โวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ คือ

8.  อย่าปรับโหมดฟังก์ชั่นการวัดขณะทำการวัดแรงดันอยู่  เช่น กำลังต่อสายวัดแรงดันไฟ  Vac อยู่  ห้ามปรับไปที่ย่านวัดตัวต้านทาน หรือย่านวัดอื่นๆเด็ดขาด ( มิเตอร์จะพัง)  กรณีต้องการเปลี่ยนโหมดฟังก์ชั่นการวัดต้องถอดสายวัดออกจากจุดวัดก่อนทุกครั้ง แล้วจึงค่อยเปลี่ยนโหมดฟังก์ชั่นการวัดและต่อสายวัดใหม่

มัลติมิเตอร์ ถือว่าเป็นเครื่องมือวัดที่จำเป็นสำหรับงานด้านอิเล็คทรอนิกส์ เพราะว่าเป็นเครื่องวัดที่ใช้ค่าพื้นฐานทางไฟฟ้าคือ แรงดันไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า ไม่ว่าจะเป็นการทดสอบหรือการตรวจซ่อมวงจรต่าง ๆ ก็จำเป็นต้องวัดค่าเหล่านั้นทั้งสิ้น มัลติมิเตอร์เป็นการรวม โวลต์มิเตอร์ แอมป์มิเตอร์ และ โอห์มมิเตอร์ ไว้ในตัวเดียวกัน และใช้มูฟเมนต์ตัวเดียว จึงเรียก “VOM” (Volt-Ohm-Milliammeter) นอกจากนี้ VOM ยังสามารถนำไปวัดค่าอื่น ๆ ได้อีก เช่น วัดอัตราการขยายกระแสของทรานซิสเตอร์ วัดค่าความดัง ฯลฯ ปัจจุบันมัลติมิเตอร์มีด้วยกัน 2 แบบคือ แบบเข็มชี้ แบบดิจิตอล

มัลติมิเตอร์ทั้ง 2 แบบนี้มีข้อดี ข้อเสียต่างกัน บางคนชอบแบบเข็มชี้ เพราะว่ามองเห็นการเปลี่ยนแปลงขึ้นลงอย่างชัดเจน ต่างกับแบบดิจิตอลซึ่งตัวเลขจะวิ่ง สังเกตค่าตัวเลขที่แน่นอนได้ยาก ยกเว้น ดิจิตอลมัลติมิเตอร์ บางรุ่นที่สามารถอ่านค่าตัวเลขออกมาได้ทันที สะดวกสบายไม่ต้องคำนึงถึงขั้วมิเตอร์ว่าวัดถูกหรือผิดเพราะว่ามีเครื่องหมาย บอกให้เสร็จ ส่วนแบบแอนาลอกจะมีปัญหาเรื่องนี้ และการไม่เป็นเชิงเส้นของสเกลด้วย

ส่วนประกอบภายนอกของมัลติมิเตอร์แบบเข็ม

1.สกรูปรับเข็มชี้ให้ตรงศูนย์
2.ย่านการวัดต่างๆ
3.ขั้วต่อขั้วบวก (+)ใช้ต่อสายวัดสีแดง
4.ขั้วต่อขั้วลบ (-)ใช้ต่อสายวัดสีดำ
5.ขั้วต่อเอาต์พุตเพื่อวัดความดัง
6.ปุ่มปรับ 0โอห์ม
7.สวิตช์ตัวเลือกย่านการวัด
8.เข็มชี้

ส่วนประกอบที่สำคัญของมัลติมิเตอร์แบบดิจิตอล

1. จอแสดงผล
2. สวิตซ์เปิด-ปิด
3. สวิตช์เลือกปริมาณที่จะวัดและช่วงการวัด สามารถเลือกการวัดได้ 8 อย่าง ดังนี้
3.1 DCV สำหรับการวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสตรง มี 5 ช่วงการวัด
3.2 ACV สำหรับการวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสสลับ มี 5 ช่วงการวัด
3.3 DCA สำหรับการวัดปริมาณกระแสตรง มี 3 ช่วงการวัด
3.4 ACA สำหรับการวัดปริมาณกระแสสลับ มี 2 ช่วงการวัด
3.5 สำหรับการวัดความต้านทาน มี 6 ช่วงการวัด
3.6 CX สำหรับการวัดความจุไฟฟ้า มี 5 ช่วงการวัด
3.7 hFE สำหรับการวัดการขยายกระแสตรงของทรานซิสเตอร์
3.8 สำหรับตรวจสอบไดโอด
4. ช่องเสียบสายวัดร่วม ใช้เป็นช่องเสียบร่วมสำหรับการวัดทั้งหมด (ยกเว้นการวัด CX และ hFE ไม่ต้องใช้สายวัด)
5. ช่องเสียบสายวัด mA สำหรับวัด DCA และ ACA ที่มีขนาด 0-200 mA
6. ช่องเสียบสายวัด 10A สำหรับวัด DCA และ ACA ที่มีขนาด 200 mA-10A
7. ช่องเสียบสำหรับวัดการขยายกระแสตรงของทรานซิสเตอร์
8. ช่องเสียงสำหรับวัดความจุไฟฟ้า
9. ช่องเสียบสายวัด V

Advertisement

ปิดความเห็น บน มัลติมิเตอร์

 

การใช้โวลต์มิเตอร์ก็เช่นเดียวกับแอมมิเตอร์ ซึ่งมี 2 แบบคือ ใช้กับไฟฟ้ากระแสตรงและไฟฟ้ากระแสสลับ เมื่อต้องการใช้โวลต์มิเตอร์วัดความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่าง จุด 2 จุด ในวงจรไฟฟ้ากระแสตรง จะต้องคำนึงถึงขั้วบวกและขั้วลบด้วย โดยต่อขั้วบวกของโวลต์มิเตอร์เข้ากับขั้วบวกของวงจร และต่อขั้วลบของโวลต์มิเตอร์เข้ากับขั้วลบของวงจร การที่กระแสไฟฟ้าไหลอันเนื่องมาจากความต่างศักย์ไฟฟ้าที่เกิดขึ้นที่ขั้วของแหล่งกำเนิดไฟฟ้าแต่ละชนิดก็จะไม่เท่ากัน เช่น ถ่านไฟฉายมีความต่างศักย์ไฟฟ้าประมาณ 1.5 โวลต์ แบตเตอรี่รถยนต์มีความต่างศักย์ไฟฟ้า 12 โวลต์ ส่วนสายไฟภายในบ้านมีความต่างศักย์ไฟฟ้าประมาณ 220 โวลต์ทั้งนี้ถ้าความต่างศักย์ไฟฟ้ามีค่ามากขึ้นระดับพลังงานไฟฟ้าก็จะมากขึ้นด้วย ซึ่งจะมีผลและเป็นอันตรายต่อชีวิตของมนุษย์มากขึ้นด้วยเช่นกัน

    //sites.google.com/site/sattapolparsawai62/home/wolt-mitexr

โวลต์มิเตอร์ ต่อแบบไหน

การใช้โวลต์มิเตอร์ก็เช่นเดียวกับแอมมิเตอร์ ซึ่งมี 2 แบบคือ ใช้กับไฟฟ้ากระแสตรงและไฟฟ้ากระแสสลับ เมื่อต้องการใช้โวลต์มิเตอร์วัดความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่าง จุด 2 จุด ในวงจรไฟฟ้ากระแสตรง จะต้องคำนึงถึงขั้วบวกและขั้วลบด้วย โดยต่อขั้วบวกของโวลต์มิเตอร์เข้ากับขั้วบวกของวงจร และต่อขั้วลบของโวลต์มิเตอร์เข้ากับขั้วลบของวงจร

ข้อใดคือหน้าที่ของโวลต์มิเตอร์

เครื่องวัดแรงดันไฟฟ้าหรือโวลต์มิเตอร์เป็นมิเตอร์ที่สร้างขึ้นมาเพื่อใช้วัดความต่างศักย์ ไฟฟ้า (แรงดันไฟฟ้า) ระหว่างจุดสองจุดในวงจรความจริงแล้วโวลต์มิเตอร์ก็คือแอมมิเตอร์

การวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับต่อสายมิเตอร์อย่างไร

ขั้นตอนการวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับมีดังนี้ 1. ต่อสายวัดสีแดงเข้าที่ขั้วต่อ VΩ (หมายเลข 13) 2. ต่อสายวัดสีด าเข้าที่ขั้วต่อ COM (หมายเลข 14) 3. ปรับสวิตช์เลือกย่านวัดไปที่ V~ (หมายเลข 9) โดยตั้งค่าสูงไว้ก่อนเมื่ออ่านค่าไม่ได้ แล้วจึงค่อย ๆ ลดลงมาย่านที่เหมาะสม 4. ท าการวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับโดยต่อวัดแบบขนานกับวงจร แสดง ...

โวลต์มิเตอร์ (Voltmeter) ใช้วัดค่าใด

โวลต์มิเตอร์ โวลต์มิเตอร์ คือ เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ระหว่างจุด 2 จุด ในวงจรความต้านทานภายในของเครื่องโวลต์มิเตอร์มีค่าสูง วิธีใช้ต้องต่อขนานกับวงจร เครื่องมือที่ใช้วัดค่าความต่างศักย์ในวงจรไฟฟ้า ค่าที่วัดได้มีหน่วย โวลต์

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง