ ขึ้นกับชนิดของเซลล มีเย่ือหุม 2 ช้ัน ช้ันนอก เรียบ ช้ันในจะพับทบไปมาแลวยื่นเขาไปดานใน เปนแหลงผลิต พลังงานสูงใหแกเซลลในรูปของ adenosine triphosphate (ATP) โดยเปล่ียนพลังงานในอาหารใหเปนพลังงานในรูป ATP ท่ีเซลล สามารถนำไปใชได

รางแหเอนโดพลาสซมึ (Endoplasmic Reticulum, ER)

Rough Endoplasmic Reticulum, RER มีไรโบโซม (Ribosome) เกาะทผี่ วิ

ดานนอกทำใหมผี วิ ขรุขระ มีสวนท่ี เชื่อมตอกบั เยอ่ื หุมนวิ เคลยี สและ ลำเลียงโปรตีนท่สี รา งจากไรโบโซม เพอ่ื สง ออกไปใชนอกเซลล

Smooth Endoplasmic Reticulum, SER ไมมไี รโบโซมเกาะ มีผวิ เรียบ สรา งไขมนั ฮอรโมน steroid และ

กำจดั สารพิษในเซลลตับ

Golgi complex หรอื Golgi body หรือ Golgi apparatus 5

เปนออรแกเนลลทีต่ ิดตอ กบั ER มีลักษณะเปนถุงแบนที่มเี ยอื่ 2 ชั้น ทำหนา ท่ีเติมองคป ระกอบที่เปน คารโบไฮเดรตและไขมนั ใหก ับ โปรตีนท่รี บั มาจาก RERเพ่อื สงออก มาภายนอกเซลล

ไรโบโซม (ribosome)

เปนออรแ กเนลลทมี่ ขี นาดเล็กที่สุด • (Free Ribosome) เปน โครงสรา งเดย่ี ว เปน อิสระกระจายทว่ั เซลล ไมท ำหนา ทสี่ รางโปรตีน • (FreePolyribosome) กลุม ไรโบโซม เกาะติดกบั สาร mRNA ทำหนาท่สี รา งโปรตีนเพอ่ื ใชเ ปน เอนไซมใ นเซลล • (Poly Ribosome)จับกนั เปนสายโพลีไรโบโซมเกาะตดิ กบั ผนงั ดาน นอกของ RER ทำหนาทีส่ ังเคราะหโ ปรตีนเพ่ือสง ออกภายนอกเซลล

6

ไลโซโซม (Lysosome)

เปนถุงขนาดเลก็ มเี ยือ่ ชัน้ เดียว ภายในจะบรรจเุ อนไซมซ ง่ึ ยอ ยสลาย ดว ยนาํ้ (Hydrolytic Enzyme) ยอยออรแ กเนลลข องเซลลท ห่ี มดอายแุ ละ ทำลายเชอ้ื โรคหรือส่ิงแปลกปลอมที่เขา สรู า งกาย

เซนทรโิ อล Centriole

ประกอบดว ยหลอดเล็ก ๆ เรียกวา microtubuleเรยี งตวั กนั เปน กลุม ๆ ทำหนา ท่ีสรางเสน ใยสปนเดิล (Spindle Fiber) เพอ่ื ยดึ ตดิ กับโครโมโซม

นิวเคลยี ส (nucleus) 7

ควบคมุ การแสดงลกั ษณะทางพนั ธุกรรม การแบงตวั ของเซลลแ ละ ควบคุมการสรา งโปรตนี ประกอบดวย

• เยือ่ หุม นวิ เคลยี ส (Nuclear Membrane/Nuclear envelope) Membrane 2 ชั้น ซง่ึ เชอื่ มติดกนั เปน ชว งๆ ทำใหเกิดเปนหลุม (Nuclear Pore) ทำใหมีการแลกเปลย่ี นสารระหวางนวิ เคลียสกบั ไซโตพลาสซมึ เชน mRNA rRNA

• นิวคลีโอลัส (Nucleolus) เปนเสน ใยซง่ึ เปน โมเลกุลของ DNA ท่ีขดตวั เปนกอน ทำหนา ทีส่ ังเคราะห RNA โดย DNA

• เสนใยโครมาติน (Chromatin) คอื เสนใย DNA ท่ีจับอยูกับโปรตนี ซ่งึ ในระยะทเ่ี ซลลแบง ตวั DNA กบั โปรตนี จะรวมตวั กันแนน ปรากฏใหเ หน็ เปนแทง โครโมโซม (Chromosome)

8

การลาํ เลยี งสารเขา ออกของเซลล

การลำเลยี งสารแบบไมใ ชพ ลงั งาน (passive transport)

การแพร (diffusion) การแพรธรรมดา (Simple diffusion) การกระจายของอนภุ าคจากสาร

บริเวณทีม่ คี วามเขม ขน ของสารสูงไปสบู ริเวณท่ีมคี วามเขม ขน ของสารตาํ่ กวา การแพรแ บบมีตวั พา ( Faciliteated diffusion )การแพรข องสารผาน โปรตีนตวั พา(Carrier) มอี ัตราการแพรเ ร็วกวา การแพรแ บบธรรมดามาก

ออสโมซสิ (osmosis)

เปนการแพรข องเหลวหรอื การแพรข องนํา้ ผา นเย่อื เลือกผา นโดยน้าํ จะ แพรจากบริเวณทม่ี ีความหนาแนน ของนา้ํ มากไปยงั บริเวณทม่ี คี วาม หนาแนน ของนํ้านอ ยกวา

- เมอ่ื เซลลอ ยใู นสารละลายไฮโปทูนคิ (Hypotonic Solution) มี ความเขม ขน ต่าํ กวาภายในเซลล นํ้าจากสารละลายจะแพรเ ขา สเู ซลลท ำ ใหเ ซลลเ ตง บวมและแตกได

- เมื่อเซลลอ ยูใ นสารละลายไฮเปอรท ูนคิ (HypertonicSolution) มี ความเขม ขน สูงกวาภายในเซลล นา้ํ จะแพรออกจากเซลลท ำใหเ ซลล เหีย่ ว

- เซลลท อี่ ยใู นสารละลายไอโซทูนคิ (Isotonic Solution) คือ สารละลายท่ีมคี วามเขมขน เทากับภายในเซลล จะไมม กี ารแพรข องนา้ํ ปรมิ าตรของเซลลไ มเ ปล่ยี นแปลง

9

การลำเลยี งโดยใชพ ลงั งาน (Active Transportation)

สามารถนำสารจากบรเิ วณทม่ี คี วามเขมขนของสารตํ่าไปสู บริเวณท่ีมีความเขมขน ของสารสูงกวา ได โดยใชพ ลังงานจาก ATP

- การดูดกลบั สารทที่ อของหนว ยไต

- Na+ -K+ pump หรอื การขบั Na+ และการรบั K+ของใย ประสาท

10

Tissue structure and function โครงสรา งและหนาทข่ี องเนอ้ื เย่ือ

เปน โครงสรา งท่เี กิดจากเซลลช นิดเดียวกันมารวมกนั เพื่อทำหนาทีใ่ ดหนา ทหี่ นึ่ง ประเภทของเนอ้ื เยอื่ • เนื้อเยื่อบุผิว Epithelial tissues • เน้อื เย่ือเกีย่ วพัน Connective tissues • เน้ือเยื่อกลามเนอื้ Muscle tissues • เนอ้ื เย่อื ประสาท Nervous tissues

เนื้อเยอ่ื บผุ วิ Epithelial tissues แบง ตามลกั ษณะรปู รา งได 3 แบบ – Squamous epithelium รปู รา งแบน บาง – Cuboidal epithelium รูปรา งเหมอื นลกู บาศก – Columnar epithelium รปู รางสูง มีความสูงมากกวา ความกวา ง

แบงตามจำนวนชนั้ ของเซลล 11

– Simple epithelium เซลลเรยี งกนั เปนช้ันเดยี ว

– Pseudo stratified epithelium ประกอบดวยเซลลเ รยี งกนั เปนช้นั เดยี วบน

เยือ่ รองรับฐาน แตมเี พียงบางเซลลเ ทา นนั้ ท่สี งู ถงึ ผวิ หนา ดา นบน

– Stratified epithelium เซลลเ รยี งซอนกันหลายชนั้

ทำหนา ที่ ปอ งกนั (protection) เชน เนื้อเยอื่ บผุ ิวทีป่ กคลุมรา งกายไมใ ห เชอื้ โรคเขา สรู างกายและปอ งกันการระเหยของนาํ้ ออกสูรา งกาย การดดู ซมึ (absorbtion) เน้ือเยือ่ บทุ ผ่ี วิ ของลำไสเ ล็ก และดูดซึมอาหารเขาสูหลอด เลอื ด สรา งสารคดั หลั่ง(secretion) เชน ตอ มตา งๆทีท่ ำหนาที่สรา งฮอรโมน เพอ่ื ควบคมุ การทำงานของรา งกาย

เนือ้ เย่ือเก่ยี วพนั (Connective tissue)

เปนเนอื้ เยือ่ ที่พบแทรกอยูทว่ั ไปในรางกาย ทำหนา ที่ ยดึ เหน่ียวหรอื พยุง อวยั วะ ใหค งรปู อยูได ลักษณะของเนอื้ เยื่อชนดิ นี้ คอื ตวั เซลลแ ละเสนใย กระจายอยู ในสารระหวางเซลลที่เรยี กวา เมทริกซ (matrix) เนอ้ื เยือ่ เก่ียวพันแบง เปน 4 กลุม ไดแก

1. เนอ้ื เยอ่ื เกยี่ วพนั สมบรู ณ (connective tissue proper) 12

ลักษณะเมทริกซเปนเสน ใยกระจายอยแู ตกตา งกนั แบง เปน 2 ประเภท คือ

- เนือ้ เยือ่ เกี่ยวพนั ชนิดโปรงบาง (loose connective tissue) เปน เน้อื เย่อื มเี สนใยเรยี งตวั ไมเ ปน ระเบยี บ ชนิดท่ีพบมาก ไดแกคอลลาเจนและ อิลาสตกิ สำหรับเสนใยรางแหพบเล็กนอย

- เนือ้ เย่อื เกี่ยวพนั ชนดิ แนน ทึบ พบปริมาณเสน ใยมากอยูตดิ กนั แนน ทบึ ทำใหม ีชอ งวา ง ระหวางเซลลน อ ย

2. กระดกู ออ น (cartilage) พบอยตู ามสวนของโครงกระดกู โดยเฉพาะบรเิ วณท่ีกระดูกมกี าร

เสียดสกี นั ประกอบดว ย เมทรกิ ซ มลี ักษณะคลาย วนุ เซลลก ระดกู ออน เรียกวา คอนโดรไซต (chondrocyte) เรยี งตวั อยูในชองวา งท่เี รียกวา ลาคูนา (lacuna) กระดกู ออ นสามารถพบไดท ่ใี บหู ฝาปด กลอ งเสียง (epiglottis)กลองเสยี ง(trachea) กระดูกออนกัน้ ระหวา ง กระดกู สัน หลังแตละขอ (intervertebral disc)

3. กระดกู แขง็ (bone) 13

ประกอบดวยเซลลกระดูกท่ีเรียกวา ออสทีโอไซต (osteocyte) อยูใน ชองลาคูนา โดยเซลลกระดูก จัดเรียงตัวเปนวงรอบชอง ฮาเวอรเชียน (harversian canal) ท่ีมีเสนเลือดนำอาหารมาเลี้ยงเซลลกระดูกและเรียก การเรียงตัวของเซลลกระดูกน้ีวา ระบบฮารเวอรเชียน (harversian system) ชองฮารเวอรเชียนสามารถติดตอกับ ชองลาคูนาหรือระหวางชอง ลาคูนาดวยกันเองโดยผานชองเล็กๆ ท่ีเรียกวา คานาลิคูไล (canaliculi) สารระหวางเซ ลล กระ ดูก ประ กอบ ดว ยแค ลเซี ยมและฟ อสเ ฟตเ ป น องคป ระกอบสำคญั

4. เลอื ด (blood) ประกอบดว ย • นา้ํ เลอื ด (plasma) • เซลลเม็ดเลอื ด แบงเปน

- เซลลเ มด็ เลอื ดแดง (red blood cell or erythrocyte) มีรงควตั ถุ ฮโี มโกลบิน (hemoglobin) ซง่ึ เปน โปรตีนทีอ่ ยใู นเมด็ เลือดแดง และมี คุณสมบัติในการจับกับออกซิเจนเพ่ือนำไปเลย้ี งเนื้อเยื่อตา งๆ และ ลำเลียงคารบ อนไดออกไซดกลบั มาฟอกที่ปอด มปี รมิ าณมากกวา เซลล เมด็ เลือดขาวและเกรด็ เลอื ด

14

- เซลลเ มด็ เลือดขาว (white blood cell or leucocyte) ทำหนาที่ ทำลาย สง่ิ แปลกปลอมทเ่ี ขาสูรา งกาย

- เกลด็ เลอื ด (Platelets) ทำหนาท่ชี วยใหเลือดแขง็ ตวั โดยการปลอย สารทรอมโบพลาสตนิ ซงึ่ เปนเอนไซมช นิดหนงึ่ ออกมา ทรอมโบพลาสติน กระตุนโพรทรอมบนิ ใหก ลายเปน ทรอมบนิ ทรอมบนิ กระตนุ ไฟบรโิ นเจนให กลายเปนไฟบรนิ ซง่ึ จะรวมตวั สานกนั ในลักษณะตาขา ยเพอื่ ปดบาดแผลไว

เนอื้ เย่ือกลา มเนอ้ื (Muscular tissue) แบง เปน 3 ชนิด

1. กลามเนอื้ เรียบ (smoothmuscle) พบท่ีอวัยวะภายใน เชนท่ผี นงั ของ ทางเดนิ อาหารมดลูก เสน เลือด และอวัยวะภายในอน่ื ๆ รูปรา งของเซลลม ี ลักษณะยาว หัวทา ยแหลม แตละเซลลม ี1นวิ เคลยี สอยูต รงกลางเซลล และ การทำงานอยูนอกอำนาจจิตใจ

15

2. กลามเนื้อยึดลาย (skeleton muscle) เปนกลามเนื้อขนาดใหญอยูติดกับ กระดูก เชน กลา มเนื้อที่แขนขา จงึ ทำหนา ท่ีเก่ียวกบั การเคลื่อนไหวของรางกาย โดยตรง เซลลกลามเน้ือน้ีมีลักษณะเปนทรงกระบอกยาว การทำงานของ กลามเนอื้ นีอ้ ยภู ายใตอ ำนาจจิตใจ ควบคุมโดยระบบประสาท

3. กลา มเนอ้ื หวั ใจ (cardiac muscle) พบท่ผี นงั หวั ใจ เซลลมรี ูปรา งยาว ทรงกระบอก มนี ิวเคลยี สอันเดียวอยตู รงกลางทำงานอยนู อกอำนาจจิตใจ ควบคมุ การทำงานโดยประสาทอัตโนมตั ิ

เน้อื เยอ่ื ประสาท (Nervous tissue) ประกอบดว ย 16

1. เซลลประสาท (neuron) ทำหนา ทร่ี บั สงกระแสประสาท 2. เซลลเ กย่ี วพันประสาท (neuroglia) ประกอบดวย • ตวั เซลล ซ่ึงอยูในช้นั สีเทา (grey matter) ของระบบประสาท ไขสนั หลังและระบบประสาท สวนกลาง เซลลประสาทมลี กั ษณะ กลมขนาดใหญ มีนวิ เคลียสอยตู รงกลาง • แขนงประสาท แบง เปน

- เดนไดรต (dendrite) ทเี่ ปนแขนงประสาทขนาดสั้นทำหนาที่ รบั กระแสประสาท (impulse) เขา สตู วั เซลล

- แอกซอน (axon) เปนแขนงประสาทลกั ษณะยาวไมม ีแขนง แตกออกใกลกบั ตวั เซลลแ อกซอน ทำหนา ทน่ี ำกระแสประสาท ออกจากตัวเซลล

17

ระบบปกคลมุ รา งกาย

• ผิวหนัง (skin) ผิวหนังเปนหน่งึ ในอวยั วะทีม่ ขี นาดใหญทสี่ ดุ ของรางกาย โดยคิดเปน 16% ของนา้ํ หนักตวั เปน ตวั แบง ก้นั อวยั วะภายในออกจาก สง่ิ แวดลอ มภายนอก • อวยั วะที่มตี น กำเนดิ มาจากผวิ หนงั (เลบ็ ผม/ขนและรขู มุ ขน ตอมไขมนั ตอมเหงอื่ )

Epidermis (หนงั กำพรา )

เปน เยื่อบุผิวชนดิ stratified squamous keratinizedepithelium ชัน้ น้ี ไมมหี ลอดเลือด จึงไดร ับอาหารจากชั้นที่อยลู ึกกวา • Thick skin คอื ผวิ หนงั ที่มีชนั้ epidermis หนาพบบริเวณฝา มือ ฝาเทา ซึง่ จะไมม ขี น รูขมุ ขนแต จะมตี อ มเหงอื่ • Thin skin คือ ผวิ หนงั ทมี่ ชี น้ั epidermis บางพบไดท ัว่ รางกาย ซ่งึ ผิวหนังชนดิ นจี้ ะมรี ขู มุ ขนตอ ม ไขมัน ตอมเหงอ่ื

Epidermis ประกอบดว ยเซลล 4 ชนิด คอื 18

- Keratinocyte เปนเซลลทเี่ ปน องคป ระกอบหลกั ของ epidermis ประมาณ 85 % ทำหนา ทสี่ ราง keratin โดยขบวนการ keratinization จนไดเ ซลลช น้ั บนท่ตี ายแลว

- Melanocyte ทำหนา ท่ีสรางเมลานิน ซงึ่ เปนสารทที่ ำใหเกิดเมด็ สี

- Langerhans cell เก่ยี วของกับระบบภูมคิ มุ กันของรา งกาย

- Merkel cell เปน เซลลเกย่ี วกับการรบั ความรูส ึก

Dermis (หนังแท)

• เปน ชน้ั ท่ีอยูใตช ั้นหนงั กำพรา ประกอบไปดวยconnective tissue ระบบ เสนเลือด เสนประสาทตอมไขมนั และตอมเหงื่อ มสี วนของหนงั แทที่แทรก อยรู ะหวางหนงั กำพรา เรยี กวา Dermalpapillae • เปน ท่อี ยูข อง collagen ชวยใหความแขง็ แรงและซอมแซมผิวหนงั ทบี่ าดเจบ็ และ elastin สรา งความยืดหยุน ใหผ วิ หนัง

Hypodermis หรอื Subcutaneous fattytissues 19

• อยูใตช ้ันหนังแท ประกอบไปดว ย เนือ้ เยื่อเก่ียวพันท่อี ยูก ันอยา ง หลวมๆ (looseconnective tissues) และไขมัน(Adiposetissues) ทำหนาทสี่ ะสม ไขมนั อยูใตผ วิ หนงั และเก็บสะสมพลังงานความรอนในรางกาย

ผม/ขน 20

• Hair shaft ปกปด ไมใหส่ิงสกปรกเขาสูผวิ หนงั • Hair root รากขนเปน ทยี่ ดึ เกาะของขน • Hair follicle รขู มุ ขนเปน ที่อยูข องขน

ชว ยปกปองสวนชนั้ ในของขนบรเิ วณ สว นปลายลกึ สุดจะมี dermis ยื่นลกึ เวาเขามาทำใหเกดิ เปนกระเปาะขึ้น เรยี กวา dermal papilla ซึ่งเปนท่ีอยูของ hair matrix ทำหนา ทเี่ ปน ตวั สรางเสนขน (hair shaft) • Hair follicle receptor ทำหนา ทีร่ บั สมั ผัส ทำใหเกิดขนลกุ • Arrector pili muscle เปนกลา มเนอ้ื เรยี บ เมอ่ื หดตัวจะทำใหเ กดิ ขนลกุ

ตอ มไขมนั

พบอยรู วมกบั hair follicle ท่ัวรา งกาย มีหนา ที่เคลอื บผวิ หนงั และเสน ผม ทำใหม คี วามชมุ ชน้ื

ตอมเหงอ่ื 21

• ECCRINE SWEAT GLAND พบตามรางกาย มีหนา ท่หี ลั่งเหงื่อ เพ่อื ระบายความ รอนออกจากรา งกาย ซง่ึ เปน วิธีทม่ี ปี ระสิทธิภาพทสี่ ดุ ของรางกาย ในการรกั ษา สมดุลของความรอน

• APOCRINE GLANDS พบเฉพาะรกั แร( axillae) และอวยั วะสืบพนั ธุ (genitalia) สารทีผ่ ลิตจากตอ มนจ้ี ะมลี กั ษณะคลายนา้ํ นม และไมม กี ลิ่น ตอมาเชื้อ bacteria ที่อยูบริเวณผวิ หนงั จะมายอ ยทำใหเกดิ กลน่ิ ข้ึน

• Sweat pore รูขบั ถา ยของเสยี (เหงอื่ )

เล็บ

• Nail plate คอื แผน เล็บประกอบ ดวยเซลลท ่ตี ายแลว (Dead keratinizedplate) เล็บจะยาวและ งอกใหมต ลอดเวลา • Nail matrix เปน เซลลเยอ่ื บทุ ่อี ยู ใตชั้น lanula ทำหนา ท่ีเปน ตัวสราง แผนเลบ็ (nail plate) • Nail bed คอื เน้ือเย่อื ทีอ่ ยูใ ต nail plateและยึดตดิ แนนกับ nail plate

22

23

อวัยวะสบื พนั ธภุ ายนอก

mons pubis สว นของเนื้อเยือ่ ลักษณะนนู เกิดจาก fatty tissue

ตงั้ อยูบ รเิ วณหนา pubic symphysis อยเู หนอื ตอกระดกู เชงิ กราน

ภายในมี loose connective tissue กบั adipose tissue ปนกัน และ

มี pubic hair ข้นึ ปกคลมุ ในระยะ puberty จำนวนขนและสีของขน

ขน้ึ อยูกบั เช้ือชาติและลกั ษณะแตละบคุ คล (ขนมปี ระโยชนช วยลดการ

เสยี ดสขี ณะรวมเพศ)

labia majora เปนรอยคดโคง ของผวิ หนัง ลักษณะนูนแยกเปน กลีบ 2 กลบี ตอ จากหัวหนา ว คอ ยๆเรียวลงมาทางดา นลา งบรรจบกันเหนอื ฝเ ยบ็ ดา นลา งที่ เช่อื มกันสว นท่ีนนู ขน้ึ เลก็ นอย เรยี กวา Fourchette มsี ubcutaneous adipose connective tissue มขี น ตอมเหงอื่ และตอมไขมนั เทียบไดกบั สว น ทเ่ี จริญเปนถงุ อณั ฑะในเพศชาย ยาวประมาณ 7-8 เซนตเิ มตร ลกึ ประมาณ 2- 3 เซนติเมตร หนาประมาณ 1-1.5 เซนตเิ มตร ผวิ หนังดา นในของlabia majora จะไมม เี สน ขนปกคลมุ เปนตำแหนง ทมี่ ีตอ มตา งๆ ไดแก apocrine, eccrine และ sebaceous glands ใตช้นั ผิวหนังลงไปเปน สว นประกอบของเนื้อเย่ืออลิ า สติก ไขมนั และมเี สน เลอื ดมาหลอเล้ียงจำนวนมาก ในขณะต้งั ครรภอ าจเกดิ ภาวะเสน เลือดขอดท่ี labia majora ได ซึ่งจะเหน็ เปน เสนเลือดดำโปง ออกมา ชดั เจน หรือเปนกลุมเล็กๆ ก็ได ซง่ึ มักไมแ สดงอาการและหายไปเองหลังคลอด

24

labia minora ทำหนา ทป่ี กปอ งรเู ปด ของทอ ปสสาวะและชอ งคลอด ลักษณะเปน สนั นนู ตามยาวอยรู ะหวาง labia majora เปนกลีบแดงเล็ก และบางกวาแคมใหญ อยู 2 ขาง ขนาดและรูปรา งแตกตา งกัน ประกอบดวยตอมไขมนั หลอดเลอื ด ปลายประสาทรับความรูสึก จงึ มี ความไวตอ ส่ิงทมี่ ากระตนุ ไมม ีขน ไมม ีไขมนั สีคลํา้ า สวนบนเปนหนังหุม clitoris เรียกวา prepuce of clitoris และสว นในรวมกนั ยึดกบั ปลาย clitosis เรยี กวา frenulum of clitoris vestibulargland ภายใน labia minora ประกอบดว ยเนอื้ เย่อื เก่ยี วพนั และเน้ือเยอื่ อลิ าสติก มี กลามเนื้อเรียบอยูนอยมาก มีเสน ประสาทมาเลย้ี งมากและไวตอ การสัมผัส

clitoris เปนโครงสรางทคี่ ลา ยกับ glans penis ในผูช ายสามารถ แข็งตัวได มีขนาดไมเ กนิ 2 เซนตเิ มตร มเี สน ประสาทมาเลีย้ งมาก มี เน้ือเย่อื ลกั ษณะคลายฟองนาํ้ และมเี สนเลือดอยูจำนวนมาก ตำแหนงอยทู ่ี สวนบนสุดของvulva ใตแ ละตอ mons pubis

25

vestibule of vagina เปน แองอยรู ะหวา ง labia minora โดยมี ขอบเขตดานขางเร่ิมจาก hart line ขอบเขตดานในคอื เยือ่ พรหมจรรย ขอบเขตดา นหนา คอื clitoral frenulum และขอบเขต ดา นหลงั คือ fourchette ภายในมรี ูเปดของ 6 ส่งิ ไดแก ทอปสสาวะ ชองคลอด ตอ ม bartholine (greater vestibular gland) 2 ตอ ม และตอ Skene 2 ตอมโดยทีช่ อ งวา งระหวาง fourchetter กับรูเปด ของชอ งคลอด เรียกวา fossa navicularis (บริเวณระหวา ง hymen และ posterior fourchette) ของ greater vestibular gland epithelium

bartholine’s gland or greater vestibular gland อยูภายใตผ นัง vestibule ทั้งสองขาง ทีต่ ำแหนง 5 และ 7นากิ า มที อ มาเปดใน vestibule ใกล hymen สรา ง mucous secretion หลอ ล่ืน vestibule ในขณะรว มเพศ หากมกี ารตดิ เชอ้ื หรอื อดุ ตนั ตอ มนจ้ี ะมขี นาดโตขน้ึ จน สามารถคลํ้าพบไดจากภายนอกและทำใหมอี าการปวด ซงึ่ รกั ษาโดยการทำ marsupialization

hymen เยอ่ื พรหมจรรย เปน mucosal fold ที่บางๆ อยูขอบๆ vagina orifice ประกอบดวยชัน้ ของvascular connective tissue ท่คี ลุมดวย ดวย stratified aquamous epithelium ทง้ั สองดา น รเู ปดของเย่ือ พรหมจรรยในคนท่ไี มเ คยมเี พศสมั พนั ธมากอ นมขี นาดแตกตา งกันตัง้ แต ขนาดเทา รูเข็ม จนถึงประมาณ 1-2 fingertips

อวยั วะสบื พนั ธภุ ายใน 26

ชองคลอด (vagina)

ชอ งคลอดจะตอกบั ปากมดลูกและมดลกู ดานหนาคือทอ ปส สาวะและกระเพาะ ปส สาวะ ถกู แยกโดยเนอ้ื เย่ือเก่ยี วกนั ชอ่ื vesicouterine septum ดานหลัง ชองคลอดติดกบั ลำไสใ หญ ถูกแยกกนั โดยเน้อื เยื่อเกย่ี วพันชอ่ื rectovaginal septum โดย 1/4 ของชอ งคลอดดา นบนมที วี่ างค่ันระหวา งชอ งคลอดกับลำไส ใหญ เรยี กวา rectouterine pouch หรือ cul de sac หรือ pouch of Douglas

ความยาวชอ งคลอดมีความแตกตา งกนั ในแตล ะบุคคลและดานหลงั ยาวกวา ดานหนา โดยดานหนา ของชองคลอดยาวประมาณ 6-8 เซนติเมตร และ ดานหลงั ยาวประมาณ 7-10 เซนตเิ มตร โดยสว นบนของชอ งคลอดทีต่ อ กบั ปากมดลกู ถูกแบง ออกเปน 4 สวน เทียบกับปากมดลกู คือ anterior pornix,posterior pornix, lateral fornix ทง้ั 2 ขาง ซึง่ fornixes เหลาน้มี คี วามสำคญั ทางคลนิ กิ เพราะเปน ตำแหนง ทว่ี างน้ิวมอื ขณะทำการ ตรวจ bimanual palpation เพ่อื ตรวจขนาดและรูปรา งของมดลูกและตรวจ ความปกติและผดิ ปกติของปก มดลกู ทัง้ สองขาง และ posterior pornix ยงั เปนสวนทใ่ี ชในการเหนบ็ ยาทางชอ งคลอดอีกดว ย

สว นกลางของชอ งคลอดจะยึดเกี่ยวกับองุ เชงิ กรานดว ยกลา มเน้อื levator ani ปกติจะแฟบผนังดา นหนา-หลงั ชนกนั บริเวณชอ งเปดมี hymen อยู ใน vagina สวนลกึ สุดจะมปี ากมดลูก (cervix) อยู ซึ่ง cervix นับเปนสวน ลา งสุดของ uterus รเู ปดของ cervical canal ท่เี ขา สโู พรงมดลูกเรยี กวา internal os สวนดานทีอ่ ยตู ิดกับชอ งคลอดเรียก external os ซง่ึ cervix มีเยื่อบชุ นิด simple columnar epithelium และมี cilia เปนบางเซลล สวน cervix ทย่ี ่นื เขา ชอ งคลอดบดุ ว ย stratified aquamous nonkeratinized epithelium ในสตรที ยี่ งั ไมม ีเพศสมั พันธจ ะมี external os ทกี่ ลมและปด จะเปดเวลามรี อบเดอื น สว นสตรีทีผ่ านการคลอดบุตร external os จะมี ลกั ษณะเปน แฉก

27

เยอื่ บุของชอ งคลอดหญงิ วยั เจรญิ พนั ธเ ปนรอยพบั ไปมา เรียก rugae ซึ่งเม่อื ถึงวยั หมดประจำเดือนรอยพบั เหลา นจี้ ะนอ ยลงจนแทบไมม เี ลย ชอ ง คลอดไมมตี อ มสรางสารหลอลนื่ แตไ ดรับสารหลอลนื่ มาจาก vaginal epithelium โดยขณะตงั้ ครรภชอ งคลอดจะผลติ สารหลอ ลื่นเพม่ิ ขน้ึ จาก ฮอรโ มน estrogen

ชอ งคลอดสวนบนไดร บั เลือดมาจากเสน เลือด cervical branch ของ เสนเลือด uterine และเสน เลอื ด vaginal artery ชอ งคลอดดา นหลัง ไดร ับเลอื ดมาจากเสนเลือด middle rectal และชองคลอดสวนลา งไดร ับ เลอื ดมาจากเสน เลือด internal pudendal ซง่ึ ในระยะคลอด cervix จะ เปด ขยายออก เพ่ือใหท ารกผา นออกมา

นํ้าเหลอื งจาก 1/3 ของชอ งคลอดสว นลา ง และอวัยวะเพศภายนอกจะ ไหลกลับสูต อ มนา้ํ เหลอื ง inguinal lymph nodes ในขณะทส่ี ว นกลางของ ชองคลอดจะไหลกลบั สูต อมนาํ้ เหลอื ง internal iliac lymph nodes และ ชองคลอดสวนบนไหลกลบั สู external, internal and common iliac lymph nodes

28

มดลกู (uterus)

Uterus จะมีขนาดประมาณ 5 เซนตเิ มตร ยาว 7.5 เซนตเิ มตร หนา 1.75 เซนติเมตร อยใู นองุ เชิงกราน อยตู อ จาก rectum และหลงั urinary bladder แบง เปน 4 สวน

สว นยอดมดลกู (fundus) คอื สว นบนที่อยเู หนอื ทอ นำไข cornu หรือระดบั ทอ รังไขท งั้ 2 ขา ง เปนตำแหนงหลอดมดลูกตดิ กับโพรงมดลกู จะมลี ักษณะ นูนและอยูสวนบนสุดของมดลูก ถอื เปน สวนทกี่ วางทสี่ ดุ

สว นตวั มดลกู (corpus or body of uterus) คอื สวนทถ่ี ดั จากยอดมดลูกลง มา อยูต ่าํ กวาทอ นไขเ รียวลงไปมรี ูปรา งเปนทรงกระบอก คอยๆเรยี วเขา สูป าก มดลูก ในขณะตัง้ ครรภมดลูกจะขยายตัวมากเพอ่ื เปน ทอี่ ยูข องทารกในครรภ ชว ยปกปอ งทารกในครรภ ภายหลงั คลอดแลว ประมาณ 45 วัน มดลกู จะหด ตวั เล็กลงเกือบเทาเดมิ แตก ็ใหญก วา กอ นต้ังครรภเ ล็กนอ ย ภายหลังวยั หมด ประจำเดอื นแลว มดลกู จะเหี่ยวและเลก็ ลง

สวนคอมดลกู (isthmus) คอื สว นท่แี คบจะอยูระหวา งตวั มดลกู และปาก มดลกู สว นนีจ้ ะถกู ยืดขยายเปน มดลกู สวนลา ง ( lower uterine segment) ขณะทมี่ ีการคลอด

สว นของปากมดลกู ( cervix ) คอื สวนของมดลกู ท่ีตอ มาจากตวั มดลูก ลา งสุดท่ีอยตู ิดกับชอ งคลอด

29

ภายในมดลกู มโี พรงมดลูก ( uterine cavity) เปนชอ งวาง รูปสามเหล่ียม สวนชอ งใน cervix เปน รูปกระสวยเรียกวา cervical canal

ligament ท่ีทำหนาท่คี อยยดึ ตวั มดลกู ใหอ ยูภ ายในองุ เชิงกราน ไดแก - broad ligament เปนสวนของเย่อื บุชองทอ ง ( parietal peritoneum) 2 ชั้น คลุมมดลูกเอาไวด านขางจะแผออกเปน แผน กวา งยดึ ดา นขา งของมดลกู ท้ัง 2 ขา งใหตดิ กบั ผนังดานขาง ของ องุ เชงิ กราน - round ligament เปน กอนเนอ้ื เยือ่ เกี่ยวพนั อยูภายใน broad ligament จะเกาะที่ดา นขางของมดลูกบริเวณ

อวยั วะอน่ื มาชว ยยดึ มดลกู เอาไว

1. กลา มเนอ้ื levator ani เปน กลา มเน้ือที่ยึดจากกระดูก pubis, ischium และ ilium ไปเกาะที่กระดกู coccyx กลา มเน้อื น้ีทำ หนาท่ีเปนพ้ืนรองรบั อวยั วะภายในชองทองทุกชนิด ไมใ หร วงหลน ออกมาจากชองทอง กลา มเน้ือนย้ี ังใหเสน ใยบางสวนไปเกาะตดิ กับปากมดลกู ดงั น้นั จงึ ทำหนาทย่ี ดึ มดลูกใหอยูภายในองุ เชิงกราน และใหเ สน ใยไปเกาะติดกบั perineal body จึงทำให perineal body เปน อวยั วะอีกอนั หนงึ่ ทมี่ ผี ลชวยในการรองรบั มดลกู และ ชองคลอดไวดว ย

30

2. ligament ทที่ ำหนาที่ยดึ มดลกู ท่ีสำคัญมี 3 ligament คือ - transverse cervical ligament (Cardinal หรอื Mackenrodt's หรอื lateral cervical ligament) ตง้ั อยูใต broad ligament ยดึ จากปากมดลกู ไปตดิ กบั ดานขางขององุ เชิง กรานทั้ง 2 ดา น - pubocervical ligament ยึดจากปากมดลูกไปเกาะท่ีขอบของ กระดกู pubis - sacrocervical ligament (uterosacral ligament) ยดึ จาก ปากมดลกู และขอบบนของชองคลอดไปเกาะที่กระดกู sacrum

ถา หาก ligament หยอ นยาน หรอื กลามเนอื้ levator ani และ perineal body ฉกี ขาดก็จะทำใหม ดลูกเคลือ่ นตวั ลงมาอยใู นชอง คลอด หรือโผลอ อกมาทางรเู ปดของชองคลอดเรียกลกั ษณะเชนน้ี วา prolapse of uterus

โครงสรา งของผนงั มดลกู แบง ออกเปน 3 ช้นั ใหญ ๆ คือ 31

1. ชัน้ นอกสดุ เรยี กวา perimetrium หรอื serosa จะเปนเยอื่ บางๆ คลุม มดลูกอยู

2. ช้ันกลางเรียกวา myometrium ประกอบดว ยชัน้ ของกลา มเนอ้ื เรียบ ท่หี นาประมาณ 12-15 มลิ ลิเมตรซง่ึ มกี ารเรยี งตวั ทง้ั แบบตามยาว วงกลม และแบบเฉยี ง ในชวงตัง้ ครรภเ สนใยกลา มเนอ้ื สามารถท่จี ะ ขยายใหใหญข ึ้นและยืดยาวออกไดถงึ 10 เทา ตวั

3. ชัน้ ในสุดเรยี กวา endometrium ชัน้ นีจ้ ะมีเยอ่ื บผุ วิ ชนดิ simple columnar epithlium มีcilia ปะปนอยภู ายในมตี อมชนดิ simple coiled tubular gland ทเ่ี รียกวา uterine gland นอกจากนย้ี งั มเี นอื้ เยอ่ื เกยี่ วพัน อยูกันอยา งหลวม ๆ เรยี กวา stroma และหลอดเลอื ดทีม่ ีลักษณะขดไปมา เรยี กวา spiral (coiled) artery ผนังชั้นนี้แบง ออกเปน 2 ชั้นคอื

3.1 functional layer หรือ functionalis เปน ชน้ั ที่มกี ารเปลยี่ นแปลง ตลอดระยะเวลาของรอบประจำเดอื น และจะหลุดลอกออกไปขณะทม่ี ี ประจำเดอื น

3.2 basal layer หรอื basalis ชน้ั นจ้ี ะแบง เซลลใหเ นื้อเย่อื เจริญขึน้ ไป แทนทชี่ ้นั functionalis หลงั จากท่ีมกี ารหลุดลอกออกไปเปนเลือด ประจำเดอื นแลว

หนา ทขี่ องมดลกู

1. เปน แหลง สำรองอาหาร รอรบั การฝง ตวั ของตัวออ น 2. เปน ที่เจริญเตบิ โตของทารกจนครบกำหนดคลอด 3. เปน อวัยวะทดี่ นั ใหท ารกคลอดออกมาได

รังไข (ovary) 32

Ovary มี 2 ขา ง ทำหนา ทีส่ รางฮอรโ มนเพศหญิงและผลติ ไข (ovum) คลา ยเมลด็ อลั มอลด อยูใ นองุ เชิงกรานตอนบน ท้ัง 2 ขางของมดลูก อยู หลัง broad ligament ยดึ ติดกบั broad ligament โดย mesovarium ซ่ึงเปนทางผานของหลอดเลอื ดและเสน ประสาททีเ่ ลย้ี ง ovary (เรยี ก บริเวณนี้วา hilum) และยังยดึ ติดกบั ดา นขา งของมดลูก (ovarian ligament) และ ผนังอุง เชงิ กราน (suspensory ligament)โดยมีชนั้ นอก สดุ คือ germinal epithelium ชน้ั ถดั ไป คอื lunica albuginea

เนอ้ื ภายในรังไขม ี 2 ช้ัน คือ cortexและ medulla -ชัน้ cortex เปนบริเวณรอบๆ ใตช ้นั tunica albuginea ประกอบดวย ovarian follicles อยรู วมกนั ในconnective tissue cells และ fibers -ชน้ั medulla อยูบริเวณทีอ่ ยูตอนกลาง มี stroma ที่เปน elastic fibers และหลอดเลอื ด หลอดนาํ้ เหลอื ง และเสน ประสาท

ทำหนา ทสี่ รา งฮอรโ มนเพศหญงิ และผลติ ไข (ovum)

ทอ นำไข( uterine tube or fallopian tube) 33

ทอ นำไข มี 2 ขา ง อยขู อบบนของ broad ligament ยาว 10 เซนติเมตร ทำหนาทน่ี ำ ovum จาก ovary ไปยงั uterus มี ปลาย 2 ขา ง ขา งหนง่ึ รปู รางคลายกรวย โดยปลายดา นท่ีเปน ปากกรวยจะยื่นไปแตะกบั ovary ปลายอกี ดานจะตดิ ตอกับ uterus ทางดา นบน

fallopian tube แบง เปน 4 สว น ไดแ ก

  1. Infundibulum ลกั ษณะรูปกรวย ลกั ษณะคลา ยน้ิวมอื
  2. Ampulla จะกวา งที่สุด ผนังจะบาง sperm จะผสมกบั ovum บรเิ วณน้ี
  3. Isthmus ขนาดจะเลก็ ผนังหนา
  4. Intramural segment หรอื uterine segment อยใู นผนังมดลกู

การทำงานของ fallopian tube โดยแบง ผนงั เปน 3 ช้นั - ชัน้ ในเรยี ก mucosa ทำหนาท่ีให mucoid secretion เปน อาหารแก ovum - ช้นั กลางเรยี ก lamina propria ประกอบดวยเซลลจำนวนมาก และกลามเน้ือ เรียบการหดรัดตัวของกลามเนอื้ เรยี บจงึ ทำให ovum เคลอ่ื นตวั ลงสู uterus - ชน้ั นอกสดุ เรยี ก serosa

เตา นม 34

ตอ มนา้ํ นม (mammary glands)

mammary glands ทำหนาทข่ี บั นา้ํ นมเล้ยี งทารก มีขนาดโตขน้ึ เมอื่ เขา สูวยั puberty เพราะ connective tissueและ fat เพมิ่ มากขึ้น แตย ังไมส ามารถ สรางน้าํ นมจนกวา จะตั้งครรภ ตำแหนง อยูใ นเตา นมทัง้ 2 เตา วางบนพังผดื ชั้น ลึกที่คลมุ กลามเน้อื pectoralis major และ minor อยรู ะหวางกระดกู ซโี่ ครงท่ี 2 ถึง 6 และจากขอบของกระดูก sternum ถงึ ขอบของรักแร

สว นประกอบ ของตอมนา้ํ นม ไดแก compound aveolar glands 15-20 lobes แตละ lobes มี lactiferousduct นา้ํ นมมาเปดท่ี nipple กอนทีจ่ ะเปด ออกจะขยายตวั เปน ampulae เรยี ก lactiferous duct เน้อื ของตอ ม (glandular tissue) ประกอบดวย parenchyma และ stromamammary glands ในระยะไมต งั้ ครรภจ ะพบภาวะ resting or inactive พบ duct เปน จำนวนมาก alveoli มีขนาดเล็ก ในระยะปลาย menstrual cycle พบมเี ลอื ด เขามาหลอ เลย้ี งมาก ทำใหเ ตา นมมขี นาดโตข้นึ

ระยะตง้ั ครรภ มaี lveoli เพ่มิ ข้นึ glandular tissue มากขึ้นและขยายใหญขึ้น ระยะปลายของการตง้ั ครรภพ บ secretion เรยี ก colostrumประกอบดวย โปรตีน และ lactose ไมม ไี ขมนั ปนอยู และยังมี antibodies ท่ีชว ยตานทาน โรค ระยะใหนมบตุ ร mammary

ขนาดไมแ นนอนขนึ้ อยกู บั ปรมิ าณไขมนั แตจำนวน นา้ํ นมไมต างกนั ตรงกลางของ เตานมจะมหี วั นม(nipple) รอบๆ จะมี areola มีสีคลาํ้ เพราะมี pigment มาก และ ผวิ ขรุขระเลก็ นอย

ฝเ ยบ็ และกน (perineum) 35

perineum คลา ยกับรูปเพชร หรือสามเหล่ยี ม 2 อัน ทเ่ี อาฐานประกบกัน ท่ตี ำแหนงของเสน เชอื่ มตอ ระหวา ง ischial tuberosities ทงั้ สองขา งหรอื บริเวณ perineal body โดยขอบเขตของฝเ ยบ็ กค็ ือขอบเขตของ pelvic outlet นัน่ เอง ประกอบดวย pubic symphysis ทางดานหนา ischiopubic rami and ischial tuberosities ทางดา น anterolateral, sacrotuberous ligaments ทางดาน posterolateral และ coccyx ทาง ดานหลัง ซึง่ สามเหลย่ี มดานหนาเรยี กวา urogenital triangle และ สามเหล่ียมดา นหลังเรยี กวา anal triangle

perineal body เปนกลา มเน้อื มดั เลก็ ๆ ทอี่ ยตู รงกลาง เปน สวนทีจ่ ะตองถูก ตัดในขณะทำการตดั ฝเย็บเพื่อชว ยคลอด และฉีกขาดใน second, third และ fourth degree lacerations

Superficial space of the anterior triangle บริเวณดา นหนา ของของ perineum ถกู แบงออกเปน สว นตนื่ และสว นลึกโดย กลา มเนือ้ ท่ีอยใู น urogenital triangle ไดแ ก ischiocarvernosus อยูดา นขางของ สามเหลยี่ ม ดานลางยดึ เกาะกับ ischial tuberosity ดานหนา ตอ เนื่องไป กับ clitoris มีสวนชวยในการแข็งตวั ของ clitoris กลา มเน้อื bulbocarvernosus ซง่ึ เกาะจาก body ของ clitoris ไปยัง perineal body ทำหนา ทใ่ี นการหดรัดตัวของชอ งลอดและชวยใหส ารหลอ ล่นื ขับ ออกมาจากตอม bartholin ได และมีสว นชวยในการแข็งตวั ของ clitoris เชนกัน กลามเนือ้ มดั สุดทายคอื กลามเนื้อ superficial transverse perineal muscle ซ่งึ เปนกลามเน้อื มดั เล็กๆ ทเี่ กาะจาก ischial tuberositiesดานขา งมายัง perineal body ทอี่ ยตู รงกลาง กลา มเนอื้ นี้เปน สวนหนึง่ ของ perineal body ดวย ในบางคนกลามเนอื้ มดั นอี้ าจจะเลก็ มา หรอื ไมม เี ลยก็ได

36

Deep space of the anterior triangle อยเู หนอื ตอ perineal membrane ตอเน่ืองไปกับองุ เชิงกราน มีอวัยวะท่ีสำคญั ประกอบดวยทอ ปส สาวะ ชอ งคลอด เสนเลือด internal pudendal และเสนเลือดแขนง กลามเนอื้ compressor urethrae และ urethrovaginal sphincter muscles

Pelvic diaphragm อยลู ึกไปจาก perineum ท้ังดานหนา และดานหลงั โดยใน ชน้ั น้ปี ระกอบไปดวยกลามเนือ้ ที่ทำหนาที่สรางความแขง็ แรงใหกับอวยั วะภายใน อุง เชิงกราน ไดแ ก กลามเนื้อ levator ani และ coccygeus muscles กลา มเนือ้ levator ani เปนกลามเนือ้ มดั ใหญท่ีประกอบไปดว ยกลา มเนอ้ื มดั ยอ ยๆ 3 มัด ดวยกัน คือ pubococcygeus puborectalis และ iliococcygeus ซงึ่ กลามเน้อื pubococcygeus ยงั ประกอบไปดว ยกลา มเนอื้ มัดยอ ยๆ อีก 3 มนั คอื pubovaginalis puboperitonealis และ puboanalis ในกระบวนการคลอดทางชองคลอดมีโอกาสเกิดความเสยี หายตอ กลามเน้ือ levator ani สูงมาก โดยกลามเนอ้ื มดั ท่ีไดรบั ความเสยี หายบอย ทสี่ ดุ คือ กลา มเนอ้ื pubococcygeus

Posterior triangle หรอื anal triangle ประกอบไปดวย ischioanal fossa หรอื ischiorectal fossa, analcanal และ anal sphincter complex โดย ที่ ischioanal fossa คือบรเิ วณท่เี ตม็ ไปดว ยไขมันอยูดา นหลงั และเชอ่ื มตอ กนั ท้งั ซายและขวาทางดานหลงั ตอ ทวารหนกั ดังนัน้ หากมกี ารตดิ เชือ้ หรือ เลือดออกใน ischioanal fossa ขางใดขางหนึ่งกส็ ามารถลกุ ลามไปอีกขา งได

Pudendal nerve เปนเสนประสาทสำคัญของ perineum ออกมาจาก เสนประสาทไขสนั หลังสวน sacrum

กระดกู เชงิ กราน (pelvic bone) 37

อุงเชิงกราน ประกอบไปดวยกระดกู 4 ชน้ั ไดแก sacrum, coccyx และ innominate bone 2 ชิ้น และทุกช้นิ ประกอบไปดวยกระดกู ilium, ischium และ pubis โดยกระดูก innominate เชอ่ื มตอกบั กระดูก sacrum โดย sacroiliacsynchondrosis และเชือ่ มตอกนั เองโดย symphysis pubis

อุงเชิงกรานประกอบดวย false pelvis และ true pelvis ซ่ึงแบง กันท่ี lamina ternimalis โดย fale pelvis จะอยเู หนือตอ เสน น้ี และ true pelvis จะอยูใตตอเสน นี้ True pelvis คลา ยกับ รปู ถวยน้าํ ทด่ี า นหลงั สูง กวาดา นหนา มีขอบเขตดา นบนคอื lamina terminalis และขอบเขตดานลา ง คอื ทางเปด ของอุงเชิงกราน (pelvic outlet) ซึง่ สวนของ true pelvis เอง ไดแ บงออกเปน pelvis inlet,mid pelvis และ pelvic outlet

38 การแบง เซลลแ บบ MITOSIS (MITOTIC DIVISION)

39

การแบง เซลลแ บบไมโอซสิ (MEIOTIC DIVISION)

-การแบง เซลลข อง primitive germ cell ซงึ่ เปนเซลลตงั้ ตนของการ สรา ง germ cell ในเพศหญงิ คือ primary oocyte ในเพศชายคือ primary spermatocyte เพ่อื ใหไดเ ซลลสำหรับใชใ นการสืบพันธุ การแบงเซลลแบงเปน 2 ระยะ meiosis I และ meiosis II

-เมอื่ ส้ินสุดระยะ Meiosis I จะมี daughter cell แตมีโครโมโซม เหลือเพียง 23 แทง แตล ะแทง มีปรมิ าณ DNA เปน 2 เทา ของเซลล ปกติ (มี 2 โครมาตดิ )

-เมือ่ ส้ินสดุ ระยะ Meiosis II จะได 4 daughter cell ขนาดเทากนั โดย 2 เซลล มโี ครโมโซมเปน 22+Y และอีก 2 เซลลเ ปน 22+X ทั้ง 4 เซลลเ จรญิ ไปเปน spermatid เพ่อื จะเปลีย่ นเปน mature gamete คือspermatozoa ทัง้ หมด

40

การกำเนดิ ไข

1. ตอมใตส มองจะใหฮ อรโมนกระตนุ ไข (Follicular stimulating hormone) รังไขกจ็ ะสรา งไขใหส ุกเปนเวลา 12-14 วัน พรอมทง้ั ใหฮ อรโมน เอสโตรเจน (estrogen) ซงึ่ จะบงั คับใหเยื่อบุมดลกู เจรญิ เตบิ โต

2. เม่อื ถึงเวลาไขตกคอื ไขห ลดุ ออกจากถึงไขหรือเปลอื กไข (Corpus luteum) ระยะนไ้ี ขพ รอ มทจ่ี ะผสม และเดนิ ทางผานเขา ปากทอสงไข

3. ตอ มใตสมองจะใหฮอรโมน ลูเตียนไนซงิ่ (Luteinizing Hormone) ทำใหถ ุงไขเ จรญิ เตบิ โต (corpus luteum) และให ฮอรโมนโปรเจสเตอโรน ซ่ึงจะบังคับเยอ่ื บมุ ดลกู เปลยี่ น คอื สราง ความชมุ ช้นื เพอ่ื รองรับไขท ผ่ี สมแลว มาเกาะ

41

4. ถามไี ขม าเกาะถงุ ไขจะเจริญตอ ไปใหฮ อรโมนโปรเจสเตอโรนมากข้ึน เพอ่ื เลี้ยงไขใหเ จรญิ เติบโตในมดลกู

5. ถา ไมมไี ขมาเกาะถุงไขจ ะฝอไปเอง เยื่อบุมดลูกจะลอกตัวเปน ระดู (Menstruation)

6. ตอมใตส มองจะกำกับรังไขใ หเริ่มวงเวยี นวงตอๆ ไปจนอายุ 45-50 ป ประจำเดอื นจะหมด กห็ มดวัยเจรญิ พันธเุ ปนวัย Menopause

การปฏสิ นธิ 42

เปนกระบวนการรวมตวั กันระหวา งเซลลสืบพนั ธุเ พศชาย ( sperm ) เขา ไป ผสมในเซลลสบื พนั ธเุ พศหญงิ หรือไข (ovum ) โดย ovum ทำใหน วิ เคลยี ส ของท้งั สองรวมกันเปน เซลลเ ดยี ว (Single cell) เรียกวา ไซโกต (Zygote ) มี ขบวนการ ดงั นี้

1. การปฏิสนธิเร่มิ จากการมกี ารหล่งั Sperm ในชอ งคลอด ประมาณ 120 – 500 ลา นตัว มีการเคล่ือนท่ีเผา นชองคลอด มดลูก เขาสูทอ นำไข ภายในปก มดลูกโดยตองอาศัย การหดรัดตวั ของกลามเนอ้ื มดลกู และปกมดลกู การโบก พัดของขนออ น Cilia และปริมาณสารน้าํ (Fluid )

2. sperm และ ovum เดินทางมาถึงทอปกมดลกู บรเิ วณ แอมพลู า ( ampulla ) ของทอ นำไข การปฏิสนธิจะเกดิ ข้นึ (เนอื่ งจาก sperm มคี วามสามารถในการ ผสมพนั ธุไ ดไมเ กิน 48 ชัว่ โมง) โดยอสุจิจำนวนมากจะมาลอมบรเิ วณไข เพอื่ หลั่งเอนไซม ไฮยาลโู รไนเดส ( Enzyme hyaluronidase ) ใหยอยเย่อื หุมไข แตจ ะมีอสุจิเพยี งตัวเดียวท่สี ามารถผา นเขา ไปในไซโตพลาสซมึ (cytoplasm ) ของไข เพราะขณะท่ีอสุจิผานเขา ไปถึงผนงั เซลลของไขท ่ีเรยี กวา โซนา เพลลู ซิดา ( zona pellucida ) จะเกิดปฏิกิริยาสรา งผนังเซลลใ หแขง็ แรงทนั ทโี ดย เยื่อหมุ เซลลM embrane ที่อยรู อบ ovum จะเกดิ การเปลย่ี นแปลงใหเ หนียวข้ึน จน sperm ตวั อ่นื ไมส ามารถเจาะผา นเขา ไปผสมกบั ovum ได

43

3. สว นหัวของ sperm จะมีขนาดใหญข้ึนและแยกออกจากสว นหาง โดยสวนหัวจะเคลือ่ นตวั เขา ไปเพื่อผสมกับ ovum ไดห ลงั จากนั้น สว นหวั ของ sperm จะมขี นาดใหญขนึ้ และแยกออกจากสว นหาง โดยสว นหัวจะเคล่ือนตวั เขา ไปเพ่อื ผสมกบั Nucleus ของ ovum กลายเปน Zygote สว นหางของ sperm จะถกู Cytoplasm ของ ovum ดูดซึมจนหายไป

ลกั ษณะกระบวนการปฏสิ นธิ (fertilization) เปนขบวนการตงั้ แตอสุจเิ ขา ใกลแ ละเจาะไขจ นกระท่ังรวมตวั

กันไดไซโกต เรียงตามลำดบั ไดดังนคี้ อื

การปฏิสนธิ (FERTILIZATION) สรปุ 44

- oocyte เมอื่ ovulate จากรังไขม เี ปลอื กหมุ อยูคือ zona pellucida และ corona radiate - การปฏสิ นธเิ กิดข้นึ บรเิ วณ ampulla ของ uterine tube เกดิ หลงั ovulation ประมาณ 12-24 ชม. - หลังการปฏสิ นธผิ านไปประมาณ 30 ชม. First cleavage เสร็จสิน้ ลงได 2 cell stage มี 2 blastomere - วนั ท่ี 3 หลังปฎิสนธิ zygote มีประมาณ 8-12 blastomere เรยี ก morula - วนั ที่ 4 จำนวน blastomere เพม่ิ ข้ึน - เม่ือ morula เคล่อื นเขา สู uterine cavity zona pellucida เร่มิ สลาย ไปทำให fluid ซึมเขา ไปเปน ชอ งภายในเรียกวา blastocyst cavity ระยะนี้ เรียกวา blastocyst - วันท่ี 6 blastocyst เคลื่อนไปแตะทีผ่ วิ endometrium

45

การเจริญของมนษุ ย

คือการรวมตัวกันของอสุจกิ บั เซลลไ ขในรางกายของ สตรี เกิดเปน Zygoteจากน้นั Zygote จะเจริญเปน Embryo เม่ือเขาสูเ ดือนที่ 3 ของการต้ังครรภเรยี กวา Fetus เม่ือครบ 38-40 สัปดาห ทารกจะคลอดเปน Infant

46

47

ระบบตอมไรท อ

ลกั ษณะการทำงานทคี่ อ นขา งชา แตม ีผลการทำงานนาน เชน การ เจรญิ เติบโตของรางกาย การผลติ นํ้านม ตอ งอาศัยเวลาจึงจะเกิดผลใหเ หน็ ซึ่งอาศยั สารเคมี เรยี กวา ฮอรโ มน ที่ผลติ จากตอมไรท อ (endocrine gland)

เปน ตอ มเฉพาะท่ีผลติ และหล่งั สารเขา สรู ะบบไหลเวยี นโดยไมผ านทอ ชนิดใด เนือ่ งจากไมม ที อ ทตี่ ดิ ตอ กบั เย่ือบผุ ิว แตจะสมั ผสั กับหลอดเลอื ด ภายในตอม และมเี ซลลเรยี งตวั กนั หลายแบบ เชน เปนแถว (columns) เปนถงุ (vesicles) หรือเปนกลุมกอน (clusters) มหี ลอดเลอื ดมาเลย้ี ง มากมาย และมกี ารเช่ือมโยงกันระหวา งหลอดเลือดแดง และหลอดเลือด ดำขนาดเลก็ โดยตอมหน่งึ อาจเปน ทงั้ ตอ มมที อ และตอ มไรท อ กไ็ ด เชน ตับออน (pancreas) และตอ มเพศ (gonads) โดยสวนของตอ มไรทอจะ สรา งฮอรโ มนเขา สูก ระแสเลือด และตอมมที อ จะสรางน้าํ ยอ ยหรือเซลล เพศแลว หล่งั ไปตามทอโดยเฉพาะ

ตอมไรท อ แบง เปน 3 ชนดิ

1. ชนดิ ทเ่ี ปน ตอมอยู 3. ชนิดทเี่ ปนเซลลก ระจายอยูต าม เดี่ยวแยกตา งหาก ไดแ ก อวัยวะตาง ๆ เรียกวา diffuse Pituitary gland, neuroendocrine glands Thyroid gland, ประกอบดว ย เซลลท่สี รางฮอรโ มน Parathyroid glands, ท่ีเปน สารประกอบพวก peptides Adrenal gland, Pineal เชน เซลลใ นเน้อื ผิวที่อยใู น gland, Thymus gland ทางเดินอาหาร เนือ้ ผิวทบ่ี ใุ น ทางเดนิ หายใจ Carotid bodies 2. ชนิดพกอยูร ว มกับ ทค่ี อ และกลุมเซลลใ นสมอง สวน ตอ มมที อ ไดแ ก Islets hypothalamus of Langerhans ใน pancreas, Ovary และ testis, Kidney, Placenta

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง