ข อสอบ o-net คณ ตศาสตร ม.ปลาย พร อมเฉลย ป 57

  • แจ้งลบ
  • บันทึกเก็บไว้ใน List
วันที่เวลาโพส 02 พ.ค. 61 09:39 น. 02 พ.ค. 61 09:39 น. อ่านแล้ว 536,916

P'Biw AdmissionPremium

ครูพี่ตูน Annop หนึ่งในติวเตอร์ที่ออกข้อสอบให้ โครงการ PRETCAS'62 เพื่อเตรียมความพร้อมให้น้อง ๆ Dek62 Dek63 รวมถึง Dek64 วันนี้ครูพี่ตูนใจดี พร้อมตีแผ่ แฉข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์ ม.6 ปีล่าสุด

ลองลงสนามสอบก่อนสอบจริง

เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ PRETCAS.COM

  • 1. ม.6 ประจําปการศึกษา 2560 สอบวันที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. อาจารยรังสรรค ทองสุกนอก โรงเรียนนาคประสิทธิ์ มูลนิธิวัดบางชางเหนือ www.Facebook.com/GTRmath
  • 2. หนา |1 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. ตอนที่ 1 แบบปรนัย 5 ตัวเลือก เลือก 1 คําตอบที่ถูกตองที่สุด จํานวน 28 ขอ (ขอ 1 – 28) ขอละ 2.5 คะแนน รวม 70 คะแนน 1. 4 1 5 5 5 5    มีคาเทากับขอใด 1. 5 2. 2 5 3. 3 5 4. 2 3 5 5. 8 5 25 5  2. 2 1 1 6 427 9      มีคาเทากับขอใด 1. 6 2. 6 3 3. 9 4. 9 3 5. 12 3. ถา 3 x 11 64 8 20 125   แลวคาของ x อยูในชวงใด 1. [0, 2) 2. [2, 4) 3. [4, 11 2 ) 4. 11 [ ,7) 2 5. [7, 8)
  • 3. หนา |2 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. 4. กําหนดให 12 a 6 9 14 b 2 3  15 10 c 2 3  ขอใดถูกตอง 1. a < b < c 2. a < c < b 3. b < c < a 4. c < a < b 5. c < b < a 5. จํานวนเต็มบวก x ที่สอดคลองกับอสมการ 5 2x 1 x 2 11 12 4 3 12      มีจํานวนทั้งหมดเทากับขอใดตอไปนี้ 1. 3 จํานวน 2. 4 จํานวน 3. 5 จํานวน 4. 6 จํานวน 5. 7 จํานวน 6. กําหนดให ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ที่มีมุม C เปนมุมมฉาก มี a และ b เปนความยาวของดานตรงขามมุม A และ B ตามลําดับ ถา   A 2B แลวขอใดถูกตอง 1. b a 2  2. 3 a b 3  3. 3 a b 2  4. a 3b 5. a = 2b
  • 4. หนา |3 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. 7. ปายโฆษณารูปสี่เหลี่ยมผืนผาอันหนึ่งติดอยูดานขางตึกสูง โดยที่ขอบลางของปายขนานกับพื้น นักเรียนคนหนึ่งยืนอยูหางจากตึกเปนระยะทาง 60 เมตร ถามุมเงยของสายตาของนักเรียนที่มองจุด กึ่งกลางของเสนขอบลางของปายมีขนาด 30 องศา และมุมเงยของสายตาของนักเรียนที่มองจุดกึ่งกลาง ของเสนขอบบนของปายมีขนาด 45 องศา แลวระยะหางจากจุดกึ่งกลางของเสนขอบบนถึงจุดกึ่งของเสน ขอบลางของปายโฆษณาเทากับขอใด 1. 20 เมตร 2. 30 เมตร 3. 10 3 เมตร 4. 20 3 เมตร 5. 20(3 3) เมตร 8. รานขายเสื้อแหงหนึ่ง ขายเสื้อราคาตัวละ 200 บาท หากซื้อเสื้อตั้งแต 30 ตัวขึ้นไป จะไดสวนลด 20% ทุกตัว ถาเอมซื้อเสื้อ 25 ตัว เปนเงินทั้งหมด a บาท และ บีมซื้อเสื้อ 30 ตัว เปนเงินทั้งหมด b บาท แลวขอใดถูกตอง 1. a = b – 200 2. a = b + 200 3. a = b 4. a = b – 1,000 5. a = b + 1,000 9. กําหนดให f(x) = x 5 5  ขอใดไมถูกตอง 1. f(–6) = 6 2. f(–5) = 5 3. f(0) = 0 4. f(5) = –5 5. f(6) = –6
  • 5. หนา |4 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. 10. กําหนดกราฟ สมการในขอใดที่เปนไปไดที่จะมีกราฟดังรูป 1. x y 3 1   2. x y 3 1   3. x y 3 4. x y 3 1  5. x y 3 1  11. กําหนดให  2 r (2a, a ) a เปนจํานวนจริง  คูอันดับในขอใด เปนสมาชิกของ r 1. (–2, –1) 2. (–1, 1) 3. (1, 1) 4. (2, 2) 5. (4, 4) 12. ลําดับในขอใด เปนลําดับเลขคณิต 1. 1 , 1.1 , 1.11 , 1.111 , 1.1111 2. 1 , –1 , 1 , –1 , 1 3. –5 , 7 , –9 , 11 , –13 4. –5 , 19 4  , 18 4  , 17 4  , –4 5. –5 + 10 , –5 + 2 10 , –5 + 3 10 , –5 + 4 10 , –5 + 5 10 X Y 0 1 y f(x)
  • 6. หนา |5 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. 13. กําหนดให 1 2 3a , a , a , ... เปนลําดับเรขาคณิต ซึ่งมีพจนแตละพจนเปนจํานวนจริงบวก ถา 5 1a 4a แลวอัตราสวนรวมของลําดับนี้เทากับขอใด 1. 1 4 2. 1 2 3. 1 2 4. 2 5. 2 14. กําหนดให A เปนเซตของจํานวนเต็ม B เปนเซตของจํานวนจริงที่มากกวา 3 C เปนเซตคําตอบของสมการ f(x) = 1 โดยที่ f เปนฟงกชัน 4 และ 5 เปนสมาชิกของเซต ดังแผนภาพ พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. คําตอบทุกตัวของสมการ f(x) = 1 เปนจํานวนเต็ม ข. คําตอบทุกตัวของสมการ f(x) = 1 มีคามากกวา 3 ค. 4 เปนคําตอบของสมการ f(x) = 1 ง. 5 ไมเปนคําตอบของสมการ f(x) = 1 จํานวนขอความที่ถูกตอง เทากับขอใด 1. 0 ขอความ(ไมมีขอความใดถูก) 2. 1 ขอความ 3. 2 ขอความ 4. 3 ขอความ 5. 4 ขอความ A BC 4 5
  • 7. หนา |6 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. 15. ถากราฟของ 1y f(x) ตัดกราฟของ 2y g(x) ที่จุด (1, 3) และ (4, 5) ดังรูป แลวเซตคําตอบของอสมการ f(x) g(x) คือเซตในขอใด 1. (1, 4) 2. (3, 5) 3. (–, 4) 4. (–, 1) (4, ) 5. (–, 3) (5, ) 16. กําหนดให c > 0 ถาเซตคําตอบของอสมการ 2 x 2cx 6c 0   คือชวงเปด (–3c , c) แลว c มีคาเทากับขอใด 1. 1 4 2. 1 2 3. 1 4. 3 2 5. 2 17. เซตของจํานวนจริง k ที่ทําใหสมการ 2 x kx 5 0   ไมมีคําตอบที่เปนจํานวนจริง คือเซตในขอใด 1. ( , 20)  2. ( , 20) 3. ( 20, 20) 4. [0, ) 5. ( ,0] X Y 0 (1,3) 1y f(x) 2y g(x) (4,5)  
  • 8. หนา |7 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. 18. สระวายน้ํา “รักสุขภาพ” คิดคาบริการ 2 แบบ คือ แบบที่ 1 บุคคลที่ไมเปนสมาชิก คิดคาใชสระวายน้ํา 40 บาทตอครั้ง แบบที่ 2 บคคลที่เปนสมาชิก คิดคาสมาชิกรายป 2,000 บาท และคาใชสระวายน้ํา 15 บาทตอครั้ง ภายใน 1 ป จํานวนครั้งที่นอยที่สุดในการใชสระวายน้ําใน 1 ป ที่ทําใหจํานวนเงินที่ตองจายทั้งหมดของบุคคล ที่เปนสมาชิก นอยกวาของบุคคลที่ไมเปนสมาชิก เทากับขอใด 1. 79 ครั้ง 2. 81 ครั้ง 3. 101 ครั้ง 4. 133 ครั้ง 5. 134 ครั้ง 19. พี่มีนยืมเงินจากนองมิว 630 บาท และตกลงกันวาจะจายเงินคืนใหนองทุกวัน โดยวันแรกจะคืนเงินให 10 บาท วันที่สองจะคืนเงินให 12 บาท และในวันตอๆ ไปจะคืนเงินเพิ่มขึ้นจากวันกอนหนาวันละ 2 บาท ทุกวัน จํานวนวันที่พี่มีนจะจายเงินคืนใหนองมิวไดครบพอดีเทากับขอใด 1. 21 วัน 2. 22 วัน 3. 23 วัน 4. 24 วัน 5. 25 วัน 20. ถา 1 2 3 12a , a , a , ... , a เปนลําดับเรขาคณิต ซึ่งมีอัตราสวนรวมเทากับ 2 และ 1 2 3 12a a a ... a 63     แลว 1 2 3 10a a a ... a    เทากับขอใด 1. 29 2. 30 3. 31 4. 32 5. 33
  • 9. หนา |8 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. 21. ขอมูลชุดใด มีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานที่มีคามากที่สุด 1. 500 , 500 , 500 , 500 , 500 , 500 2. 2 , 4 , 6 , 8 , 10 , 12 3. 100 , 100 , 100 , 101 , 101 , 101 4. 44 , 44 , 45 , 45 , 46 , 46 5. 78 , 78 , 78 , 78 , 80 , 80 22. ตารางแจกแจงความถี่แสดงอายุของเด็กที่เรียนวายน้ําของโรงเรียนแหงหนึ่งเปนดังนี้ อายุของเด็กที่เรียนวายน้ํา (ป) ความถี่ (คน) 6 5 7 10 8 15 9 10 คาเฉลี่ยเลขคณิตของอายุเด็กกลุมนี้เทากับขอใด 1. 7 ป 6 เดือน 2. 7 ป 7 เดือน 3. 7 ป 8 เดือน 4. 7 ป 9 เดือน 5. 8 ป 23. ผองศรีทําการเก็บขอมูลชุดหนึ่ง โดยนํามาเรียงลําดับจากนอยไปมากไดเปน 110 , 118 , 130 , 150 , 150 , 160 , 180 , 190 , 210 , 220 , 230 , 240 ในภายหลัง ผองศรีไดรับขอมูลมาเพิ่มอีกหนึ่งคา หลังจากผองศรีเพิ่มขอมูลใหมเขาไปในขอมูลชุดเดิมแลว ขอความใดเปนไปไมได 1. คาเฉลี่ยเลขคณิตเทาเดิม 2. มัธยฐานเทาเดิม 3. มัธยฐานเพิ่มขึ้น 20 4. พิสัยเทาเดิม 5. พิสัยเพิ่มขึ้น 20
  • 10. หนา |9 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. 24. ขอมูลแสดงภูมิลําเนาของพนักงานในบริษัทแหงหนึ่ง เปนดังนี้ ภูมิลําเนา จํานวนพนักงาน (คน) ภาคเหนือ 90 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 30 ภาคกลาง 50 ภาคตะวันออก 20 ภาคใต 10 คากลางในขอใดใชเปนตัวแทนของภูมิลําเนาของพนักงานในบริษัทแหงนี้และคากลางนั้นคืออะไร 1. ฐานนิยม คือ ภาคเหนือ 2. ฐานนิยม คือ ภาคใต 3. ฐานนิยม คือ 90 4. มัธยฐาน คือ 30 5. มัธยฐาน คือ ภาคกลาง 25. โรงเรียนแหงหนึ่งมีชมรมสําหรับนักเรียน 3 ชมรม คือ ชมรมกีฬา ชมรมศิปวัฒนธรรม และชมรมวิทยาศาสตร นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายทุกคนตองสมัครเขาชมรมคนละหนึ่งชมรม ตารางแสดงจํานวนนักเรียนในแตละชมรม เปนดังนี้ นักเรียนชั้น จํานวนนักเรียนในแตละชมรม (คน) กีฬา ศิลปวัฒนาธรรม วิทยาศาสตร ม.4 85 95 120 ม.5 125 75 100 ม.6 95 100 105 รวม 305 270 325 ถาสุมนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายมา 1 คน ความนาจะเปนที่จะไดนักเรียนที่อยูชมรมกีฬาและไมใชนักเรียนชั้น ม.4 เทากับขอใด 1. 1 3 2. 2 3 3. 11 45 4. 17 180 5. 61 180
  • 11. หนา |10 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. 26. กําหนดให  S 9 , 8 , 7 , ... , 1 , 0 , 1 , 2 , 3 , 4 , 5     ถา a เปนสมาชิกหนึ่งตัวของ S ที่ไดจากการสุม ความนาจะเปนที่ a a 0  เทากับขอใด 1. 2 3 2. 3 5 3. 2 5 4. 1 3 5. 1 5 27. กลองใบหนึ่งบรรจุสลาก 5 ใบ ที่มีหมายเลข 1 , 3 , 5 , 7 , 9 ใบละหนึ่งหมายเลข ถาสุมหยิบสลากในกลองนี้ขึ้นมาสองใบ โดยหยิบทีละใบแบบไมใสคืน แลวนําหมายเลขที่ไดมาประกอบ เปนจํานวนสองหลัก โดยหมายเลขบนสลากใบแรกเปนเลขโดดในหลักสิบ และหมายเลขบนสลากใบที่สอง เปนเลขโดดในหลักหนวย ความนาจะเปนที่จะไดจํานวนสองหลักที่นอยกวา 60 เทากับขอใด 1. 3 10 2. 2 5 3. 1 2 4. 3 5 5. 3 4 28. ตารางแสดงน้ําหนัก (กรัม) ตอผล ของมะนาวจากสวนแหงหนึ่งเปนดังนี้ น้ําหนัก (กรัม) ตอผล ความถี่สัมพัทธ ความถี่สะสมสัมพัทธ 20 – 29 0.25 30 – 39 0.40 40 – 49 0.70 50 – 59 60 – 69 0.25 ถาสุมมะนาวจากสวนแหงนี้มา 1 ผล ความนาจะเปนที่จะไดมะนาวที่มีน้ําหนักอยูในชวง 40 – 59 กรัม เทากับขอใด 1. 0.25 2. 0.30 3. 0.35 4. 0.40 5. 0.45
  • 12. หนา |11 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. ตอนที่ 2 แบบระบายตัวเลขที่เปนคําตอบ จํานวน 12 ขอ (ขอ 29 – 40) ขอละ 2.5 คะแนน รวม 30 คะแนน 29. ถา | a 5 | | b 7 | 0    แลว a + b เทากับเทาใด 30. เมื่อวินัยยืนอยูที่โคนเสา A เขามองขึ้นไปบนยอดเสา B เปนมุมเงยขนาด 30 องศา และเมื่อวินัยยืนอยูที่โคนเสา B เขามองขึ้นไปยอดเสา A เปนมุมเงยขนาด 60 องศา ถาเสา A สูง 45 เมตร แลวเสา B สูงกี่เมตร (กําหนดใหโคนเสา A และ B อยูบนระนาบเดียวกัน และไมคิดความสูงของวินัย) 31. กําหนดให A {1 , 2 , a, b , c} {1 , b , c}  B {2 , 3 , c} {2 , b , d}  C {1, 2 , 3 , b} {3 , a , b}  จํานวนสมาชิกของเซต B (A C)  เทากับขอใด 32. ให เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 1 ตารางหนวย พิจารณาการนํา มาวางตอกันแลวแรเงาบางรูป ตามแบบรูปตอไปนี้ ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3 ในขั้นที่ 99 มีรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 1 ตารางหนวย ซึ่งไมไดแรเงา อยูกี่รูป
  • 13. หนา |12 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. 33. ถา 2 , 9, 16 , ... เปนลําดับเลขคณิต แลวพจนที่เทาใดของลําดับนี้ที่มีคาอยูในชวง [180, 185] 34. จากการสอบถาม เรื่องความชอบไอศกรีมรสวนิลาและรสสม ของเด็กอนุบาลจํานวน 40 คน พบวา มี 25 คน ชอบรสวนิลา 10 คน ชอบรสสม 8 คน ไมชอบทั้งรสวนิลาและรสสม มีเด็กอนุบาลที่ชอบทั้งรสวนิลาและรสสมกี่คน 35 ถากราฟของ 2 f(x) ax bx c   ตัดแกน Y ที่จุด (0, 1) มีจุดวกกลับที่ (3, 0) ดังรูป แลว f(–6) เทากับเทาใด 36. นักเรียนหองหนึ่งไดตกลงกันวา แตละคนจะทําการดอวยพรวันปใหมและสงใหเพื่อนๆ ในหองทุกคน ถานักเรียนทุกคนในหองนี้ทําตามขอตกลง และมีบัตรอวยพรที่สงใหกันทั้งหมด 1,722 ใบ แลวหองนี้มีนักเรียนกี่คน 0 X Y 1 1 2 22 1 3 3 4 5 6 7 8 1
  • 14. หนา |13 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. 37. ผลบวกของคําตอบของสมการ 2 |x 4| 33 27  เทากับเทาใด 38. ขอมูลชุดหนึ่งประกอบดวยจํานวนเต็มบวก 10 จํานวน ดังนี้ 5 , 6 , 9 , 6 , 10 , 5 , 9 , 8 , x , y ถาคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดนี้คือ 7.2 แลวมัธยฐานเทากับเทาใด 39. คุณครูกําหนดวาจะใหระดับคะแนน 4 แกนักเรียนที่สอบไดสูงกวาเปอรเซ็นไทลที่ 85 ผลการสอบของนักเรียนจํานวน 49 คน ปรากฏดังแผนภาพตน – ใบ 3 4 5 5 8 4 0 5 6 7 8 8 5 0 1 2 3 4 5 6 6 7 7 6 2 2 2 5 5 5 8 8 9 9 7 0 5 5 5 6 8 8 9 8 0 2 3 3 4 5 7 9 0 3 4 5 จากผลการสอบนี้ นักเรียนในกลุมที่ไดระดับคะแนน 4 ไดคะแนนต่ําสุดกี่คะแนน 40. วันทามีธนบัตรหนึ่งพันบาท 3 ฉบับ และธนบัตรหารอยบาท 2 ฉบับ ถาวันทาสุมหยิบธนบัตรขึ้นมา 2 ฉบับพรอมกัน แลวความนาจะเปนที่ธนบัตร 2 ฉบับนี้ จะมีมูลคารวมกันมากกวา 1,200 บาท เทากับเทาใด    
  • 15. หนา |14 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. เฉลย ------------- ตอนที่ 1 1. 1 2. 5 3. 1 4. 4 5. 2 6. 4 7. 5 8. 2 9. 5 10. 2 11. 5 12. 4 13. 4 14. 5 15. 1 16. 5 17. 3 18. 2 19. 1 20. 3 21. 2 22. 4 23. 3 24. 1 25. 3 26. 1 27. 4 28. 3 ตอนที่ 2 29. 2 30. 15 31. 3 32. 9900 33. 27 34. 3 35. 9 36. 42 37. 8 38. 7 39. 84 40. 0.9 ------------- ตอนที่ 1 ขอ 1. ตอบ 1. แนวคิด โดยที่ 4 5 5  ทําให 4 5 0 5   ดังนั้น 4 4 5 5 5 5         จะไดคาของ 4 1 5 5 5 5    4 1 5 5 5 5         4 1 5 5 5 5      5 5 5 5     5 5 5 5 5 5          5   5 5 5 5  5 5 5    = 5  -------------
  • 16. หนา |15 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. ขอ 2. ตอบ 5. แนวคิด 2 1 1 6 427 9      2 1 1 3 26 4(3 ) (3 )        2 3 2 6 43 3        2 1 1 2 23 3        2 1 22 3        2 1 2 22 3        2 2 22 3  2 1 2 3  4 3  12  ------------- ขอ 3. ตอบ 1. แนวคิด จากสมการ 3 x 11 64 8 20 125   3 3 3 x 11 4 8 20 5   x 11 4 8 20 5   x 4 11 8 5 20   x 16 11 8 20 20   x 5 8 20  x 1 8 4 
  • 17. หนา |16 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. ยกกําลังสองทั้งสองขาง ; x 1 8 16  1 x 8 16   x = 1 2 จะพบวา 1 x [0,2) 2    ------------- ขอ 4. ตอบ 4. แนวคิด โดยที่ 12 12 12 12 3 2 9 10 9 10 a 6 (2 3) 2 3 2 3 (2 3 ) 72 (2 3 )            9 14 4 9 10 9 10 b 2 3 3 (2 3 ) 81 (2 3 )        15 10 6 9 10 9 10 c 2 3 2 (2 3 ) 64 (2 3 )        เนื่องจาก 64 < 72 < 81 จะได 9 10 9 10 9 10 64 (2 3 ) 72 (2 3 ) 81 (2 3 )        นั่นคือ c < a < b  ------------- ขอ 5. ตอบ 2. แนวคิด จากอสมการ 5 2x 1 x 2 11 12 4 3 12      นํา 12 คูณตลอดอสมการ ; 5 2x 1 x 2 11 12 12 12 12 12 4 3 12          5 3(2x 1) 4(x 2) 11     5 6x 3 4x 8 11     5 2x 5 11   นํา 5 บวกตลอดอสมการ ; 10 2x 16  นํา 2 หารตลอดอสมการ ; 5 x 8  ดังนั้นจํานวนเต็มบวก x ที่สอดคลองกับอสมการไดแก 5, 6, 7, 8 มีทั้งหมด 4 จํานวน  -------------
  • 18. หนา |17 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. ขอ 6. ตอบ 4. แนวคิด กําหนดให ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ที่มีมุม C เปนมุมมฉาก มี a และ b เปนความยาวของดานตรงขามมุม A และ B ตามลําดับ จะไดรูป โดยที่ ˆ ˆ ˆA B C 180    โจทยกําหนด ˆ ˆA 2B และ ˆC 90  ; ˆ ˆ2B B 90 180    ˆ3B 90  ˆB 30  จากรูปจะได b tan B a  แทน ˆB 30  ; b tan 30 a  1 b a3  ดังนั้น a 3b  ------------- b aC A B
  • 19. หนา |18 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. ขอ 7. ตอบ 5. แนวคิด กําหนด ปายโฆษณารูปสี่เหลี่ยมผืนผาอันหนึ่งติดอยูดานขางตึกสูง โดยที่ขอบลางของปายขนานกับพื้น นักเรียนคนหนึ่งยืนอยูหางจากตึกเปนระยะทาง 60 เมตร มุมเงยของสายตาของนักเรียนที่มองจุดกึ่งกลางของเสนขอบลางของปายมีขนาด 30 องศา และ มุมเงยของสายตาของนักเรียนที่มองจุดกึ่งกลางของเสนขอบบนของปายมีขนาด 45 องศา ดังรูป จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC จะได y tan 30 60  1 y 603  60 y 3  60 3 3  20 3 จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABD จะได x y tan 45 60   x y 1 60   แทน y 20 3 ; x 20 3 1 60   60 x 20 3  x 60 20 2  20(3 3)  ดังนั้น ระยะหางจากจุดกึ่งกลางของเสนขอบบนถึงจุดกึ่งของเสนขอบลางของปายโฆษณา เทากับ 20(3 3) เมตร  ------------- ปายโฆษณา 30 45 60 x y A B C D
  • 20. หนา |19 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. ขอ 8. ตอบ 2. แนวคิด กําหนดรานขายเสื้อแหงหนึ่ง ขายเสื้อราคาตัวละ 200 บาท หากซื้อเสื้อตั้งแต 30 ตัวขึ้นไป จะไดสวนลด 20% ทุกตัว แสดงวาถาซื้อเสื้อตั้งแต 30 ตัวขึ้นไป จะขายเสื้อราคาตัวละ 80% ของ 200 บาท เทากับ 80 200 160 100   บาท โจทยกําหนด เอมซื้อเสื้อ 25 ตัว เปนเงินทั้งหมด a บาท จะได a 25 200 5000   บาท โจทยกําหนด บีมซื้อเสื้อ 30 ตัว เปนเงินทั้งหมด b บาท จะได b = 30 160 4800  บาท จะพบวา a = b + 200  ------------- ขอ 9. ตอบ 5. แนวคิด กําหนดให f(x) = x 5 5  จะได้ f(–6) = 6 5 5 11 5 6      ตัวเลือกที 1 ถูกต้อง f( 5) 5 5 5 10 5 5        ตัวเลือกที 2 ถูกต้อง f(0) 0 5 5 5 5 0      ตัวเลือกที 3 ถูกต้อง f(5) 5 5 5 0 5 5       ตัวเลือกที 4 ถูกต้อง f(6) 6 5 5 1 5 4       ตัวเลือกที 5 ไม่ถูกต้อง -------------
  • 21. หนา |20 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. ขอ 10. ตอบ 2. แนวคิด กําหนดกราฟ จากรูปจะไดวาเปนกราฟของฟงกชันเอกซโพแนนเชียล x y a k  เมื่อ 0 < a < 1 จากตัวเลือกจะไดวา 1 a 3  และไดสมการคือ x1 y ( ) k 3   x y 3 k   ...(*) จากกราฟผานจุด (0, 0) แทน x = 0 และ y = 0 ในสมการ (*) จะได 0 0 3 k   0 = 1 + k k = – 1 แทน k = – 1 ใน (*) จะได x y 3 1    ------------- ขอ 11. ตอบ 5. แนวคิด กําหนดให  2 r (2a, a ) a เปนจํานวนจริง  พิจารณาตัวเลือก ดังนี้ 1. ให 2a = –2 จะได a = –1 2 2 a ( 1) 1 1     ดังนั้น (–2, –1) ไมเปนสมาชิกของ r X Y 0 1 y f(x)
  • 22. หนา |21 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. 2. ให 2a = –1 จะได a = 1 2  2 21 1 a ( ) 1 2 4     ดังนั้น (–1, 1) ไมเปนสมาชิกของ r 3. ให 2a = 1 จะได a = 1 2 2 21 1 a ( ) 1 2 4    ดังนั้น (1, 1) ไมเปนสมาชิกของ r 4. ให 2a = 2 จะได a = 1 2 2 a 1 1 2   ดังนั้น (2, 2) ไมเปนสมาชิกของ r 5. ให 2a = 4 จะได a = 2 2 2 a 2 4  ดังนั้น (4, 4) เปนสมาชิกของ r  ------------- ขอ 12. ตอบ 4. แนวคิด โดยที่ลําดับเลขคณิตตองมีผลตางรวม นั่นคือ 2 1 3 2 4 3a a a a a a ....      พิจารณาลําดับแตละขอจะพบวา 1. เพราะวา 1.1 – 1 = 0.1 แต 1.11 – 1.1 = 0.01 จะพบวาลําดับไมมีผลตางรวม ดังนั้นลําดับ 1 , 1.1 , 1.11 , 1.111 , 1.1111 ไมเปนลําดับเลขคณิต
  • 23. หนา |22 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. 2. เพราะวา –1 – 1 = –2 แต 1 – (–1) = 2 จะพบวาลําดับไมมีผลตางรวม ดังนั้นลําดับ 1 , –1 , 1 , –1 , 1 ไมเปนลําดับเลขคณิต 3. เพราะวา 7 – (–5) = 12 แต –9 – 7 = –16 จะพบวาลําดับไมมีผลตางรวม ดังนั้นลําดับ –5 , 7 , –9 , 11 , –13 ไมเปนลําดับเลขคณิต 4. เพราะวา 19 ( 5) 4     18 19 ( ) 4 4     17 18 ( ) 4 4     17 1 4 ( ) 4 4    จะพบวาลําดับมีผลตางรวม ดังนั้นลําดับ –5 , 19 4  , 18 4  , 17 4  , –4 เปนลําดับเลขคณิต 5. เพราะวา 2 ( 5 10 ) ( 5 10) 90      แต 3 2 ( 5 10 ) ( 5 10 ) 900      จะพบวาลําดับไมมีผลตางรวม ดังนั้น –5 + 10, –5 + 2 10 , –5 + 3 10 , –5 + 4 10 , –5 + 5 10 ไมเปนลําดับเลขคณิต จากการพิจารณาจะไดวา ลําดับ –5 , 19 4  , 18 4  , 17 4  , –4 เปนลําดับเลขคณิต  ------------- ขอ 13. ตอบ 4. แนวคิด กําหนด 1 2 3a , a , a , ... เปนลําดับเรขาคณิต ซึ่งมีพจนแตละพจนเปนจํานวนจริงบวก สมมติให r แทนอัตราสวนรวมของลําดับนี้ จะไดพจนทั่วไปของลําดับคือ n 1 n 1a a r    โจทยกําหนด 5 1a 4a จะได 4 1 1a r 4a นํา 1a หารตลอด ; 4 r 4 2 r 2 r 2  โดยที่แตละพจนเปนจํานวนจริงบวกแสดงวา r = 2  -------------
  • 24. หนา |23 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. ขอ 14. ตอบ 5. แนวคิด กําหนดให A เปนเซตของจํานวนเต็ม B เปนเซตของจํานวนจริงที่มากกวา 3 C เปนเซตคําตอบของสมการ f(x) = 1 โดยที่ f เปนฟงกชัน 4 และ 5 เปนสมาชิกของเซต ดังแผนภาพ พิจารณาขอความ ดังนี้ ก. จากแผนภาพจะพบวา C A แสดงวาเซตคําตอบของสมการ f(x) = 1 เปนสับเซตของเซตจํานวนเต็ม นั่นคือคําตอบทุกตัวของสมการ f(x) = 1 เปนจํานวนเต็ม ดังนั้น ขอความ ก. ถูก ข. จากแผนภาพจะพบวา C B แสดงวาเซตคําตอบของสมการ f(x) = 1 เปนสับเซตของเซตจํานวนจริงที่มากกวา 3 นั่นคือคําตอบทุกตัวของสมการ f(x) = 1 เปนจํานวนจริงที่มากกวา 3 ดังนั้น ขอความ ข. ถูก ค. จากแผนภาพ 4 C แสดงวา 4 เปนคําตอบของสมการ f(x) = 1 ดังนั้น ขอความ ค. ถูก ง. จากแผนภาพ 5 C แสดงวา 5 ไมเปนคําตอบของสมการ f(x) = 1 ดังนั้นขอความ ง. ถูก จากการพิจารณาทั้ง 4 ขอความ จะไดวาจํานวนขอความที่ถูกตอง 4 ขอความ  ------------- A BC 4 5
  • 25. หนา |24 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. ขอ 15. ตอบ 1. แนวคิด ถากราฟของ 1y f(x) ตัดกราฟของ 2y g(x) ที่จุด (1, 3) และ (4, 5) ดังรูป จากกราฟจะพบวา กราฟของ 1y f(x) อยูใตกราฟของ 2y g(x) เมื่อ 1 < x < 4 แสดงวาเซตคําตอบของอสมการ f(x) g(x) คือชวง (1, 4)  ------------- ขอ 16. ตอบ 5. แนวคิด โจทยกําหนดเซตคําตอบของอสมการ 2 x 2cx 6c 0   คือชวงเปด (–3c , c) เมื่อ c > 0 นั่นคือสําหรับ –3c < x < c เปนคําตอบของอสมการ 2 x 2cx 6c 0   แตเนื่องจากสําหรับ –3c < x < c จะไดวา (x + 3c)(x – c) < 0 แสดงวาพหุนาม 2 x 2cx 6c  และพหุนาม (x 3c)(x c)  เป็นพหุนามทีเท่ากัน นั่นคือ 2 x 2cx 6c (x 3c)(x c)     2 2 2 x 2cx 6c x 2cx 3c     โดยการเทากับของพหุนามจะไดวา –6c = – 2 3c นํา c หารตลอด ; –6 = –3c ดังนั้น c = 2  ------------- X Y 0 (1,3) 1y f(x) 2y g(x) (4,5)   1 4
  • 26. หนา |25 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. ขอ 17. ตอบ 3. แนวคิด เนื่องสมการดีกรีสอง 2 ax bx c 0   ไมมีคําตอบที่เปนจํานวนจริง ก็ตอเมื่อ 2 b 4ac 0  โจทยกําหนด สมการ 2 x kx 5 0   ไมมีคําตอบที่เปนจํานวนจริง แสดงวา 2 ( k) 4(1)(5) 0   2 k 20 0  2 2 k ( 20) 0  (k 20)(k 20) 0   จะได 20 k 20   ดังนั้นเซตของจํานวนจริง k ที่ทําใหสมการไมมีคําตอบที่เปนจํานวนจริงคือ ( 20, 20)  ------------- ขอ 18. ตอบ 2. แนวคิด สระวายน้ํา “รักสุขภาพ” คิดคาบริการ 2 แบบ คือ แบบที่ 1 บุคคลที่ไมเปนสมาชิก คิดคาใชสระวายน้ํา 40 บาทตอครั้ง แบบที่ 2 บคคลที่เปนสมาชิก คิดคาสมาชิกรายป 2,000 บาท และคาใชสระวายน้ํา 15 บาทตอครั้ง ภายใน 1 ป ให x แทนจํานวนครั้งในการใชสระวายน้ําใน 1 ป ถาบุคคลที่ไมเปนสมาชิก จะตองจายเงินทั้งหมด 40x บาท ถาบุคคลที่เปนสมาชิก จะตองจายเงินทั้งหมด 2,000 + 15x บาท โจทยตองการใหจํานวนเงินที่ตองจายทั้งหมดของบุคคลที่เปนสมาชิกนอยกวาของบุคคลที่ไมเปนสมาชิก จะไดอสมการคือ 2000 + 15x < 40x 2000 < 25x นํา 25 หารตลอด ; 80 < x ดังนั้นจํานวนครั้งที่นอยที่สุดที่ทําใหจํานวนเงินที่ตองจายทั้งหมดของบุคคลที่เปนสมาชิกนอยกวาของบุคคล ที่ไมเปนสมาชิก คือ 81 ครั้ง  ------------- 20 20  
  • 27. หนา |26 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. ขอ 19. ตอบ 1. แนวคิด พี่มีนยืมเงินจากนองมิว 630 บาท และตกลงกันวาจะจายเงินคืนใหนองทุกวัน โดยวันแรกจะคืนเงินให 10 บาท วันที่สองจะคืนเงินให 12 บาท และในวันตอๆ ไปจะคืนเงินเพิ่มขึ้นจากวันกอนหนาวันละ 2 บาท ทุกวัน แสดงวาในแตละวัน การคืนเงินจะเพิ่มขึ้นเปนลําดับเลขคณิต ดังนี้ 10 , 12 , 14 , 16 , ... โดยพจนแรกของลําดับ 1(a )คือ 10 และผลตางรวม(d) เทากับ 2 จะไดผลบวก n พจนแรกของอนุกรม nS  1 n 2a (n 1)d 2    แทน 1a 10 , d 2  ; nS  n 2 10 (n 1)2 2       n 20 2n 2 2      n 2n 18 2   n(n 9)  2 n 9n  โจทยตองการคืนเงินใหครบจํานวน 630 บาท แสดงวาตองการหา n ที่ทําให nS 630 จะได 2 n 9n 630  2 n 9n 630 0   (n + 30)(n – 21) = 0 โดยที่ n + 30 > 0 แสดงวา n – 21 = 0 ดังนั้น n = 21 แสดงวาตองมีนจะจายเงินคืนใหนองมิวจํานวน 21 วัน จึงจะครบจํานวนที่ยืมพอดี  -------------
  • 28. หนา |27 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. ขอ 20. ตอบ 3. แนวคิด โจทยกําหนด 1 2 3 12a , a , a , ... , a เปนลําดับเรขาคณิต ซึ่งมีอัตราสวนรวมเทากับ 2 โดยสูตรผลบวก n พจนแรกของอนุกรมเรขาคณิต n 1 n a (1 r ) S 1 r    โจทยกําหนด 1 2 3 12a a a ... a 63     จะได 12S 63 12 1a (1 r ) 63 1 r    แทน r 2 ; 12 1a (1 ( 2) ) 63 1 2    6 1a (1 (2 )) 63 1 2    1a ( 63) 63 1 2    1a 1 1 2    1a 2 1  ดังนั้น 1 2 3 10a a a ... a    10S 10 1a (1 r ) 1 r    แทน 1a 2 1, r 2   ; 10 ( 2 1)(1 ( 2) ) 1 2     5 (1 2)(1 2 ) 1 2      (1 32)   31  -------------
  • 29. หนา |28 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. ขอ 21. ตอบ 2. แนวคิด พิจารณาตัวเลือกที่มีขอมูลแตละคามีความแตกตางจากคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดนั้นมาก จะทําใหมี สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานมาก พิจารณาตัวเลือก 1. จากขอมูล 500 , 500 , 500 , 500 , 500 , 500 มีคาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 500 จะพบวาขอมูลแตกตางจากคาเฉลี่ยเทากับ 0 ทั้งหมด 2. จากขอมูล 2, 4, 6, 8, 10, 12 มีคาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 2 4 6 8 10 12 7 6       จะพบวาขอมูลแตกตางจากคาเฉลี่ยเทากับ 5, 3, 1, 1, 3, 5 ตามลําดับ 3. จากขอมูล 100 , 100 , 100 , 101 , 101 , 101 มีคาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 100 + 100 + 100 + 101 + 101 , 1 1 1 5 6 0 00. จะพบวาขอมูลแตกตางจากคาเฉลี่ยเทากับ 0.5 ทั้งหมด 4. จากขอมูล 44 , 44 , 45 , 45 , 46 , 46 มีคาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 44 + 44 + 45 + 45 + 46 + 46 45 6  จะพบวาขอมูลแตกตางจากคาเฉลี่ยเทากับ 1, 1, 0, 0, 1, 1 ตามลําดับ 5. จากขอมูล 78 , 78 , 78 , 78 , 80 , 80 มีคาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 78 + 78 + 78 + 78 + 80 + 80 78.7 6  จะพบวาขอมูลแตกตางจากคาเฉลี่ยประมาณ 0.7, 0.7, 0.7, 0.7, 1.3, 1.3 ตามลําดับ จะพบวาขอมูลในเลือกที่ 2 คือขอมูล 2, 4, 6, 8, 10, 12 มีคาแตกตางจากคาเฉลี่ยเลขคณิตมากที่สุด จึงทําใหขอมูลดังกลาวมีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานมากที่สุด 
  • 30. หนา |29 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. หมายเหตุ 1. อาจจะพิจารณาไดจากความแตกตางกันของขอมูลในชุดนั้น ซึ่งจะพบวาตัวเลือกที่ 2 ที่มีขอมูล 2, 4, 6, 8, 10, 12 เปนขอมูลที่มีแตละคาแตกตางกันเยอะที่สุด ดังนั้นทําใหขอมูลดังกลาวมีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานมากที่สุด 2. คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยใชสูตร N 2 i i 1 (x ) N       จากตัวเลือกที่ 2 มีขอมูล 2 , 4 , 6 , 8 , 10 , 12 จะได 2 4 6 8 10 12 7 6         2 2 2 2 2 2 (2 7) (4 7) (6 7) (8 7) (10 7) (12 7) 6              = 35 3 ------------- ขอ 22. ตอบ 4. แนวคิด ตารางแจกแจงความถี่แสดงอายุของเด็กที่เรียนวายน้ําของโรงเรียนแหงหนึ่งเปนดังนี้ อายุของเด็กที่เรียนวายน้ํา (ป) ความถี่ (คน) 6 5 7 10 8 15 9 10 จากสูตรคํานวณคาเฉลี่ยเลขคณิต เทากับ k i i i 1 k i i 1 f x f     จะได คาเฉลี่ยเลขคณิต = (6 5) (7 10) (8 15) (9 10) 5 10 15 10           = 30 70 120 90 40    = 310 40 = 7.75
  • 31. หนา |30 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. ดังนั้น คาเฉลี่ยเลขคณิตของอายุเด็กลุมนี้ = 7.75 ป = 7 ป 0.75 ป = 7 ป 0.75 12 เดือน = 7 ป 9 เดือน  ------------- ขอ 23. ตอบ 3 แนวคิด ผองศรีทําการเก็บขอมูลชุดหนึ่ง โดยนํามาเรียงลําดับจากนอยไปมากไดเปน 110 , 118 , 130 , 150 , 150 , 160 , 180 , 190 , 210 , 220 , 230 , 240 จะได คาเฉลี่ยเลขคณิต = 110 118 130 150 150 160 170 190 210 220 1 0 2 230 24           = 174 มัธยฐาน = 160 180 170 2   พิสัย = 240 – 110 = 130 ในภายหลัง ผองศรีไดรับขอมูลมาเพิ่มอีกหนึ่งคาหลังจากผองศรีเพิ่มขอมูลใหมเขาไปในขอมูลชุดเดิม พิจารณาตัวเลือก 1. ถาเพิ่มขอมูลอีกคาใหเทากับคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดเดิม นั่นคือ เพิ่มเขาไปดวย 174 ขอมูลทั้ง 13 จํานวนเรียงจากนอยไปมากไดดังนี้ 110 , 118 , 130 , 150 , 150 , 160 , 174 , 180 , 190 , 210 , 220 , 230 , 240 จะไดคาเฉลี่ยเลขคณิตขอมูลชุดใหม เทากับ 174 12 174 174 13    ซึ่งจะพบวาคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดใหม เทากับคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดเดิม ดังนั้น ตัวเลือก 1. เปนไปได 2. ถาเพิ่มขอมูลอีกคาใหเทากับมัยฐานของขอมูลชุดเดิม นั่นคือ เพิ่มเขาไปดวย 170 ขอมูลทั้ง 13 จํานวนเรียงจากนอยไปมากไดดังนี้ 110 , 118 , 130 , 150 , 150 , 160 , 170 , 180 , 190 , 210 , 220 , 230 , 240 จะไดมัธยฐานขอมูลชุดใหม เทากับ 170 ซึ่งจะพบวามัธยฐานของขอมูลชุดใหม เทากับมัธยฐานของขอมูลชุดเดิม ดังนั้น ตัวเลือก 2. เปนไปได
  • 32. หนา |31 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. 3. สมมติให x เปนขอมูลที่เพิ่มเขาไปใหม จากขอมูลชุดเดิมมีคามัธยฐานเทากับ 170 และตองการคามัธยฐานของขอมูลชุดใหมเพิ่มขึ้นจากเดิม 20% แสดงวาคามัธยฐานขอมูลชุดใหม เทากับ 120% ของ 170 ซึ่งเทากับ 120 170 204 100   แตจากขอมูลชุดใหมที่เพิ่ม x เขาไป จะไดเปน กรณีที่ 1. 110 , 118 , 130 , 150 , 150 , x, 160 , 180 , 190 , 210 , 220 , 230 , 240 กรณีที่ 2. 110 , 118 , 130 , 150 , 150 , 160 , x , 180 , 190 , 210 , 220 , 230 , 240 กรณีที่ 3. 110 , 118 , 130 , 150 , 150 , 160 , 180 , x , 190 , 210 , 220 , 230 , 240 จะพบวาทุกกรณี คามัธยฐานขอมูลชุดใหมนอยกวา 204 ดังนั้น ตัวเลือก 3. ไมเปนไปได 4. ถาเพิ่มขอมูลเขาไปดวย 170 ขอมูลทั้ง 13 จํานวนเรียงจากนอยไปมากไดดังนี้ 110 , 118 , 130 , 150 , 150 , 160 , 170 , 180 , 190 , 210 , 220 , 230 , 240 จะไดพิสัยขอมูลชุดใหม เทากับ 240 – 110 = 130 ซึ่งจะพบวาพิสัยของขอมูลชุดใหม เทากับพิสัยของขอมูลชุดเดิม ดังนั้น ตัวเลือก 4. เปนไปได 5. จากขอมูลชุดเดิมมีพิสัยเทากับ 130 และตองการพิสัยของขอมูลชุดใหมเพิ่มขึ้นจากเดิม 20% แสดงวาพิสัยขอมูลชุดใหมเทากับ 120% ของ 130 ซึ่งเทากับ 120 130 156 100   ถาเพิ่มขอมูลเขาไปดวย 266 ขอมูลทั้ง 13 จํานวนเรียงจากนอยไปมากไดดังนี้ 110 , 118 , 130 , 150 , 150 , 160 , 180 , 190 , 210 , 220 , 230 , 240 , 266 จะไดวาพิสัยของขอมูลชุดใหมเทากับ 266 – 110 = 156 ซึ่งจะเพิ่มขึ้นจากเดิม 20% ดังนั้น ตัวเลือก 5. เปนไปได จากการพิจารณาจะพบวาเมื่อผองศรีเพิ่มขอมูลใหมเขาไปในขอมูลชุดเดิมแลว ขอมูลชุดใหมมีมัธยฐานเพิ่มขึ้น 20% เปนไปไมได  -------------
  • 33. หนา |32 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. ขอ 24. ตอบ 1 แนวคิด ขอมูลแสดงภูมิลําเนาของพนักงานในบริษัทแหงหนึ่ง เปนดังนี้ ภูมิลําเนา จํานวนพนักงาน (คน) ภาคเหนือ 90 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 30 ภาคกลาง 50 ภาคตะวันออก 20 ภาคใต 10 จากตาราง ขอมูล คือ ภูมิลําเนา ความถี่ของขอมูล คือ จํานวนพนักงาน ซึ่งจะพบวา ขอมูลภูมิลําเนา เปนขอมูลเชิงคุณภาพ ดังนั้นคากลางที่เหมาะสมสําหรับขอมูลชุดนี้คือ ฐานนิยม ซึ่ง ภูมิลําเนา ภาคเหนือ มีจํานวนพนักงาน(ความถี่) มากที่สุด ดังนั้นคากลางที่ใชเปนตัวแทนของภูมิลําเนาของพนักงานในบริษัทแหงนี้คือ ฐานนิยม คือ ภาคเหนือ  ------------- ขอ 25. ตอบ 3. แนวคิด โรงเรียนแหงหนึ่งมีชมรมสําหรับนักเรียน 3 ชมรม คือ ชมรมกีฬา ชมรมศิปวัฒนธรรม และชมรมวิทยาศาสตร นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายทุกคนตองสมัครเขาชมรมคนละหนึ่งชมรม ตารางแสดงจํานวนนักเรียนในแตละชมรม เปนดังนี้ นักเรียนชั้น จํานวนนักเรียนในแตละชมรม (คน) กีฬา ศิลปวัฒนาธรรม วิทยาศาสตร ม.4 85 95 120 ม.5 125 75 100 ม.6 95 100 105 รวม 305 270 325
  • 34. หนา |33 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. จากตารางนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย มีทั้งหมด 305 + 270 + 325 = 900 คน สุมนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายมา 1 คน จะไดทั้งหมด 900 วิธี นั่นคือ n(S) = 900 จากตารางนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่อยูชมรมกีฬาและไมใชนักเรียนชั้น ม.4 มีทั้งหมด 125 + 95 = 220 คน สุมนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่อยูชมรมกีฬาและไมใชนักเรียนชั้น ม.4 มา 1 คน จะไดทั้งหมด 220 วิธี นั่นคือ n(E) = 220 ดังนั้น ความนาจะเปนที่จะไดนักเรียนที่อยูชมรมกีฬาและไมใชนักเรียนชั้น ม.4 เทากับ n(E) n(S) = 220 11 900 45   ------------- ขอ 26. ตอบ 1. แนวคิด กําหนดให  S 9 , 8 , 7 , ... , 1 , 0 , 1 , 2 , 3 , 4 , 5     จะพบวา S มีสมาชิกทั้งหมด 15 ตัว ดังนั้นสุมสมาชิก 1 ตัวจาก S จะไดทั้งหมด 15 วิธี พิจารณาเหตุการณ E ซึ่งเปนเหตุการณที่มี a เปนสมาชิกหนึ่งตัวของ S ที่ทําให a a 0  เนื่องจาก a a 0  ก็ตอเมื่อ a a  ก็ตอเมื่อ a  0 จะได E = {–9 , –8, –7, –6, –5, –4, –3, –2, –1, 0} จะพบวา E มีสมาชิกทั้งหมด 10 ตัว ดังนั้นสุมสมาชิก a ตัวจาก S ที่ทําให a a 0  จะไดทั้งหมด 10 วิธี ดังนั้นความนาจะเปนที่สุมสมาชิก a หนึ่งตัวจาก S ที่ทําให a a 0  เทากับ 10 2 15 3   -------------
  • 35. หนา |34 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. ขอ 27. ตอบ 4. แนวคิด กลองใบหนึ่งบรรจุสลาก 5 ใบ ที่มีหมายเลข 1 , 3 , 5 , 7 , 9 ใบละหนึ่งหมายเลข สุมหยิบสลากในกลองนี้ขึ้นมาสองใบ โดยหยิบทีละใบแบบไมใสคืน หมายเลขที่ไดมาประกอบเปนจํานวนสองหลัก โดยหมายเลขบนสลากใบแรกและใบที่สอง เปนเลขโดดในหลักสิบและเปนเลขโดดในหลักหนวย ตามลําดับ จะไดผลลัพธทั้งหมด S = {13, 15, 17, 19, 31, 35, 37, 39, 51, 53, 57, 59, 71, 73, 75, 79, 91, 93, 95, 97} n(S) = 20 ให E แทนเหตุการณจํานวนสองหลักจากผลลัพธทั้งหมดมีคานอยกวา 60 E = {13, 15, 17, 19, 31, 35, 37, 39, 51, 53, 57, 59} n(E) = 12 ดังนั้น ความนาจะเปนที่จะไดจํานวนสองหลักที่นอยกวา 60 เทากับ n(E) 12 3 n(S) 20 5    ------------- ขอ 28. ตอบ 3. แนวคิด เนื่องจาก ความถี่สัมพัทธของแตละอันตรภาคชั้น เทากับ ความถี่ของอัตรภาคชั้น ผลรวมของความถี่ทุกอัตรภาคชั้น แสดงวา ความนาจะเปนที่จะสุมขอมูล 1 คา โดยมีคาอยูในแตละอันตรภาคชั้น จะมีคาเทากับ ความถี่สัมพัทธของอัตรภาคชั้นนนั้น ...(*) โดยสมบัติ ผลบวกของความถี่สัมพัทธของทุกอันตรภาคชั้น เทากับ 1 จากตารางแสดงน้ําหนัก (กรัม) ตอผล ของมะนาวจากสวนแหงหนึ่ง ที่โจทยกําหนดให จะไดความถี่สัมพัทธของอัตรภาคชั้นที่เหลือ ดังนี้
  • 36. หนา |35 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. น้ําหนัก (กรัม) ตอผล ความถี่สัมพัทธ ความถี่สะสมสัมพัทธ 20 – 29 0.25 0.25 30 – 39 0.40 – 0.25 = 0.15 0.40 40 – 49 0.70 – 0.40 = 0.30 0.70 50 – 59 1 – (0.25 + 0.25 + 0.15+0.30) = 0.05 60 – 69 0.25 สุมมะนาวจากสวนแหงนี้มา 1 ผล ความนาจะเปนที่จะไดมะนาวที่มีน้ําหนักอยูในชวง 40 – 59 กรัม เทากับ 0.30+ 0.05 = 0.35  ------------- ตอนที่ 2 ขอ 29. ตอบ 2 แนวคิด โดยสมบัติของคาสัมบูรณ x 0 สําหรับทุกจํานวนจริง x จากสมการ | a 5 | | b 7 | 0    แสดงวา | a 5 | 0  และ | b 7 | 0  a 5 0  และ b 7 0  a = –5 และ b = 7 ดังนั้น a + b = –5 + 7 = 2  ------------- ขอ 30. ตอบ 15 แนวคิด เมื่อวินัยยืนอยูที่โคนเสา A เขามองขึ้นไปบนยอดเสา B เปนมุมเงยขนาด 30 องศา และเมื่อวินัยยืนอยูที่โคนเสา B เขามองขึ้นไปยอดเสา A เปนมุมเงยขนาด 60 องศา โดยที่เสา A สูง 45 เมตร เนื่องจากมุมเงยมองยอดเสา B นอยกวา มุมเงยที่มองยอดเสา A แสดงวาความสูงเสา B นอยกวา ความสูงเสา A ดังรูป
  • 37. หนา |36 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. จากรูปสามเหลี่ยม PQR จะได PQ tan60 PR  45 3 PR  3(PR) 45 45 PR 3  45 3 PR 3   PR 15 3 จากรูปสามเหลี่ยม PRS จะได RS tan 30 PR  1 RS 3 15 3  15 3 RS 3  15 RS ดังนั้นเสา B สูง 15 เมตร  ------------- ขอ 31. ตอบ 3 แนวคิด จาก A {1 , 2 , a, b , c} {1 , b , c}  จะได A = {2, a} จาก B {2 , 3 , c} {2 , b , d}  จะได B = {2, 3, b, c, d} 45เสา A เสา B 60 30 P Q R S
  • 38. หนา |37 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. จาก C {1 , 2 , 3 , b} {3 , a , b}  จะได C = {3, b} ดังนั้น B (A C)  =  {2,3,b,c,d} {2,a} {3,b}  = {2,3,b,c,d} {2,3,a,b} = {2, 3, b} จะพบวา จํานวนสมาชิกของเซต B (A C)  ) เทากับ 3  ------------- ขอ 32. ตอบ 9900 แนวคิด ให เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 1 ตารางหนวย พิจารณาการนํา มาวางตอกันแลวแรเงาบางรูป ตามแบบรูปตอไปนี้ ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3 จะพบความสัมพันธของจํานวนของรูปสี่เหลี่ยม ในแตละขั้น ดังนี้ ขั้นที่ จํานวนรูปสี่เหลี่ยมทั้งหมด จํานวนรูปสี่เหลี่ยมที่แรเงา จํานวนรูปสี่เหลี่ยมที่ไมแรเงา ขั้นที่ จํานวนรูปสี่เหลี่ยมทั้งหมด จํานวนรูปสี่เหลี่ยมที่แรเงา จํานวนรูปสี่เหลี่ยมที่ไมแรเงา 1 2  2 = 4 2 (2  2) – 2 = 4 2 3 3 = 9 3 (3 3) – 3 = 6 3 4  4 =16 16 (4  4) – 4 = 12     จากความสัมพันธที่ไดในตารางขางตน จะไดวาในขั้นที่ 99 มีรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 1 ตารางหนวย ซึ่งไมไดแรเงา ทั้งหมด (100 100) 100 9900   รูป  -------------
  • 39. หนา |38 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. ขอ 33. ตอบ 27 แนวคิด กําหนดลําดับเลขคณิต 2 , 9, 16 , ... จะพบวา พจนแรก ( 1a ) เทากับ 2 ผลตางรวม (d) เทากับ 9 – 2 = 7 จากสูตรพจนทั่วไปของลําดับเลขคณิต n 1a a (n 1)d   จะไดพจนทั่วของลําดับ 2 , 9, 16 , ... คือ na 2 (n 1)7   2 7n 7   7n 5  พิจารณาหาพจนที่มีคาของพจนนั้นอยูในชวง [180, 185] จากการแกอสมการ n180 a 185  แทน na 7n 5  ; 180 7n 5 185   185 7n 190  185 190 n 7 7   3 1 26 n 27 7 7   โดยที่ n เปนจํานวนนับ จะได n = 27 แสดงวาพจนที่ 27 มีคาอยูในชวง [180, 185]  ------------- ขอ 34. ตอบ 3 แนวคิด จากการสอบถาม เรื่องความชอบไอศกรีมรสวนิลาและรสสม ของเด็กอนุบาลจํานวน 40 คน พบวา มี 25 คน ชอบรสวนิลา 10 คน ชอบรสสม 8 คน ไมชอบทั้งรสวนิลาและรสสม
  • 40. หนา |39 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. ให U แทนเซตของเด็กอนุบาลทั้งหมด A แทนเซตของเด็กอนุบาลที่ชอบไอศกรีมรสวนิลา B แทนเซตของเด็กอนุบาลที่ชอบไอศกรีมรสสม จากที่โจทยกําหนดจะได n(A) = 25, n(B) = 10, n(A B ) 8   และ n( ) 40U โดยสมบัติ n(A B) n( ) n(A B )   U จะได n(A B) = 40 – 8 = 32 โดยสมบัติ n(A B) = n(A) + n(B) – n(A B) 32 = 25 + 10 – n(A B) 32 = 35 – n(A B) n(A B) = 35 – 32 n(A B) = 3 ดังนั้นมีเด็กอนุบาลที่ชอบทั้งรสวนิลาและรสสมจํานวน 3 คน  ------------- ขอ 35. ตอบ 9 แนวคิด โจทยกําหนดกราฟของ 2 f(x) ax bx c   ตัดแกน Y ที่จุด (0, 1) มีจุดวกกลับที่ (3, 0) ดังรูป 0 X Y 1 1 2 22 1 3 3 4 5 6 7 8 1
  • 41. หนา |40 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. โดยรูปมาตรฐานของฟงกชันกําหนดสองอีกแบบหนึ่งคือ 2 f(x) a(x h) k   เมื่อ (h, k) เปนจุดวกกลับ โดยที่กําหนดจุดวกกลับคือ (3, 0) จะได f(x) = 2 a(x 3) 0  = 2 a(x 3) ...(*) เนื่องจากจุด (0, 1) อยูบนกราฟของ f(x) แสดงวา f(0) = 1 ดังนั้น x = 0 ในสมการ (*) จะได f(0) = 2 a(0 3) แทน f(0) = 1 ; 1 = 9a a = 1 9 แทน a = 1 9 ใน (*) จะได f(x) = 21 (x 3) 9  ดังนั้น 2 21 1 1 f( 6) ( 6 3) ( 9) 81 9 9 9 9            ------------- ขอ 36. ตอบ 42 แนวคิด นักเรียนหองหนึ่งไดตกลงกันวา แตละคนจะทําการดอวยพรวันปใหมและสงใหเพื่อนๆ ในหองทุกคน โดยที่นักเรียนทุกคนในหองนี้ทําตามขอตกลง และมีบัตรอวยพรที่สงใหกันทั้งหมด 1,722 ใบ สมมติใหนักเรียนหองนี้มีจํานวน n คน โดยแตละคนสงการดอวยพรใหคนอื่นๆ 1 ใบ แสดงวานักเรียนแตละคนจะทําการดอวยพรจํานวน n – 1 ใบ ดังนั้นจํานวนการดทั้งหมดที่สงใหกันเทากับ n(n 1) ใบ ดังนั้นสมการคือ n(n – 1) = 1722 n(n – 1) = 42 41 ดังนั้น n = 42 แสดงวานักเรียนหองนี้มีทั้งหมด 42 คน  -------------
  • 42. หนา |41 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. ขอ 37. ตอบ 8 แนวคิด จากสมการ 2 |x 4| 33 27  จะได 2 |x 4| 3 33 (3 )  2 (3 ) |x 4| 33 3    |x 4| 2 3 3  แสดงวา x 4 2  x – 4 = 2 หรือ x – 4 = –2 x = 6 หรือ x = 2 คําตอบของสมการไดแก 2 , 6 ดังนั้นผลบวกของคําตอบของสมการ เทากับ 2 + 6 = 8  ------------- ขอ 38. ตอบ 7 แนวคิด กําหนดขอมูลชุดหนึ่งประกอบดวยจํานวนเต็มบวก 10 จํานวน ดังนี้ 5 , 6 , 9 , 6 , 10 , 5 , 9 , 8 , x , y โจทยกําหนดคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดนี้คือ 7.2 แสดงวา 5 + 6 + 9 + 6 + 10 + 5 + 9 + 8 + x 7.2 10 + y  7.2 1 5 x y 0 8    58 + x + y = 72 x + y = 14
  • 43. หนา |42 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. สมมติให x < y พิจารณาคา x, y ดังนี้ กรณีที่ 1 x = 1 , y = 13 จะไดขอมูล 10 จํานวนเรียงจากนอยไปมากดังนี้ 1, 5, 5, 6, 6, 8, 9, 9, 10, 13 ซึ่งจะไดวา มัธยฐาน เทากับ 6 8 7 2   กรณีที่ 2 x = 2 , y = 12 จะไดขอมูล 10 จํานวนเรียงจากนอยไปมากดังนี้ 2, 5, 5, 6, 6, 8, 9, 9, 10, 12 ซึ่งจะไดวา มัธยฐาน เทากับ 6 8 7 2   กรณีที่ 3 x = 3 , y = 11 จะไดขอมูล 10 จํานวนเรียงจากนอยไปมากดังนี้ 3, 5, 5, 6, 6, 8, 9, 9, 10, 11 ซึ่งจะไดวา มัธยฐาน เทากับ 6 8 7 2   กรณีที่ 4 x = 4 , y = 10 จะไดขอมูล 10 จํานวนเรียงจากนอยไปมากดังนี้ 4, 5, 5, 6, 6, 8, 9, 9, 10, 10 ซึ่งจะไดวา มัธยฐาน เทากับ 6 8 7 2   กรณีที่ 5 x = 5 , y = 9 จะไดขอมูล 10 จํานวนเรียงจากนอยไปมากดังนี้ 5, 5, 5, 6, 6, 8, 9, 9, 9, 10 ซึ่งจะไดวา มัธยฐาน เทากับ 6 8 7 2   กรณีที่ 6 x = 6 , y = 8 จะไดขอมูล 10 จํานวนเรียงจากนอยไปมากดังนี้ 5, 5, 6, 6, 6, 8, 8, 9, 9, 10 ซึ่งจะไดวา มัธยฐาน เทากับ 6 8 7 2   กรณีที่ 7 x = 7 , y = 7 จะไดขอมูล 10 จํานวนเรียงจากนอยไปมากดังนี้ 5, 5, 6, 6, 7, 7, 8, 9, 9, 10 ซึ่งจะไดวา มัธยฐาน เทากับ 7 7 7 2   จากรณีที่ 1 ถึงกรณีที่ 7 จะไดวา คามัธยฐานของขอมูลชุดนี้เทากับ 7  -------------
  • 44. หนา |43 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. ขอ 39. ตอบ 84 แนวคิด ผลการสอบของนักเรียนจํานวน 49 คน ปรากฏดังแผนภาพตน – ใบ 3 4 5 5 8 4 0 5 6 7 8 8 5 0 1 2 3 4 5 6 6 7 7 6 2 2 2 5 5 5 8 8 9 9 7 0 5 5 5 6 8 8 9 8 0 2 3 3 4 5 7 9 0 3 4 5 ตําแหนงของเปอรเซ็นไทลที่ 85 เทากับ 85(N 1) 100  = 85(49 1) 42.5 100   จากแผนภาพ ตน – ใบ จะไดวา ตําแหนงที่ 42 ขอมูลมีคาเทากับ 83 ตําแหนงที่ 43 ขอมูลมีคาเทากับ 84 ดังนั้น ตําแหนงที่ 42.5 ขอมูลมีคาเทากับ 83 84 83.5 2   นั่นคือเปอรเซ็นไทลที่ 85 เทากับ 83.5 คุณครูกําหนดวาจะใหระดับคะแนน 4 แกนักเรียนที่สอบไดสูงกวาเปอรเซ็นไทลที่ 85 นักเรียนกลุมนี้ที่ไดระดับคะแนน 4 ไดแกคนที่สอบคะแนน 84, 85, 87, 90, 93, 94, 95 ดังนั้น นักเรียนในกลุมที่ไดระดับคะแนน 4 ไดคะแนนต่ําสุด 84 คะแนน  -------------
  • 45. หนา |44 วันเสารที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 11.30 – 13.30 น. ขอ 40. ตอบ 0.9 แนวคิด วันทามีธนบัตรหนึ่งพันบาท 3 ฉบับ และธนบัตรหารอยบาท 2 ฉบับ ให T1 , T2 , T3 แทนธนบัตรหนึ่งพันบาท H1 , H2 แทนธนบัตรหารอยบาท วันทาสุมหยิบธนบัตรขึ้นมา 2 ฉบับพรอมกัน จะไดผลลัพธทั้งหมด ไดแก {T1, T2}, {T1, T3}, {T1, H1}, {T1, H2}, {T2, T3}, {T2, H1}, {T2, H2}, {T3, H1}, {T3, H2}, {H1, H2} ดังนั้น n(S) = 10 จะไดเหตุการณที่หยิบไดธนบัตรมีมูลคารวมกันมากกวา 1,200 บาท ไดแก {T1, T2}, {T1, T3}, {T1, H1}, {T1, H2}, {T2, T3}, {T2, H1}, {T2, H2}, {T3, H1}, {T3, H2}, ดังนั้น n(E) = 9 จะได ความนาจะเปนที่สุมไดธนบัตร 2 ฉบับมีมูลคารวมกันมากกวา 1,200 บาท เทากับ n(E) 9 0.9 n(S) 10    -------------

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง