การสื่อสารสองทิศทางสลับกัน

เป็นการสื่อสารข้อมูลที่ทำหน้าที่ส่งเพียงอย่างเดียว และผู้รับข้อมูลก็ทำหน้าที่รับข้อมูลเพียงอย่างเดียวด้วยเช่นเดียวกัน การส่งข้อมูลในลักษณะนี้ เช่นการส่งสัญญาณของสถานีโทรทัศน์ โดยที่สถานีส่งสัญญาณโทรทัศน์จะทำหน้าที่ส่งสัญญาณเท่านั้น และเครื่องรับโทรทัศน์ก็จะทำหน้าที่ รับสัญญาณเท่านั้นเช่นกัน

        2. การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางสลับกัน ( half-duplex transmission )
        เป็นการสื่อสารข้อมูลที่มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลของผู้รับและผู้ส่ง โดยแต่ละฝ่ายสามารถเป็นทั้งผู้ส่งและผู้รับข้อมูล จะเป็นผู้ส่งข้อมูลพร้อมกัน ทั้งสองฝ่ายไม่ได้ ลักษณะการส่งข้อมูลแบบนี้ เช่น การสื่อสารแบบวิทยุสื่อสาร ซึ่งผู้ที่จะส่งข้อมูลที่จะส่งข้อมูลต้องกดปุ่มเพื่อส่งข้อมูล ในขณะนั้นผู้อื่นจะเป็นผู้รับข้อมูล

        3. การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางพร้อมกัน( full- duplex transmission )
        เป็นการสื่อสารข้อมูลทีมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลของผูส่งและผู้รับข้อมูล โดยทั้งสองฝ่ายสามารถเป็นผู้ส่งและผู้รับได้ในเวลาเดียวกัน และสามารถ ส่งข้อมูลได้พร้อมกัน ลักษณะการส่งข้อมูลแบบสองทิศทางพร้อมกัน เช่น การสื่อสารโดยใช้โทรศัพท์ ซึ่งทั้งสอองฝ่ายสามารถพูดพร้อมกันได้ ในเวลาเดียวกัน

        โดยปกติการสื่อสาารข้อมุลส่วนใหญ่จะไม่ใช้การส่งข้อมุลแบบสองทิศทางพร้อมกันตัวอย่าง เช่น การใช้โทรศัพท์ ถึงแม้ว่าจะสามารถส่งข้อมูล ได้สองทิศทางพร้อมกัน แต่เวลาพูดยังคงต้องสลับกันพูด อีกตัวอย่างหนึ่งคือ การสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ซึ่งบางครังดูเหมือนว่าเป็นแบบสองทิศทาง พร้อมกัน แต่ในความเป็นจริงแล้วเป็นการส่งข้อมูลแบบสองทิศทางสลับกัน ซึ่งช่วงเวลาที่สลับกันนี้เป็นช่วงเวลาที่เร็วมาก จึงดูเหมือนว่า เป็นการส่งข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน

ทิศทางการส่งข้อมูล



          ในระบบการสื่อสาร สามารถส่งข้อมูลในทิศทางต่างๆ ได้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ที่รับส่งข้อมูลนั้นได้รับการออกแบบมาเพื่อการส่งข้อมูลในรูปแบบใด สำหรับทิศทางการส่งข้อมูลนี้สามารถมีอยู่ 3 รูปแบบด้วยกัน คือ

          1. การสื่อสารแบบซิมเพล็กซ์ (Simplex)
          เป็นการสื่อสารแบบทิศทางเดียว โดยจะมีแต่ละฝ่ายทำหน้าทีใดหน้าที่หนึ่งเท่านั้น เช่น ฝ่ายหนึ่งทำหน้าที่เป็นผู้ส่ง ดังนั้นอีกฝ่ายหนึ่งก็จะทำหน้าที่เป็นผู้รับเท่านั้น ตัวอย่างของการสื่อสารแบบซิมเพล็กซ์ เช่น การกระจายเสียงของสถานีวิทยุ การแพร่ภาพทางโทรทัศน์ และการส่งข้อความผ่านทางเพจเจอร์ เป็นต้น

          2. การสื่อสารแบบฮาร์ฟ-ดูเพล็กซ์ (Half-Duplex)
          เป็นการสื่อสารแบบสองทิศทางสลับกัน ด้วยการส่งข้อมูลผ่านช่องสัญญาณเดียว ดังนั้นจึงไม่สามารถรับส่งพร้อมกันได้ในเวลาเดียว การกดสวิตซ์ในแต่ละครั้ง จะเป็นการสับสวิตซ์เพื่อให้อยู่ในสถานะเป็นผู้ส่งข้อมูลหรือเป็นผู้รับข้อมูล ตัวอย่างการสื่อสารชนิดนี้ก็คือ วิทยุสื่อสารของตำรวจ

          3. การสื่อสารแบบฟูล-ดูเพล็กซ์ (Full-Duplex)
          เป็นการสื่อสารแบบสองทิศทางในเวลาเดียวกัน กล่าวคือ ทั้งผู้ส่งและผู้รับสามารถสื่อสารกันในขณะเดียวกันได้ ตัวอย่างการสื่อสารแบบฟูลดูเพล็กซ์ เช่น โทรศัพท์ ซึ่งคู่สนทนาสามารถคุยตอบโต้กันได้ในช่วงเวลาเดียวกัน

>>>>>>>>>>>>>>ย้อนกลับ<<<<<<<<<<<<<<

ส่งอีเมลข้อมูลนี้BlogThis!แชร์ไปที่ Twitterแชร์ไปที่ Facebookแชร์ใน Pinterest

ทิศทางการส่งข้อมูล
การส่งข้อมูลของระบบคอมพิวเตอร์ สามารถจำแนกทิศทางการส่งข้อมูลเป็น 3 รูปแบบ ดังนี้
1. การสื่อสารทางเดียว (Simplex Transmission)
เป็นการสื่อสารข้อมูลที่มีผู้ส่งข้อมูลทำหน้าที่ส่งข้อมูลแต่เพียงอย่างเดียว และผู้รับข้อมูล ก็ทำหน้าที่รับข้อมูลแต่เพียงอย่างเดียวด้วยเช่นกัน การส่งข้อมูลในลักษณะนี้ เช่น การส่งสัญญาณของสถานี โทรทัศน์ ไปยังเครื่องรับโทรทัศน์ โดยที่สถานีส่งสัญญาณโทรทัศน์จะทำหน้าที่ส่งสัญญาณเท่านั้น และเครื่องรับโทรทัศน์ก็จะทำหน้าที่รับสัญญาณเท่านั้นเช่นกัน สถานีวิทยุกระจายเสียง บอร์ด ประกาศ ภาพ เป็นต้น

ภาพที่ 1.23 การสื่อสารทางเดียว โดยการส่งสัญญาณของสถานีโทรทัศน์
ไปยังเครื่องรับโทรทัศน์

2. การสื่อสำรสองทางครึ่งอัตรา (Half-Duplex Transmission)
เป็นการสื่อสารข้อมูลที่มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลของผู้รับและผู้ส่ง โดยแต่ละฝ่ายสามารถเป็นทั้งผู้ส่งและผู้รับข้อมูล แต่จะต้องสลับกันทำหน้าที่เป็นผู้ส่งข้อมูลจะเป็นผู้ส่งพร้อมกันทั้งสองฝ่ายไม่ ได้ ลักษณะการส่งข้อมูลประเภทนี้ เช่น วิทยุสื่อสารของตำรวจ วิทยุสื่อสารของระบบขนส่ง การรับส่งโทรสาร (Fax) เป็นต้น

ภาพที่ 1.24 การสื่อสารสองทางครึ่งอัตราโดยใช้วิทยุสื่อสาร

3. การสื่อสำรสองทางเต็มอัตรา (Full-Duplex Transmission)
เป็นการสื่อสารข้อมูลที่มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลของทั้งผู้ส่งและผู้รับข้อมูล โดยทั้งสองฝ่ายสามารถเป็นผู้ส่งและ ผู้รับข้อมูลได้ ในเวลาเดียวกัน และสามารถส่งข้อมูลได้พร้อมกันลักษณะการส่งข้อมูลแบบสองทิศทางพร้อมกัน เช่น การสื่อสารโทรศัพท์ ซึ่งทั้งสองฝ่ายสามารถพูดพร้อมกันได้ ในเวลาเดียวกัน โดยปกติการสื่อสารข้อมูลส่วนใหญ่จะไม่ ใช่การส่งข้อมูล แบบสองทิศทางพร้อมกัน ตัวอย่างเช่น การใช้โทรศัพท์ ถึงแม้ว่าจะสามารถส่งข้อมูลได้สองทิศทางพร้อมกัน แต่เวลาพูดยังต้องสลับกันพูดอีกตัวอย่างหนึ่งคือ การสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งบางครั้งดูเหมือนว่าเป็นแบบสองทิศทางพร้อมกัน แต่ ในความเป็นจริงแล้วเป็นการส่งข้อมูลแบบสองทิศทางสลับกัน ซึ่งช่วงเวลาที่สลับกันนี้อาจเป็นช่วงเวลาที่เร็วมากจึงดูเหมือนว่าเป็นการส่งข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน

                                    ภาพที่ 1.25 การสื่อสารสองทางเต็มอัตรา โดยการสื่อสารโทรศัพท์



ทิศทางของการสื่อสารมีกี่ประเภทอะไรบ้าง

1. การส่งข้อมูลทิศทางเดียว และสองทิศทางสลับกัน 2. การส่งข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน 3. การเลือกทิศทางการส่งข้อมูลได้เหมาะสมตามความต้องการ

การสื่อสารแบบทิศทางเดียว มีอะไรบ้าง

1. แบบทิศทางเดียว (Simplex) เป็นทิศทางการสื่อสารข้อมูลแบบที่ข้อมูลจะถูกส่งจากทิศทางหนึ่งไปยังอีกทิศทาง โดย ไม่สามารถส่งข้อมูลย้อนกลับมาได้ เช่นระบบวิทยุ หรือโทรทัศน์

ทิศทางการสื่อสารคืออะไร

ทิศทางของการสื่อสารข้อมูล หมายถึง ทิศทางจากอุปกรณ์ส่งข้อมูลไปยังอุปกรณ์รับข้อมูลโดยผ่านสื่อนำข้อมูล

ทิศทางการสื่อสารข้อมูลใด ส่งข้อมูลได้สองทิศทางพร้อมกัน

3. แบบสองทิศทาง (Full Duplex)หรือเรียกว่า “การสื่อสารแบบสองทาง (Both-way Communication) เป็นทิศทางการสื่อสารข้อมูลแบบที่ข้อมูลสามารถส่งพร้อมกันได้ทั้ง 2 ทิศทางในเวลาเดียวกัน เช่นระบบโทรศัพท์ โดยที่คู่สนทนาสามารถพูดคุยโต้ตอบกันได้ในเวลาเดียวกัน ไม่ต้องกดสวิตซ์ เพื่อเปลี่ยนสถานะก่อนที่จะสื่อสาร

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง