ประวัติผู้แต่งขุนช้างขุนแผน

��Ǵ���� ��ó���� ����оѹ��
Serial Code 004578
��������ͧ/����˹ѧ��� ��������ͧ �ع��ҧ�عἹ ��Ѻ����ó�
�����/���ͼ���� ���ķ�� �Ѩ��ѹ���
�������駷�� �������駷�� 3
�ӹѡ����� ������; ��ا෾�
���ͪش -
��ó��ѡɳ� 372 ˹�� : �Ҿ��Сͺ
��ͤ������ѧࢻ ���º���§��͹���Ңع��ҧ�عἹ���繩�Ѻ- ������� �ҧ��ä�͹����á���¡�͹���ҫ��͸Ժ����ա���������ǻ��� �������ع��ҧ�عἹ ��Ѻ���������ҹ����������������ͧ�����ҧ��
����Ȣͧ���ҵ� ��.
ISBN 17197475075
���˹觷����˹ѧ��� 895.914 �556� 2550

เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผนเป็นวรรณคดีนิทาน  แต่งเป็นกลอน  สันนิษฐานว่าน่าจะได้ใช้ขับเล่าเรื่องด้วยทำนองร้องต่าง ๆ โดยใช้กรับเป็นเครื่องประกอบจังหวะมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา  ในกฎหมายตราสามดวงมีข้อความระบุถึงพระราชานุกิจว่า “หกทุ่มเบิกเสภาดนตรี” แสดงว่าการเล่าเรื่องด้วยการขับร้องมีมานานแล้ว และกรับที่ใช้ประกอบการขับนั้น ก็น่าจะเป็นเครื่องดนตรีเก่าแก่ดั้งเดิมที่แพร่มาแต่อินเดียหรือตะวันออกกลางพร้อม ๆ กับการเล่านิทานเรื่องรามเกียรติ์

เนื้อเรื่องขุนช้างขุนแผนแปลกกว่านิทานพื้นบ้านทั่วไป  เนื่องจากเป็นเรื่องรักสามเส้าแบบสมจริงของคนธรรมดา  สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ  ทรงสันนิษฐานว่าน่าจะเป็นเรื่องของคนที่มีชีวิตอยู่จริงในราวสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 แต่มีผู้นำมาเล่าสืบกันมาอย่างนิยายและเป็นที่นิยมกันแพร่หลายจนกระทั่งถึงกรุงรัตนโกสินทร์  สมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย  โปรดเกล้าฯ ให้กวีหลายท่านช่วยกันแต่งต่อเติมขึ้นเป็นฉบับหลวง  และทรงพระราชนิพนธ์เองบางตอน  เช่น  ตอนพลายแก้วเป็นชู้กับนางพิมถึงตอนแต่งงาน  ขุนแผนขึ้นเรือนขุนช้างถึงเข้าห้องนางแก้วกิริยา  นางวันทองทะเลาะกับลาวทอง  และเท่าที่รู้จากตำนานหรือสันนิษฐานได้จากสำนวน บางตอนโปรดเกล้าฯ ให้ผู้อื่นแต่ง เช่น  พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว  ทรงพระราชนิพนธ์ตอนขุนช้างขอนางพิม  และขุนแผนพานางวันทองหนี  ส่วนสุนทรภู่แต่งตอนกำเนิดพลายงาม  เป็นต้น  ในระยะเดียวกันนั้นกวีเชลยศักดิ์ก็แต่งและขับเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผนเป็นมหรสพชาวบ้านกันทั่วไป  แต่มักมิได้จดฉบับลงไว้เป็นลายลักษณ์อักษรอย่างฉบับหลวง  

ศิลปากร, กรม. ขุนช้างขุนแผน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : องค์การค้าของครุสภา, 2532.

METEOR 16 ม.ค. 52 เวลา 11:49 น. 3

มีหลายท่านค่ะ พระบาทสมเด็จพระบาทสมเด็จพระพุธเลิศหล้านภาลัย,

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อครั้งดำรงพระยศเป็นกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์,

สุนธรภู่, ครูแจ้ง และผู้แต่งที่ไม่ปรากฏนามอีกหลายท่าน

ต่อมาสมเด็จพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงเดชานุภาพก็ทรงนิพนธ์ในตอนที่ขาดหายไปด้วย

0 0

  • แจ้งลบ

คนเคยเขียน 27 ธ.ค. 53 เวลา 21:08 น. 4

เราก็ว่านะมีหลายคน
แต่ที่ได้ยิน มี สุนทรภู่
แต่เขาบอกว่าคนแต่งขุนช้างขุนแผน
เป็นคนที่อยู่ในสมัย กรุวศรีอยุธยา
แต่สุนทรภู่อยู่ในกรุงรัตนโกสิทร์ไม่ใช่หรอ

0 1

  • แจ้งลบ

วีด้า 16 มี.ค. 65 เวลา 22:27 น. 4-1

แต่งเรื่อย ๆ ครับ

0 0

  • แจ้งลบ

ตราชู 19 ก.พ. 56 เวลา 08:57 น. 6

ขุนช้างขุนแผนเป็นพระราชนิพนธิ์ของรัชการที่ 2 คือสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและทรงมอบให้สุนทรภู่เป็นผู้ช่วยในการแต่งโคลงประกอบทุกเรื่องเนื่องพระราชกิจมีมากมายในฐานะพระเจ้าแผ่นดิน

0 0

  • แจ้งลบ

ผ่านมาเจอเลยแวะมาตอบ 23 พ.ย. 63 เวลา 17:24 น. 9

ขุนช้างขุนแผนเป็นเรื่องเล่าจากปากตั้งแต่สมัยอยุธยาฯ ครับ แล้วไปปรากฏในจดหมายเหตุของประเทศพม่านู่น ร.2 เลยรับสั่งให้ สุนทรภู่ และนักกวีทุกท่านในสมัยนั้นร่วมกันช่วยกันแต่งเรื่องจากเค้าโครงขึ้นมา แต่ด้วยความเป็นสุนทรภู่พลายแก้วเลยดูเป็นเจ้าชู้ๆ สังเกตในบางตอนที่ท่านอื่นแต่ง เนื้อเรื่องมันจะไปอีกแนว 55

0 0

  • แจ้งลบ

ไอ้สอง 26 ก.ค. 64 เวลา 05:29 น. 10

1. บทพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ที่ 2

( เมื่อครั้งดำรงพระยศเป็นกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ )

มี 4 ตอน คือ

- พลายแก้วได้นางพิม

- พลายแก้วได้เป็นขุนแผนและขุนช้างได้นางวันทอง

- ขุนแผนขึ้นเรือนขุนช้างและได้นางแก้วกิริยา

- ขุนแผนพานางวันทองหนี

2. บทพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 3 มี 2 ตอน คือ

- ขุนช้างขอนางพิม

- ขุนช้างตามนางวันทอง

3. สำนวนของสุนทรภู่ มี 1 ตอน คือ

- กำเนิดพลายงาม

4. สำนวนของครูแจ้งมี 5 ตอน คือ

- กำเนิดกุมารทอง

- ขุนแผนแก้พระท้ายน้ำ

- ขุนแผนและพลายงามจับพระเจ้าเชียงใหม่

- ขุนแผนและพลายงามยกทัพกลับ

- จระเข้เถรขวาด

0 0

  • แจ้งลบ

ใครเป็นผู้ประพันธ์เรื่องขุนช้างขุนแผน

เล่าเรื่อง ขุนช้างขุนแผน ฉบับสมบูรณ์.

ร.3แต่งขุนช้างขุนแผนตอนใด

2. บทพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 3 มี 2 ตอน คือ - ขุนช้างขอนางพิม - ขุนช้างตามนางวันทอง 3. สำนวนของสุนทรภู่ มี 1 ตอน คือ

ขุนช้างขุนแผนมีที่มาจากไหน

เรื่องขุนช้างขุนแผน มีผู้สันนิษฐานว่าเป็นเรื่องจริงที่เกิดขึ้นในแผ่นดินสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ และเล่ากันต่อ ๆมาจนกลายเป็นนิยายพื้นเมืองของเมืองสุพรรณบุรี ต่อมาได้มีผู้นำเรื่องขุนช้างขุนแผนมาแต่งเป็นกลอนเสภเพื่อใช้ในการขับเสภา จึงทำให้เรื่องนี้เป็นที่นิยมและแพร่หลายมากขึ้น ครั้นเสียกรุงแล้วบางตอนก็สูญหายไป บางตอนยังมี ...

สุนทรภู่แต่งขุนช้างขุนแผนกี่ตอน

เรื่องขุนช้างขุนแผนเป็นคาประพันธ์ประเภทกลอน เสภา ๔๓ ตอน ซึ่งมีอยู่ ๘ ตอนที่ได้รับการยกย่องว่าแต่งดียอดเยี่ยม จากวรรณคดีสมาคม อันมีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์ กรมพระยาดารงรา ชานุภาพ ทรงเป็นประธานโดยลงมติเมื่อ พ.ศ.๒๔๗๔ และตอน ขุนช้าง ถวายฎีกา เป็นหนึ่งในแปดตอนที่ได้รับการยกย่อง ลักษณะคาประพันธ์

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง