Best practice โรงเรียนเศรษฐกิจพอเพียง

          ในการนี้ ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ขอแสดงความยินดีกับโรงเรียนชุมชนใหม่ โรงเรียนคู่เคียงมหาวิทยาลัย ในโอกาสได้รับรางวัลดังกล่าว และพร้อมสำหรับการร่วมขับเคลื่อนงาน สู่เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในอนาคต

มิ.ย.252019

bestPractice

โครงการเกษตรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

โครงการเกษตรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

download : Best Practice  กลุ่มอาชีพการเกษตรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

Category: bestPracticeBy rpg39มิถุนายน 25, 2019

Author: rpg39

//www.rpg39.ac.th

Post navigation

PreviousPrevious post:Best Practice ผลิตภัณฑ์จากงานไม้NextNext post:Best Pratice ผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่น

Related Posts

การผลิตน้ำพริกมะขาม
มิถุนายน 25, 2019

Best Pratice ผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่น
มิถุนายน 25, 2019

Best Practice ผลิตภัณฑ์จากงานไม้
มิถุนายน 25, 2019

พษิ ณโุ ลก เขต ๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ มีทกั ษะการทาเศรษฐกจิ พอเพยี งรปู แบบ เรยี นรู้บรู ณาการหลักปรัชญาของ

เศรษฐกจิ พอเพียง( มินิฟารม์ )
๓) นกั เรียนและผปู้ กครอง ชุมชน ร้อยละ ๘๐ มคี วามพงึ พอใจในการจัดการเรียนการสอนผ่านสื่อ

ออนไลน์ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน
3.๒.๒ เชิงคณุ ภำพ
๑) โรงเรยี นวัดเหลา่ ขวัญ(จา่ งอนุเคราะห)์ เป็นโรงเรยี นตน้ แบบเศรษฐกจิ พอเพียงรูปแบบ เรียนรู้

บูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง( มินิฟาร์ม)

๔. วธิ กี ารปฏบิ ตั สิ ู่ความเปน็ เลศิ Best Practice

นา LAOKWAN MODEL มาใช้ในการจดั การเรยี นรู้บูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
( มนิ ฟิ ารม์ ) โรงเรยี นวดั เหล่าขวัญ(จา่ งอนุเคราะห)์

๔.๑. ขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน PDCA L, A, O

ศกึ ษาสภาพปัจจบุ นั ปัญหาและความตอ้ งการ
P

ประชุม ปรึกษา หารือ สรา้ งความตระหนกั ใหก้ บั บุคลากรและผปู้ กครอง

D ดาเนินการจดั กิจกรรมตามวตั ถุประสงค์ K, W
O
ผบู้ ริหารควบคุม นิเทศ กากบั ติดตาม
C A, N

คณะครูรายงานผลการดาเนินงาน 3Q

A ประเมินผล และดาเนินการอยา่ งต่อเนื่อง

4.2 กจิ กรรม/วธิ กี ำร/ระยะเวลำดำเนินกำร
แบง่ เป็น 2 ระยะ

- พฤษภำคม – กนั ยำยน 2564
- ตลุ ำคม – มนี ำคม 2565
ระยะท่ี 1

กจิ กรรมหลัก วิธีกำรหลกั ข้นั ตอนสำคญั ระยะเวลำ
ดำเนนิ กำร
1. ขออนมุ ัติ 1.1 จดั ทาโครงการและเสนอ 1.1.1 ศึกษาเกีย่ วกับ “ปรชั ญาของ พฤษภำคม –
โครงการและวาง ขออนุมัตโิ ครงการ เศรษฐกจิ พอเพียง” และแนวนโยบายท่ี กนั ยำยน 2564
เกี่ยวขอ้ ง เพอื่ จดั ทากรอบแนวคิดของ
แผนการดาเนนิ 1.2 วางแผนการดาเนิน โครงการ พฤษภำคม –
โครงการ (P) โครงการ 1.1.2 ยกร่างและจดั วางโครงการ และ กนั ยำยน 2564
เสนอขออนมุ ัติโครงการ
2.ปฏิบัติงานตาม 2.1 ค้นคว้า หาข้อมูล 1.1.3 ออกแบบกระบวนการ และจัด
แผนงาน วางขน้ั ตอนการดาเนนิ งานโครงการ
กระบวนการและ เครอื ข่ายแหลง่ เรียนรู้ 1.2.1 วางแผนการปฏิบตั ิงานตาม
ขนั้ ตอนการ “ปรชั ญาของเศรษฐกจิ กระบวนการและข้นั ตอนการดาเนนิ งาน
ดาเนินงาน (D) 2.1.1 ศึกษา ค้นคว้า รวบรวม ความรู้ที่
พอเพียง”ในชมุ ชนเหลา่ ขวญั เกยี่ วกับแหลง่ เรยี นรู้“ปรัชญาของ
2.2 รวบรวม สือ่ “ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพยี ง” ในชุมชนเหลา่ ขวัญ
ของเศรษฐกจิ พอเพียง” 2.2.1 จดั หาสอื่ เอกสาร และสอ่ื
อิเลคทรอนิคส์
2.3 สร้างศูนย์เรยี นรฯู้ มินิ 2.3.1 สร้างศูนยเ์ รยี นร้ฯู มนิ ฟิ ารม์ และ
ฟารม์ และดาเนนิ การจดั ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรยี นร้ฯู ตาม
แผนการปฏิบัติการประจาปกี ารศึกษา
กจิ กรรมการเรยี นรฯู้ ตาม 2564
แผนการปฏิบัติการ 2.4.1 ดาเนินการเผยแพรผ่ ลการจดั
2.4 ดาเนินการเผยแพร่ผล กจิ กรรม ในชอ่ งทางทหี่ ลากหลาย เช่น
บน Facebook , line และ อืน่ ๆ
การจดั กิจกรรม ในชอ่ งทางที่
หลากหลาย

3.ติดตามผลการ 3.1 ตรวจสอบผลลัพธ์ 3.1.1 กาหนดเปา้ หมาย ผลลพั ธ์ และ พฤษภำคม –
ดาเนนิ งาน (C)
(Output Outcome) ของ เกณฑ์การประเมนิ เป้าหมาย ผลลัพธ์ กันยำยน 2564
4. ปรบั ปรงุ
พฒั นา (A) โครงการ 3.1.2 ติดตามผลการดาเนนิ งาน โดยใช้

3.2 ตรวจสอบกระบวนการ แบบสอบถามหรอื จากการสังเกตตดิ ตาม

(Process) ของโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจรงิ

3.2.1 กาหนดเป้าหมาย และเกณฑก์ าร

ประเมนิ กระบวนการ

3.2.2 ติดตามผลการดาเนนิ งาน โดยใช้

แบบสอบถามหรือจากการสงั เกตติดตาม

ผลที่เกดิ ขึน้ จริง

3.3 ตรวจสอบปัจจยั ปอ้ น 3.3.1 การสนับสนุนโครงการ

(Input) การดาเนินโครงการ 3.3.2 ทักษะการดาเนนิ งานของผจู้ ัดทา

3.4 จัดทาสรปุ ผล รายงาน โครงการ

และเผยแพร่ Best Practice 3.4.1 จดั ทาสรุปผลรายงาน Best พฤษภำคม –

(รอบที่ 1) Practice (รอบท่ี 1) กนั ยำยน 2564

3.4.2 เผยแพร่ Best Practice (รอบที่

1) ท้ังแบบเอกสารกระดาษ และเอกสาร

อเิ ลคทรอนคิ ส์

4.1 นาผลจากการตรวจสอบ 4.1 นาผลจากการตรวจสอบตดิ ตามผล พฤษภำคม –

ติดตามผลการดาเนินงาน มา การดาเนนิ งาน ในขัน้ ตอนท่ี 3 (Check) กันยำยน 2564

คิดคน้ และวางแผนปรบั ปรุง มาคดิ คน้ และวางแผนปรบั ปรุง

พัฒนาคุณภาพการดาเนินงาน พัฒนาการดาเนนิ งาน

อย่างตอ่ เนอื่ ง 4.2 ดาเนนิ การพัฒนา ปรับปรงุ คุณภาพ

อย่างต่อเนือ่ ง ตามวงจรคุณภาพ

PDCA

ระยะที่ 2 ระหวำ่ งเดอื น ตุลำคม – มนี ำคม 2565

กจิ กรรมหลกั วธิ กี ำรหลัก ขัน้ ตอนสำคญั ระยะเวลำ
ดำเนนิ กำร
1. วางแผน 4.1 นาผลจากการตรวจสอบ
ปรบั ปรงุ พัฒนา ติดตามผลการดาเนินงาน มา 4.1.1 นาผลจากการดาเนนิ งานในระยะที่ ตลุ ำคม –
จากการ คิดค้นและวางแผนปรับปรงุ มนี ำคม 2565
ดาเนนิ งานใน พัฒนาคณุ ภาพการดาเนนิ งาน 1 มาคิดคน้ และวางแผนปรับปรงุ พฒั นา
ระยะที่ 1 (P2) อย่างต่อเนื่อง (A P) คณุ ภาพการดาเนินงาน (A )
2.ปฏบิ ตั ิงานตาม 2.1 คน้ ควา้ หาข้อมลู
แผนงาน เครือขา่ ยแหล่งเรยี นรู้ 4.1.2 วางแผนการดาเนนิ งานในระยะท่ี
กระบวนการและ “ปรัชญาของเศรษฐกจิ
ขนั้ ตอนการ พอเพียง”ในชุมชน 2 (P2)

2.1.1 ศกึ ษา คน้ คว้า รวบรวม ความรู้ท่ี ตุลำคม –
เกีย่ วกับแหลง่ เรียนรู้“ปรชั ญาของ มีนำคม 2565

เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่”

ในชมุ ชน

ดาเนินงาน (D2) 2.2 รวบรวม สอ่ื “ปรชั ญา 2.2.1 จัดหาสือ่ เอกสาร และสื่อ

3.ติดตามผลการ ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” อิเลคทรอนคิ ส์
ดาเนินงาน (C2)
2.3 สร้างศนู ย์เรยี นรู้ฯ มินิ 2.3.1 ดาเนนิ การพัฒนาศนู ย์เรยี นรฯู้
4. ปรบั ปรงุ
พฒั นา (A2) ฟารม์ และดาเนินการจัด และดาเนินการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้

กจิ กรรมการเรียนรู้ฯตาม ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตาม

แผนการปฏบิ ตั ิการ แผนการปฏบิ ัติการประจาปกี ารศึกษา

2.4 ดาเนนิ การเผยแพร่ผล 2564

การจดั กิจกรรม ในช่องทางท่ี 2.4.1 ดาเนนิ การเผยแพร่ผลการจัด

หลากหลาย กิจกรรม ในชอ่ งทางท่หี ลากหลาย เชน่

2.5 เชื่อมโยงเครอื ขา่ ยฯ ท้งั บน Facebook , line และ อ่นื ๆ

ในโรงเรยี น และนอกโรงเรยี น 2.5.เชื่อมโยงเครอื ข่ายฯ ท้งั ในโรงเรียน

และนอกโรงเรียน

3.1 ตรวจสอบผลลพั ธ์ 3.1.1 กาหนดเปา้ หมาย ผลลัพธ์ และ ตลุ ำคม –
(Output Outcome) ของ เกณฑ์การประเมิน เปา้ หมาย ผลลพั ธ์ มีนำคม 2565

โครงการ 3.1.2 ตดิ ตามผลการดาเนนิ งาน โดยใช้

แบบสอบถามหรือจากการสังเกตติดตาม

ผลที่เกดิ ขึ้นจรงิ

3.2 ตรวจสอบกระบวนการ 3.2.1 กาหนดเปา้ หมาย และเกณฑก์ าร

(Process) ของโครงการ ประเมนิ กระบวนการ

3.2.2 ตดิ ตามผลการดาเนินงาน โดยใช้

แบบสอบถามหรอื จากการสงั เกตตดิ ตาม

ผลที่เกิดขนึ้ จรงิ

3.3 ตรวจสอบปัจจัยป้อน 3.3.1 การสนับสนุนโครงการ

(Input) การดาเนนิ โครงการ 3.3.2 ทกั ษะการดาเนนิ งานของผู้จดั ทา

โครงการ

3.4 จัดทาสรุปผล รายงาน 3.4.1 จัดทาสรปุ ผลรายงาน Best ตลุ ำคม –
มีนำคม 2565
และเผยแพร่ Best Practice Practice (รอบท่ี 2)

(รอบที่ 1) 3.4.2 เผยแพร่ Best Practice (รอบท่ี

2) ท้ังแบบเอกสารกระดาษ และเอกสาร

อิเลคทรอนิคส์

3.4 จัดทาสรุปผล รายงาน 4.1 นาผลจากการตรวจสอบติดตามผล ตุลำคม –
และเผยแพร่ Best Practice การดาเนนิ งาน ในขัน้ ตอนท่ี 3 (Check) มีนำคม 2565

(รอบที่1) มาคิดค้นและวางแผนปรับปรุง พฒั นาการ

4.1 นาผลจากการตรวจสอบ ดาเนนิ งาน

ตดิ ตามผลการดาเนินงาน มา 4.2 ดาเนนิ การพัฒนา ปรบั ปรงุ คุณภาพ

คิดค้นและวางแผนปรับปรงุ อยา่ งต่อเนอ่ื ง ตามวงจรคุณภาพ P D C A

พัฒนาคณุ ภาพการดาเนินงาน

อย่างตอ่ เนอื่ ง

ฐานท่ี 1 เกษตรชนบท

จดุ ประสงค์
1.เพอ่ื นำหลกั ปรชั ญำเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั และสำมำรถนำประสบกำรณจ์ ำก

โรงเรยี นไปประกอบอำชพี ได้
2.เพ่อื ใหน้ กั เรยี นไดร้ บั ประทำนผกั ปลอดสำรพษิ

ขนั้ ตินการดาเนินงาน
1.นกั เรยี นเลอื กฐำนทส่ี นใจและเขำ้ พบครูประจำฐำน
2.ครูและนกั เรยี นร่วมกนั ปลกู ผกั ในหลมุ ขำ้ งโรงแปลงผกั โดยปลูกตน้ มะเขอื พรกิ
3.จดั ซอ้ื อปุ กรณ์ทำโครงท่อ PVC สำหรบั ใชป้ ลกู ไมเ้ ลอ้ื ย และผกั อน่ื ๆ จำกนนั้ ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั

ปลกู ผกั ทข่ี ำ้ งๆ โครง PVC หลงั โรงเรยี น
3.ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั ปรบั ภูมทิ ศั น์หน้ำโรงแปลงผกั จำกนนั้ ใหน้ กั เรยี นเตรยี มเคลยี หน้ำดินในโรง

แปลงผกั จำนวน 7 แปลง โดยปลกู ผกั คะน้ำ 4 แปลง ผกั บงุ้ 3 แปลง
4.ครูเชญิ วทิ ยำกรภำยนอกมำใหค้ วำมรแู้ ก่นกั เรยี นเรอ่ื งกำรปลกู ผกั สลดั แบบน้ำและแบบดนิ
5.ครใู หน้ กั เรยี นชว่ ยกนั เพำะเมลด็ ผกั สลดั ในถำดจำนวน 6 ถำด จำกนนั้ ชว่ ยกนั ปลกู ผกั สลดั แบบน้ำ

และแบบดนิ โดยครูไดเ้ ตรยี มตน้ กลำ้ ไวใ้ ห้
6.ครจู ดั เวรในกำรรดน้ำตน้ ไมใ้ นทุกวนั
7.รอกำรเกบ็ เกย่ี วผลผลติ ส่งขำยใหฐ้ ำนเถำ้ แกน่ ้อย

ส่ิงท่ีได้รบั
1.นกั เรยี นไดเ้ รยี นรหู้ ลกั ปรชั ญำเศรษฐกจิ พอเพยี ง ไดฝ้ ึกกำรปฏบิ ตั จิ รงิ ในกำรปลูกผกั สวนครวั ผกั

สลดั และนกั เรยี นสำมำรถนำควำมรไู้ ปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้
2.นกั เรยี นไดร้ บั ประทำนผกั ปลอดสำรพษิ

ฐานที่ 2 ขยายพนั ธ์ุพืช

วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่อื สง่ เสรมิ และปลกู ฝงั ใหน้ กั เรียนนาแนวคดิ ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงนามาใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวันได้
2. เพอ่ื สรา้ งภูมคิ มุ้ กนั ทางสงั คมใหน้ กั เรยี นสามารถใช้ชวี ติ ได้อย่างสมดลุ ทา่ มกลางการเปลยี่ นแปลงต่างๆ
3. เพื่อใหน้ กั เรียนได้รบั ความร้คู วามเข้าใจปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง การแลกเปลีย่ นเรยี นรู้รว่ มกันของคนใน
ชมุ ชน
4. เพอื่ สง่ เสรมิ การพฒั นาเป็นกลมุ่ เศรษฐกิจพอเพียงในชุมชนต้นแบบและสรา้ งเครอื ข่ายในชมุ ชนตอ่ ไป
5. เพือ่ ส่งเสรมิ ให้นกั เรยี น ครอบครัว และชุมชนพง่ึ พาตนเอง

อปุ กรณ์
1.กรรไกรตัดแตง่ กิ่ง
2. มดี ตอนกิ่ง
3.ขุยมะพร้าว ต้องเป็นขุยมะพร้าวท่ีแชน่ า้ และผสมน้ายาเร่งรากไวอ้ ย่างนอ้ ยหนง่ึ คนื เพื่อลดความเป็นดา่ ง
4. เชอื กฟาง ขนาดความยาวประมาณ 15 ซม.

ขั้นตอนกำรดำเนนิ งำน
1.คดั เลอื กก่ิงมะนาว เป็นกิง่ กึง่ อ่อนก่งึ แก่หรือมสี องสีในกิง่ เดียวกนั คือเขียวอมเทา หรอื ก่งิ กระโดง
2.ใช้กรรไกรตัดแตง่ กิง่ ควน่ั กง่ิ ใหร้ อบ ใหร้ อยแผลหา่ งกนั ประมาณ 1-1.5 ซม. หรอื ระหว่างข้อทเ่ี กดิ ใบ ลอกเปลอื ก
ออก
3.ขดู เน้อื เยือ่ เจรญิ (ท่ออาหาร) โดยใช้มีดตอนกง่ิ ออกใหถ้ ึงเนื้อไม้โดยรอบรอยคว่นั กรดี รอบต้นบนรอยแผลบน 3-
5 รอย ยาวประมาณ 0.3 ซม. (บริเวณท่กี รีดน้จี ะงอกรากเร็วกวา่ )
4 .นาขุยมะพรา้ วที่ใสใ่ นถุงพลาสตกิ (ถุงน้าจ้มิ ) มากรดี เพอ่ื ใหห้ อ่ รอบรอยแผลได้ จากนั้นนาขยุ มะพรา้ วไปหุ้มที่แผล
5.ใชเ้ ชอื กฟาง รดั ทกี่ ระเปาะขยุ มะพร้าว แลว้ ดงึ ด้วยเชอื กใหแ้ นน่ ตัดเชอื กฟางทเี่ หลือท้ิงไป
6.สน้ิ สุดขน้ั ตอนการตอนก่ิงมะนาว รออกี หนึ่งเดอื นเมอ่ื รากงอก จงึ ตัดมาชาในถุง เพื่อรอการปลูกต่อไป

ส่ิงที่ไดร้ ับ
1.นักเรยี นไดร้ จู้ ักการขยายพันธ์ุพืชด้วยข้ันตอนต่างๆที่หลากหลาย
2.นักเรยี นสามารถขยายพนั ธุ์พืชเพือ่ เปน็ อาชพี เสรมิ ในชวี ติ ประจาวนั ได้

ฐำนที่ 3 กำรแปรรปู อำหำร

วัตถุประสงค์
1. เพ่ือสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การใชท้ รัพยากรทม่ี ีอย่ใู นโรงเรยี นใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สุด

2. เพือ่ ใหเ้ รยี นร้หู ลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงและนาไปปรบั ใชใ้ นการดารงชีวติ
3. เพ่ือเปน็ พื้นฐานในการหารายได้เสรมิ แกต่ นเอง ครอบครวั

ขัน้ ตอน
1. นกั เรยี นเลอื กเขา้ ฐานท่ตี นเองถนัดและสนใจ
2. ครูและนักเรียนร่วมกนั สารวจทรัพยากรตามฤดูการทีม่ ีอยูใ่ นโรงเรียน
3. ครูและนักเรียนนาทรัพยากรมาแปรรูปและถนอมอาหารโดยมีการทาขนมทองม้วนกล่ินใบเตย กลิ่น

ดอกอัญชนั การดองผัก การทานา้ ยาลา้ งจานจากมะนาว น้าใบเตยหอม วนุ้ ใบเตย น้ามะนาวดอง มะนาวกระจก
4. ดาเนินการแปรรปู และถนอมอาหารตามขอ้ ท่ี 3
5. จาหน่ายผลผลิตให้ฐานเถ้าแกน่ อ้ ย
6. ทาบัญชรี ายรับรายจา่ ยในฐาน

ประโยชนท์ ่ไี ด้รับ
1. นกั เรียนไดเ้ รยี นรแู้ ละตระหนกั ถึงความสาคญั ของทรพั ยากรทมี่ ีอยู่ในโรงเรียน
2. นักเรียนสามารถนาหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวันได้

3. นกั เรียนมีพนื้ ฐานในการหารายได้ให้แกต่ นเองและครอบครัว
4. นักเรียนได้เรยี นรวู้ ิธกี ารแปรรูปอาหารและการถนอมอาหารที่ถกู ตอ้ ง

ฐำนท่ี 4 ปยุ๋ ชวี ภำพ

วัตถุประสงค์
4. เพ่ือส่งเสริมและสนบั สนุนการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในโรงเรียนให้เกดิ ประโยชน์สูงสดุ

5. เพอ่ื ให้นักเรยี นได้บรโิ ภคผลผลติ ทางการเกษตรท่ไี ม่มีสารเคมีตกค้าง

ขนั้ ตอน
ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั นาใบไม้และเศษผกั ทม่ี ีอย่ใู นโรงเรียนหรอื ชมุ ชนมาไว้ในบอ่ ผลติ ป๋ยุ

ปุ๋ยใบกำ้ มปู
1. ครแู ละนักเรียนนาใบไม้มาเรียงเปน็ ช้ันสลับกับมูลวัว จากนั้นใช้จุลินทรีย์ (EM) ช่วยยอ่ ยลาดลงไปแล้ว

รดน้าสปั ดาห์ละ 1 ครงั้ ท้ิงไว้1 เดือน ทุกเดอื นจะใส่ EM ให้ใบกา้ มปู และรอจนเร่มิ ย่อยสลายกลายเป็นดิน
ป๋ยุ มลู ไส้เดือน

1. ครูและนกั เรยี นนามูลววั แชน่ ้าประมาณ 7 วัน เพ่อื ทาเปน็ เบดดิง้ (บา้ นไส้เดอื น)
2. ครแู ละนักเรียนนากะละมังมาเจาะรใู ห้ทัว่ ประมาณ 20-30 รู (เพื่อระบายน้า)
3. ครแู ละนักเรียนนามูลวัวที่แช่แลว้ มาใสก่ ะละมัง จากนัน้ ปล่อยไสเ้ ดือน (สายพนั ธ์ุ AF) ลงไปกะละมังละ
2.5-3 ขดี
4. นักเรยี นนานา้ มารดในกะละมงั ทกุ วนั และประกอบกับการน้าเศษผักหรอื อาหารมาใหไ้ ส้เดือน
5.เมอ่ื เวลาผ่านไป ประมาณ 20 วนั จะกลายเป็นมูลไส้เดือนทง้ั หมดกะละมัง ในนามูลไส้เดือนมาแยกออก
จากตวั ไสเ้ ดอื น ดว้ ยเครือ่ งปนั่ แยก
ประโยชน์ท่ีไดร้ บั
5. นักเรยี นได้เรยี นรู้และตระหนกั ถงึ ความสาคัญของดินท่ีเกดิ จากวธิ กี ารทางชีวภาพ
6. นกั เรียนนาความรไู้ ปใช้ตอ่ ยอดท่บี ้านได้
7. นักเรียนไดเ้ รียนรวู้ ธิ ีการทาป๋ยุ ชวี ภาพท่ีหลากหลาย

ฐำนที่ 5 เถำ้ แก่นอ้ ย

วัตถปุ ระสงค์
6. เพ่ือใหเ้ รยี นรูห้ ลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงและนาไปปรับใช้ในการดารงชวี ิต
7. เพื่อสง่ เสริมและสนับสนนุ การใช้ทรัพยากรที่มีอย่ใู นโรงเรียนใหเ้ กิดประโยชน์สูงสดุ
8. เพอ่ื ฝึกใหน้ ักเรียนไดฝ้ กึ เป็นนกั ขายและเรียนรหู้ ลกั การขาย การตอ่ รองราคาและ
การทารายรับ - รายจ่าย
9. เพือ่ ให้ได้เรอื่ งกาไร - ขาดทนุ และเปน็ พืน้ ฐานในการหารายไดเ้ สรมิ แก่ตนเอง ครอบครัว

ข้ันตอน
1. นกั เรยี นเลอื กเข้าฐานที่ตนเองถนดั และสนใจ
2. ครูและนักเรียนรว่ มกันสารวจผลผลิต และผลิตภณั ฑ์ทีม่ ีอยู่ในแตล่ ะฐานในโรงเรยี น
3. ครูและนกั เรยี นดาเนนิ การถ่ายทอดสดเพ่อื นาเสนอผลิตภัณฑ์ในแตล่ ะฐาน และเปดิ รบั ออเดอร์
4. จาหนา่ ยผลผลติ ให้แก่ชมุ ชนและผ้ปู กครอง
5. ทาบญั ชรี ายรับ - รายจา่ ยในฐาน

ประโยชนท์ ีไ่ ด้รับ
1. นักเรยี นได้เรยี นร้หู ลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและนาไปปรบั ใช้ในการดารงชีวิตให้เกิดประโยชนส์ ูงสดุ
2. นกั เรียนไดฝ้ ึกเปน็ นกั ขายและเรียนรหู้ ลกั การขาย การตอ่ รองราคาและการทารายรับ - รายจา่ ย
3. นกั เรยี นได้เรยี นรู้เรื่องกาไร - ขาดทุน และเปน็ พื้นฐานในการหารายได้เสริมแก่ตนเอง ครอบครัว

5. ผลทคี่ ำดว่ำจะไดร้ ับ
นักเรียนไดร้ ับความรู้จากการทค่ี รูและผูม้ คี วามรู้ถา่ ยทอด เร่ืองบรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

( มินิฟาร์ม) สามารถนา ความรู้ ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน ถ่ายทอดความรู้ให้บุคคลอื่นและสามารถนาไป
พัฒนาคุณภาพชวี ิตของตนเอง ครอบครวั ชมุ ชนได้ต่อไป

๖. ผลกำรดำเนินงำน
นักเรยี นโรงเรยี นวดั เหล่าขวญั (จา่ งอนุเคราะห)์ ต้ังแต่ระดับอนุบาล – มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ได้เรียนรบู้ รู ณาการ

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง( มนิ ฟิ าร์ม) ตามช่วงอายุของตน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 81.21

บทเรยี นท่ไี ด้รับ
สาหรับการนาผล Best Practice เรื่อง เรียนรู้บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง( มินิฟาร์ม)

โดยครู จัดกิจกรรมส่งเสริมโครงการในกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ กิจกรรมท่ีทาทุกวัน การรดน้า ดูแลผัก
ผลไม้ที่ตนเองปลูก บริเวณมินิฟาร์ม การนาผักผลไม้ไปรับประทาน การทาขนมทองม้วนเพื่อต่อยอดอาชีพของ
นกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 3 และการนาความรู้และผลผลิตไปเผยแพรใ่ หก้ บั ชมุ ชน ซึ่งต้องได้รับความร่วมมือจาก
ทุกภาคส่วน ท้ังนักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และโรงเรียนมีการจัดสภาพแวดล้อมรอบตัวนักเรียนที่ช่วยเสริมสร้าง
แรงจงู ใจในการเรียนรบู้ ูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง( มนิ ิฟารม์ ) เพ่อื การพฒั นาและสง่ ผลต่อคุณภาพ
ชีวติ แบบพอเพียงใหก้ บั นกั เรียนอยา่ งต่อเนื่อง

กำรเผยแพร่เอกสำร
๑. กลุ่มเครือข่ายอาเภอวัดโบสถผ์ ่านกลุ่มไลน์ผู้บรหิ าร
๒. กลุ่มไลนข์ องผู้ปกครอง
๓. เผยแพรใ่ นสานกั เขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาพษิ ณุโลกเขต ๓
๔. เผยแพร่ในเพจFace book ของโรงเรยี น
5. โรงเรียนบ้านหนองมะคัง อาเภอวดั โบสถ์
6. โรงเรยี นคันโช้ง อาเภอวัดโบสถ์
7. โรงเรยี นบา้ นบุ่งตารอด อาเภอนครไทย
8. โรงเรียนบ้านปลาไหล อาเภอวัดโบสถ์

กำรไดร้ บั กำรยอมรบั
๑. ไดน้ าโครงการไปจดั แสดงการประกวดหมู่บา้ น “อยู่เย็น เป็นสขุ ”ดเี ดน่ ของชุมชนบา้ นท่าช้าง ม.2

อาเภอ วดั โบสถ์ จังหวัดพิษณโุ ลก

แบบสรปุ การสงั เกตติดตามผลทเี่ กิดขึ้นจริงจากการเรยี นรู้บรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง( มินฟิ าร์ม)
โรงเรยี นวัดเหล่าขวัญ(จา่ งอนเุ คราะห์) คร้ังท่ี ..1.....พ.ศ. 2565

ช้ัน คะแนนรวมทกุ ดำ้ น
อนบุ าล 2
88.80
อนบุ าล 3
ประถมศึกษาปที ี่ ๑ 82.40
ประถมศึกษาปที ่ี ๒ 53.57
ประถมศึกษาปีท่ี ๓ 63.80
ประถมศึกษาปีท่ี ๔ 90.59
ประถมศึกษาปีที่ ๕ 87.96
ประถมศึกษาปที ่ี ๖ 89.44
มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 80.60
87.78
รวม 730.94

คดิ เป็ นร้อยละ 81.21

ลงชื่อ ผูร้ ายงาน
(สิบเอกสมศักด์ิ บวบดี )

ลงชอื่ ผูบ้ รหิ าร
( นางปวณี า เพง็ แสงทอง )

แบบสงั เกตติดตามผลทเ่ี กิดขน้ึ จริงจากการเรียนรู้บรู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง( มินิฟาร์ม)
รายบุคคล ช้นั ............................. โรงเรียนวัดเหล่าขวัญ(จ่างอนเุ คราะห์) ครง้ั ท่ี .......พ.ศ. 2564

นกั เรียนได้ นกั เรยี นมี นักเรยี นมี นักเรยี นมี นักเรยี นมี นักเรียนมี

ที่ ชอ่ื -สกลุ เรียนรู้ วนิ ยั ความ ความเชื่อมนั่ ความ ความสนใจ รวม

ศาสตร์ รับผิดชอบ ในตนเอง รว่ มมอื ใฝร่ ู้ (18)
พระราชา

รวม
คดิ เป็ นร้อยละ

เกณฑก์ ำรวัด
3 คะแนน หมายถงึ ปฏิบตั ิสม่าเสมอ

2 คะแนน หมายถงึ ปฏิบัติบางคร้ัง
1 คะแนน หมายถึง ปฏิบตั นิ ้อยคร้ัง

เกณฑ์กำรประเมิน
14-18 คะแนน หมายถึง ดี

10-13 คะแนน หมายถงึ พอใช้
ตา่ กว่า 10 คะแนน หมายถงึ ปรบั ปรุง

เกณฑ์ผ่ำนกำรประเมิน
ไดร้ ะดบั “พอใช้” ขนึ้ ไป

ลงช่ือ ผรู้ ายงาน
( …………………..………..)
ครูประจาช้ัน

บรรณำนกุ รม

//pantip.com/topic/30294546

//www.chaipat.or.th/site_content/34-13/3579-2010-10-08-05-24-39.html

//www.kasetorganic.com

Copyright © //www.kasetorganic.com

ภำคผนวก
ภาพการจัดกจิ กรรมสรา้ งศนู ยเ์ รยี นรู้ฯ มนิ ฟิ ารม์ และดาเนินการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ฯ

ฐานที่ 1 เกษตรชนบท/เกษตรคนเมอื ง

ภาพการจัดกจิ กรรมสรา้ งศนู ยเ์ รียนรู้ฯ มินิฟาร์มและดาเนนิ การจดั กจิ กรรมการเรียนร้ฯู
ฐานท่ี 2 ขยายพนั ธพ์ุ ืช

ภาพการจดั กจิ กรรมสร้างศนู ยเ์ รยี นรูฯ้ มนิ ฟิ ารม์ และดาเนนิ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ฯ
ฐานที่ 3 การแปรรปู อาหาร

ภาพการจัดกจิ กรรมสรา้ งศูนยเ์ รยี นรฯู้ มินฟิ าร์มและดาเนนิ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ฯ
ฐานท่ี 4 ปยุ๋ ชวี ภาพ

ภาพการจัดกจิ กรรมสรา้ งศูนยเ์ รยี นรฯู้ มนิ ฟิ าร์มและดาเนนิ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ฯ
ฐานท่ี 5 เถา้ แก่นอ้ ย

ภาพการจดั นิทรรศการประกวดหมู่บา้ น “อย่เู ย็น เปน็ สขุ ”ดีเดน่ ของชมุ ชนบา้ นท่าช้าง ม.2 อาเภอ วดั โบสถ์

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง