เช็ค ผลอนุมัติ สินเชื่อ ธ. อ ส.

บ้านคือความสุขบ้านคือสิ่งที่ทุกคนใฝ่ฝันและต้องการที่จะมีบ้านหากคุณกำลังคิดจะซื้อบ้าน เรามารู้จักกับสินเชื่อบ้าน ธอส ในปี 2023 นี้ธนาคาร ธอส ปล่อยสินเชื่อบ้าน ธอสให้กับผู้กู้ในระยะยาว ซึ่งทางธนาคารธอส จะมีหลักเกณฑ์การอนุมัติสินเชื่อบ้าน ธอสที่ง่ายกว่า ดังนั้นถ้าหากคุณคิดจะกู้บ้าน ธอสไม่ว่าจะเป็นสินเชื่อเพื่อซื้อที่ดินพร้อมอาคาร หรือห้องชุด, และสินเชื่อบ้าน ธอสยังมีให้คุณซื้อที่ดินพร้อมปลูกสร้างอาคารได้อีกด้วย รวมถึงสินเชื่อเพื่อการไถ่ถอนจำนองที่ดินพร้อมอาคารหรือห้องชุดจากสถาบันการเงินอื่นเพื่อไถ่ถอนจำนองที่ดินเปล่าจากสถาบันการเงินอื่นพร้อมปลูกสร้างอาคาร และยังให้กู้เพื่อชำระค่าเบี้ยประกันชีวิตคุ้มครองสินเชื่อในวงเงินหลัก ด้วยหลักเกณฑ์การอนุมัติสินเชื่อบ้าน ธอสที่ทุกคนเข้าถึงง่ายมาก

หลักเกณฑ์การอนุมัติสินเชื่อบ้าน ธอส ปี 2023 อนุมัติง่ายขึ้น!

ธนาคาร ธอส ปี 2566 กับหลักเกณฑ์การอนุมัติสินเชื่อที่ง่ายขึ้นให้ทุกคนที่ต้องการซื้อบ้านให้มองไปในระยะยาวอย่าดูแค่ดอกเบี้ยหรือโปรโมชั่นเท่านั้น ถ้าต้องการผ่อนบ้านกับธนาคาร ธอสพร้อมกับหลักเกณฑ์การอนุมัติสินเชื่อบ้าน ธอสและขั้นตอนอนุมัติสินเชื่อบ้าน ธอส pantipที่หลาย ๆ คนต่างก็พอใจในหลักเกณฑ์การอนุมัติสินเชื่อบ้าน ธอส ให้วงเงินสูงสุดไม่เกิน 3,000,000 บาท และตารางผ่อนบ้าน ธอส 2566 ในระยะเวลาการผ่อนชำระไม่น้อยกว่า 4 ปี และสูงสุดไม่เกิน 40 ปีโดยอายุรวมกับระยะเวลาของผู้กู้ต้องไม่เกิน 70 ปี ยกเว้นกรณีข้าราชการ, ตุลาการ, อัยการ หรืออื่น ๆ ที่มีอายุเกษียณมากกว่า 60 ปี ให้ใช้อายุผู้กู้เมื่อรวมกับระยะเวลาที่ขอกู้ต้องไม่เกิน 75 ปี ด้วยอัตราดอกเบี้ยตั้งแต่ปีที่ 4 จนครบสัญญา MRR-0.75% ต่อปี เพื่อสนับสนุนนโยบายรัฐบาลในการช่วยเหลือลูกค้าที่มีภาระหนี้เยอะอยากซื้อบ้านสามารถยื่นขอกู้เงินได้ตามหลักเกณฑ์การอนุมัติสินเชื่อบ้าน ธอสกำหนดไว้

ผู้สมัครสินเชื่อต้องมีอายุ 20 ปีขึ้นไป โดยสามารถเลือกระยะเวลาผ่อนชำระได้สูงสุด 40 ปี ทั้งนี้เมื่อนำอายุของผู้สมัครรวมกับระยะเวลาผ่อนชำระหนี้แล้วจะต้องไม่เกิน 70 ปี

ขั้นตอนการพิจารณาอนุมัติสินเชื่อ

1. ยื่นคำขอสินเชื่อที่สาขาธนาคาร 

ท่านสามารถยื่นคำขอสินเชื่อพร้อมเอกสารประกอบได้ที่สาขาธนาคารที่ท่านสะดวก พนักงานจะพิจารณาสินเชื่อเบื้องต้นจากข้อมูลการสัมภาษณ์ และเอกสารของท่าน เช่น รายได้ ค่าใช้จ่ายครอบครัว หนี้สินอื่นๆ เพื่อประเมินความสามารถในการผ่อนชำระของท่าน

2. สรุปวิเคราะห์และนำเสนอคำขอสินเชื่อพร้อมเอกสารประกอบเพื่อรอการพิจารณาอนุมัติ 

เมื่อพิจารณาแล้วว่าท่านมีความสามารถในการผ่อนชำระเงินงวดได้ตามวงเงินที่ยื่นขอสินเชื่อไว้ พนักงานจะส่งเรื่องต่อให้งานประเมินหลักทรัพย์ โดยจะมีเจ้าหน้าที่จากบริษัทประเมินราคา ติดต่อท่านเพื่อนัดหมายเข้าไปประเมินมูลค่าหลักประกัน ตามวันและเวลาที่ท่านสะดวก ภายใน 3 วันทำการ หลังจากที่ท่านได้ยื่นใบคำขอสินเชื่อแล้ว 

หลังจากนั้นพนักงานสาขาจะทำการบันทึกข้อมูลลงในระบบตามการสัมภาษณ์ และเอกสารของท่าน เช่น รายได้ ค่าใช้จ่ายครอบครัว หนี้สินอื่นๆ เพื่อส่งให้ผู้อนุมัติสินเชื่อพิจารณาต่อไป

โดยพิจารณาจาก 

  • วัตถุประสงค์ในการขอสินเชื่อ เช่น ซื้อที่ดินอาคาร ,ซื้อห้องชุด ,ไถ่ถอนจำนอง ฯลฯ
  • คุณสมบัติผู้ขอกู้ เช่น สถานภาพ, การศึกษา, อาชีพ ฯลฯ
  • ความสามารถในการผ่อนชำระสินเชื่อ
  • ประเภทและมูลค่าของหลักประกัน

3. แจ้งผลการพิจารณาอนุมัติสินเชื่อ 

ธนาคารจะติดต่อและแจ้งผลการพิจารณาอนุมัติสินเชื่อให้ท่านทราบภายใน 7 วันทำการ นับจากวันที่ท่านยื่นใบคำขอสินเชื่อ พร้อมเอกสารประกอบ(ครบถ้วน) เพื่อเตรียมนัดวันทำสัญญา 

4. ทำสัญญากู้เงิน และสัญญาจดจำนอง 

หากท่านได้รับอนุมัติสินเชื่อ ธนาคารจะนัดหมายท่านเพื่อทำสัญญากู้เงินที่สาขาของธนาคาร และนัดวันทำนิติกรรม ณ กรมที่ดิน ที่หลักประกันหรือโฉนดที่ดิน จดทะเบียนไว้

กรณีที่มีปัญหาข้อมูลเครดิตและต้องการขอสินเชื่อกับธนาคารนั้น ปัจจุบันสถานะบัญชีต้องปกติ ไม่อยู่ระหว่างถูกฟ้องร้องดำเนินคดี หรืออยู่ระหว่างประนอมหนี้ แนะนำให้ผู้กู้ไปตรวจสอบเครดิตกับบริษัทข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จำกัด ก่อน จากนั้นนำเอกสารดังกล่าวพร้อมเอกสารการปิดบัญชีเข้าไปปรึกษากับเจ้าหน้าที่สินเชื่อของธนาคารต่อไป

a

กรณีที่มีอาชีพประจำ แต่ไม่มีสลิบเงินเดือนหรือหนังสือรับรองเงินเดือน ต้องทำอย่างไร

กรณีไม่มีหนังสือรับรองเงินเดือน หรือสลิบเงินเดือน ให้ลูกค้าเตรียมเอกสาร ดังนี้
-Statement เงินฝากย้อนหลัง 12 เดือน
-เอกสารการรับเงินเดือน หนังสือหักภาษี ณ ที่จ่าย (50ทวิ)
-เอกสารนำส่งเงินประกันสังคม ย้อนหลัง 12 เดือน

a

จะทราบวงเงินกู้ที่สามารถกู้ได้อย่างไร

แนะนำให้ลูกค้าเตรียมเอกสาร

-สลิปเงินเดือนย้อนหลัง 3 เดือน
-Statement เงินฝากย้อนหลัง 12 เดือน
-หลักฐานอื่น อาทิค่าผ่อนรถ ค่าบัตรเครดิต
เข้ามาติดต่อสาขาที่สะดวก เพื่อขอคำปรึกษาและให้เจ้าหน้าที่ทำการประเมินวงเงินกู้เบื้องต้น จากนั้นจึงมองหาบ้านในราคาที่สามารถเป็นเจ้าของได้ก่อนยื่นขอสินเชื่อกับธนาคารอีกครั้ง

a

ในการยื่นกู้สามารถติดต่อได้ที่สาขาใดบ้าง

สามารถติดต่อได้ที่ธอส.ทุกสาขา หรือ www.ghbank.co.th

a

กรณีหลักประกันไม่ใช่กรรมสิทธิ์ของตนเอง แต่เป็นของบิดา/มารดา ต้องทำอย่างไร

ผู้กู้ทำการเพิ่มชื่อเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ร่วมในโฉนดก่อนทำการยื่นขอสินเชื่อหรือให้เจ้าของโฉนดมาเป็นผู้กู้ร่วมด้วย (ก่อนโอนกรรมสิทธิ์หรือเพิ่มชื่อฯ แนะนำให้ลูกค้าเตรียมเอกสารส่วนตัวและเอกสารแสดงรายได้มาติดต่อเจ้าหน้าที่เพื่อทำการประเมินวงเงินกู้เบื้องต้นก่อนเนื่องจากมีค่าใช้จ่ายในการดำเนินการหากกู้ไม่ได้ ลูกค้าจะได้ไม่เสียเงินฟรี)

a

คุณสมบัติหลักประกันกรณีขอสินเชื่อเพื่อซื้อที่ดินพร้อมปลูกสร้างอาคาร หรือปลูกสร้างอาคารบนที่ดินของตนเอง

หลักประกันที่จะซื้อหรือปลูกสร้างต้องมีลักษณะเป็น โฉนดที่ดิน(นส.4จ) หรือ นส.3ก หนังสือกรรมสิทธิ์ห้องชุด(อช.2) ธนาคารไม่รับพิจารณาหลักประกันเป็นที่ดิน สปก. และที่ดินเขตป่าสงวน

กรณีกู้ปลูกสร้างบ้านบนที่ดินของตนเองผู้กู้จะต้องมีกรรมสิทธิ์ในหลักประกันของบ้านที่จะทำ ทั้งนี้หลักประกันต้องมีศักยภาพในการใช้เป็นที่อยู่อาศัย คือมีทางสาธารณะตัดผ่าน สาธารณูปโภคครบเช่นไฟฟ้าและน้ำประปาเข้าถึง

a

เอกสารประกอบการขอสินเชื่อมีอะไรบ้าง

เอกสารส่วนตัว

– บัตรประจำตัวประชาชน/บัตรข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ
– ทะเบียนบ้าน
– สำเนาทะเบียนสมรส/ใบหย่า/ใบมรณะบัตร/ใบแจ้งความแยกกันอยู่ (หากมี)
– สำเนาใบเปลี่ยนแปลงชื่อ – สกุล (หากมี)
– สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนคู่สมรส(หากมี)

เอกสารแสดงรายได้

กรณีอาชีพประจำ

– หนังสือรับรองเงินเดือน/หนังสือรับรองสิทธิสวัสดิการ
– สลิบเงินเดือน หรือหลักฐานการรับเงินเดือน ย้อนหลัง 3 เดือน
– Statement เงินฝากย้อนหลัง 6 เดือน
– หลักฐานแสดงฐานะการเงินอื่นๆ (พร้อมตัวจริง)

กรณีอาชีพอิสระ

-Statement เงินฝากย้อนหลัง 12 เดือน
-หลักฐานแสดงฐานะการเงินอื่นๆ (พร้อมตัวจริง)
-สำเนาทะเบียนการค้า/ทะเบียนพาณิชย์/ทะเบียนบริษัท/ทะเบียนนิติบุคคล
-หลักฐานการเสียภาษีเงินได้
-ภาพถ่ายกิจการ 3-4 ใบ
-สำเนาใบประกอบวิชาชีพ
-สำเนาใบเสร็จรับเงินค่าสั่งซื้อสินค้า
-หลักฐานแสดงฐานะการเงินอื่นๆ (พร้อมตัวจริง)

เอกสารหลักประกัน

– สำเนาหนังสือสัญญาจะซื้อจะขาย/สัญญาวางมัดจำ/สัญญาเช่าซื้อการเคหะแห่งชาติ และหนังสือรับรองยอดคงเหลือ (กรณีกู้ซื้อ)
– สำเนาหนังสือสัญญากู้เงิน และสำเนาสัญญาจำนองกับสถาบันการเงินเดิม (กรณีไถ่ถอนจำนองย้ายฯ)
– ใบเสร็จการผ่อนชำระ หรือบัญชีหมุนเวียน ย้อนหลัง 1 หรือ 2 ปี (กรณีไถ่ถอนจำนองย้ายฯ)
– หลักฐานการเป็นเจ้าของอาคาร
– สำเนาหนังสือสัญญาขายที่ดินฉบับกรมที่ดิน
– สำเนาโฉนดที่ดิน/นส.3ก./หนังสือกรรมสิทธิ์ห้องชุด (อช.2) ทุกหน้า (กรณีซื้อทรัพย์มือสองต้องรับรองสำเนาโดยเจ้าพนักงานที่ดิน)
– ใบอนุญาตปลูกสร้าง/ต่อเติม
– แบบแปลน/พิมพ์เขียว
– ใบประมาณการปลูกสร้าง/สัญญาว่าจ้างก่อสร้าง

a

การขอสินเชื่อมีค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง

ค่าธรรมเนียมที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการยื่นกู้ มีรายละเอียดดังนี้

ค่าธรรมเนียมการยื่นกู้ กู้ใหม่และกู้เพิ่ม
– วงเงินกู้ไม่เกิน 500,000 บาท ไม่เก็บค่าธรรมเนียม
– วงเงินกู้เกิน 500,000 บาท คิดค่าธรรมเนียมร้อยละ 0.1 ของวงเงินทำนิติกรรม

ค่าใช้จ่ายในการประเมินราคาหลักประกัน
– วงเงินขอกู้ไม่เกิน 500,000.- ค่าธรรมเนียม 1,900.- / แห่ง
– วงเงินขอกู้ 500,001-3,000,000.- ค่าธรรมเนียม 2,800.- / แห่ง
– วงเงินขอกู้เกิน 3,000,000.- ค่าธรรมเนียม 3,100.- / แห่ง

ค่าจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม (คิดเหมา) ค่าธรรมเนียม 1,000.- / ราย

ค่าธรรมเนียมที่สำนักงานที่ดิน ค่าจดจำนอง ร้อยละ 1 ของวงเงินกู้

ค่าโอนกรรมสิทธิ์ ร้อยละ 2.5 ของราคาประเมิน หรือราคาซื้อขาย โดยใช้ราคาที่สูงกว่าเป็นเกณฑ์ ค่าอากร ร้อยละ 0.5 ตามราคาซื้อขาย แต่ไม่ต่ำกว่าราคาประเมิน

a

ธนาคารพิจารณาวงเงินกู้จากอะไร

ธนาคารจะพิจารณาจากเกณฑ์รายได้ หลักประกัน LTV ภาระหนี้สินที่มี รวมถึงประวัติข้อมูลเครดิตต้องปกติ

a

ระยะเวลาการกู้สูงสุดกี่ปี

40 ปี แต่ระยะเวลาการกู้เมื่อรวมกับอายุผู้กู้ต้องไม่เกิน 70 ปี

a

ธนาคารพิจารณาวงเงินให้กู้อย่างไร (ก่อนมาตรการธปท.)

-กรณีลูกค้ารายย่อยทั่วไปพิจารณาวงเงินให้กู้ไม่เกิน 85% ของราคาประเมิน และราคาซื้อขาย

-กรณีลูกค้าสวัสดิการ พิจารณาวงเงินให้กู้ไม่เกิน 90-100% ของราคาประเมิน และราคาซื้อขาย

a

ผู้กู้ต้องมีคุณสมบัติอย่างไร

  • อายุ 20 ปี ขึ้นไป
  • อายุงาน 1 ปี ขึ้นไป
  • มีรายได้แน่นอนเพียงพอต่อการผ่อนชำระเงินกู้
  • เงินงวดผ่อนชำระไม่เกิน 1 ใน 3 ของรายได้สุทธิ
  • มีหลักฐานแสดงรายได้ที่น่าเชื่อถือ
  • ผู้กู้ร่วมได้แก่ บิดา-มารดา คู่สมรส บุตร พี่-น้อง และ/หรือบุคคลอื่นได้ไม่เกิน 1 คน
  • ต้องมีรายได้เพียงพอในการผ่อนชำระ และร่วมพักอาศัยจริง
  • ประวัติข้อมูลเครดิต ต้องเป็นสถานะปกติ

a

ต้องการกู้เพื่อซื้อที่ดินเปล่า สามารถทำได้หรือไม่

ไม่สามารถขอสินเชื่อเพื่อซื้อที่ดินเปล่าได้ แต่สามารถขอสินเชื่อเพื่อซื้อที่ดินพร้อมปลูกสร้างอาคารในคราวเดียวกันได้

a

ธอส.มีวัตถุประสงค์การกู้เพื่ออะไรบ้าง

ธอส. ให้สินเชื่อเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้

  • เพื่อซื้อบ้านพร้อมที่ดิน หรือห้องชุด
  • ซื้อที่ดินเปล่าพร้อมปลูกสร้างอาคาร
  • เพื่อปลูกสร้างอาคารบนที่ดินของตนเอง
  • เพื่อต่อเติม ขยาย ซ่อมแซมอาคาร
  • เพื่อชำระหนี้เกี่ยวกับที่อยู่อาศัย
  • เพื่อไถ่ถอนจำนองจากสถาบันการเงินอื่น
  • เพื่อซื้ออุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เกี่ยวเนื่องในการอยู่อาศัย
  • สินเชื่อสำหรับผู้ประกอบการ
  • สินเชื่อเพื่อคนไทยในต่างประเทศ

มาตรการช่วยเหลือลูกหนี้สถานะ NPL หรือลูกหนี้ ที่ยังมีสถานะเป็น NPL ที่อยู่ระหว่างการใช้มาตรการ/ปรับโครงสร้างหนี้กับธนาคาร (M 21) (8)

a

ธนาคารจะแจ้งผลการอนุมัติผ่านช่องทางใด?

ธนาคารจะแจ้งผลการอนุมัติผ่าน  Application GHB ALL BFRIEND และ Line GHB Buddy

a

ลูกค้าสามารถชำระเงินงวดมากกว่าที่กำหนดไว้ได้หรือไม่?

สามารถชำระเงินงวดมากกว่าที่กำหนดไว้ได้ โดยธนาคารจะนำเงินที่ชำระเกินไว้ไปตัดดอกเบี้ยค้างชำระของลูกค้า (ถ้ามี)

a

หากมีบัญชีเงินกู้หลายบัญชี สามารถเข้าร่วมมาตรการ M21 ได้ทุกบัญชีหรือไม่?

ลูกค้าสามารถลงทะเบียนร่วมมาตรการได้ทุกบัญชีตามข้อกำหนดและเงื่อนไขของมาตรการนั้นๆ

a

ลูกค้าสถานะปกติ จะขอเข้าร่วมมาตรการ M21 ได้หรือไม่?

มาตรการนี้ธนาคารให้สิทธิเฉพาะลูกค้าที่มีสถานะเป็น NPL

a

ลูกค้าที่เข้าร่วมมาตรการเดิมอยู่ สามารถเข้าร่วมมาตรการ M21 ได้หรือไม่ อย่างไร?

ลูกค้าที่อยู่ระหว่างการประนอมหนี้และยังมีสถานะเป็น NPL สามารถลงทะเบียนเข้าร่วมมาตรการ M21 ได้ 

a

ลูกค้าต้องใช้เอกสารอะไรบ้างในการลงทะเบียนเข้าร่วมมาตรการ (M21)?

เอกสารยืนยันรายได้ เช่น สลิปเงินเดือน หนังสือรับรองเงินเดือน ภาพถ่ายกิจการ หรือ Statement เป็นต้น 

a

ลูกค้าสามารถลงทะเบียนเพื่อขอเข้ามาตรการ (M21) ผ่านช่องทางใดได้บ้าง?

มาตรการ M21 สามารถลงทะเบียนผ่าน  Application GHB ALL BFRIEND ได้ช่องทางเดียว

a

ลูกค้ากลุ่มไหนบ้างที่สามารถเข้ามาตรการ (M21)ได้?

ลูกหนี้ที่มีสถานะเป็น NPL (DPD มากกว่า 90 วันขึ้นไป) และลูกหนี้ต้องกู้เงินจากธนาคารมาแล้วไม่ต่ำกว่า 1 ปี (นับตั้งแต่วันที่ทำสัญญาครั้งแรก จนถึงวันที่ยื่นคำร้องเข้าร่วมมาตรการ)

มาตรการช่วยเหลือลูกหนี้สถานะ NPLหรือลูกหนี้ที่ยังมีสถานะเป็น NPL ที่อยู่ระหว่างการใช้ มาตรการ/ปรับโครงสร้างหนี้กับธนาคาร (M17 และ M22) (7)

a

ธนาคารจะแจ้งผลการอนุมัติผ่านช่องทางใด?

ธนาคารจะโทรศัพท์แจ้งผลการอนุมัติ ตามเบอร์โทรศัพท์ที่ลูกค้าลงทะเบียนเข้ามา

a

ลูกค้าสามารถชำระเงินงวดมากกว่าที่กำหนดไว้ได้หรือไม่ ?

สามารถชำระเงินงวดมากกว่าที่กำหนดไว้ได้ โดยธนาคารจะนำเงินที่ชำระเกินไว้ไปตัดดอกเบี้ยค้างชำระของลูกค้า (ถ้ามี)

a

หากมีบัญชีเงินกู้หลายบัญชี สามารถเข้าร่วมมาตรการ/ปรับโครงสร้างหนี้กับธนาคารสำหรับลูกหนี้ “ มหกรรมร่วมใจแก้หนี้ มีหนี้ต้องแก้ไข เริ่มต้นใหม่อย่างยั่งยืน (M17 และ M22) ได้ทุกบัญชีหรือไม่?

ลูกค้าสามารถลงทะเบียนร่วมมาตรการได้ทุกบัญชีตามข้อกำหนดและเงื่อนไขของมาตรการนั้น ๆ

a

ลูกค้าสถานะปกติจะขอเข้าร่วมมาตรการ/ปรับโครงสร้างหนี้กับธนาคารสำหรับลูกหนี้ “ มหกรรมร่วมใจแก้หนี้ มีหนี้ต้องแก้ไข เริ่มต้นใหม่อย่างยั่งยืน (M17 และ M22) ได้หรือไม่?

มาตรการนี้ธนาคารให้สิทธิเฉพาะลูกค้าที่มีสถานะเป็น NPL และลงทะเบียนผ่านช่องทางที่กำหนดเท่านั้น

a

ลูกค้าต้องใช้เอกสารอะไรบ้างในการลงทะเบียนเข้าร่วมมาตรการ/ปรับโครงสร้างหนี้กับธนาคาร สำหรับลูกหนี้ “ มหกรรมร่วมใจแก้หนี้ มีหนี้ต้องแก้ไข เริ่มต้นใหม่อย่างยั่งยืน (M17 และ M22)?

เอกสารยืนยันรายได้ เช่น สลิปเงินเดือน หนังสือรับรองเงินเดือน ภาพถ่ายกิจการ หรือ Statement เป็นต้น 

a

ลูกค้าสามารถลงทะเบียนเพื่อขอเข้ามาตรการ/ปรับโครงสร้างหนี้กับธนาคาร สำหรับลูกหนี้ “ มหกรรมร่วมใจแก้หนี้ มีหนี้ต้องแก้ไข เริ่มต้นใหม่อย่างยั่งยืน (M17 และ M22) ผ่านช่องทางใดได้บ้าง?

ลูกค้าสามารถลงทะเบียนผ่านระบบออนไลน์ทาง www.bot.or.th/debtfair ของธปท. หรือลงทะเบียนใน “มหกรรมร่วมใจแก้หนี้สัญจร” เท่านั้น

a

ลูกค้ากลุ่มไหนบ้างที่สามารถเข้ามาตรการช่วยเหลือลูกหนี้สถานะ NPLหรือลูกหนี้ที่ยังมีสถานะเป็น NPL ที่อยู่ระหว่างการใช้ มาตรการ/ปรับโครงสร้างหนี้กับธนาคาร สำหรับลูกหนี้ “ มหกรรมร่วมใจแก้หนี้ มีหนี้ต้องแก้ไข เริ่มต้นใหม่อย่างยั่งยืน (M17 และ M22)ได้?

มาตรการ M17 ลูกหนี้ที่มีสถานะเป็น NPL (DPD มากกว่า 90 วันขึ้นไป) หรือเป็นลูกหนี้ที่ยังมีสถานะเป็น NPL ที่อยู่ระหว่างการใช้มาตรการ / หรือปรับโครงสร้างหนื้กับธนาคาร

มาตรการ M22 ลูกหนี้ที่มีสถานะเป็น NPL (DPD มากกว่า 90 วันขึ้นไป) และลูกหนี้ต้องกู้เงินจากธนาคารมาแล้วไม่ต่ำกว่า 1 ปี (นับตั้งแต่วันที่ทำสัญญาครั้งแรก จนถึงวันที่ยื่นคำร้องเข้าร่วมมาตรการ)

มาตรการช่วยเหลือลูกหนี้สถานะNPLหรือลูกหนี้ที่ยังมีสถานะเป็น NPL ที่อยู่ระหว่างการใช้ มาตรการ/ปรับโครงสร้างหนี้กับธนาคาร ปี 2565 (M20) (7)

a

ธนาคารจะแจ้งผลการอนุมัติผ่านช่องทางใด?

ธนาคารจะแจ้งผลการอนุมัติผ่าน  Application GHB ALL BFRIEND และ Line GHB Buddy

a

ลูกค้าสามารถชำระเงินงวดมากกว่าที่กำหนดไว้ได้หรือไม่?

สามารถชำระเงินงวดมากกว่าที่กำหนดไว้ได้ โดยธนาคารจะนำเงินที่ชำระเกินไว้ไปตัดดอกเบี้ยค้างชำระของลูกค้า (ถ้ามี)

a

หากมีบัญชีเงินกู้หลายบัญชี สามารถเข้าร่วมมาตรการ (M20) ได้ทุกบัญชีหรือไม่?

ลูกค้าสามารถลงทะเบียนร่วมมาตรการได้ทุกบัญชีตามข้อกำหนดและเงื่อนไขของมาตรการนั้นๆ

a

ลูกค้าสถานะปกติจะขอเข้าร่วมมาตรการ(M20)ได้หรือไม่?

มาตรการนี้ธนาคารให้สิทธิเฉพาะลูกค้าที่มีสถานะเป็น NPL เท่านั้น

a

ลูกค้าต้องใช้เอกสารอะไรบ้างในการลงทะเบียนเข้าร่วมมาตรการ (M20)?

เอกสารยืนยันรายได้ เช่น สลิปเงินเดือน หนังสือรับรองเงินเดือน ภาพถ่ายกิจการ หรือ Statement เป็นต้น 

a

ลูกค้าสามารถลงทะเบียนเพื่อขอเข้ามาตรการ (M20)?

ลูกค้าสามารถลงทะเบียนผ่าน  Application GHB ALL BFRIEND ได้ช่องทางเดียวเท่านั้น

a

ลูกค้ากลุ่มไหนบ้างที่สามารถเข้ามาตรการ (M20)ได้?

ลูกหนี้ที่มีสถานะเป็น NPL (DPD มากกว่า 90 วันขึ้นไป) และลูกหนี้ต้องกู้เงินจากธนาคารมาแล้วไม่ต่ำกว่า 2  ปี (ทำสัญญากู้เงินก่อนปี 2564)

สินเชื่อ (6)

a

ธนาคารมีวิธีการคำนวณดอกเบี้ยอย่างไร

ธนาคารใช้วิธีการคำนวณจากยอดเงินต้นคงเหลือ คูณด้วยอัตราดอกเบี้ยเงินกู้(%) คูณจำนวนวันในเดือน (30 หรือ 31 วัน) หารด้วยจำนวนวันในหนึ่งปี (365 หรือ 366 วัน)

a

ลูกค้าเดิมต้องการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยต้องทำอย่างไร

ลูกค้ารายย่อยสามารถขอลดอัตราดอกเบี้ยในการผ่อนชำระได้ หลังจากผ่อนชำระครบกำหนดระยะเวลา 3 ปี โดยต้องมีประวัติการผ่อนชำระสม่ำเสมออย่างน้อย 24 เดือน และไม่อยู่ระหว่างประนอมหนี้

ลูกค้าสวัสดิการ สามารถขอเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยได้หลังจากครบกำหนดการใช้ดอกเบี้ยปีที่ 2

แต่ต้องตรวจสอบจากบันทึกต่อท้ายสัญญากู้เงินอีกครั้ง เนื่องจากบางโครงการจะกำหนดข้อห้ามเช่น ห้ามปิดบัญชี หรือเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยภายในระยะเวลากี่ปี

a

อัตราดอกเบี้ยระหว่างบ้านใหม่ และบ้านมือสองแตกต่างกันหรือไม่

ไม่แตกต่าง อัตราดอกเบี้ยขึ้นอยู่กับโครงการที่ลูกค้าเลือกใช้

a

การรับเงินงวดค่าปลูกสร้างงวดสุดท้ายต้องเตรียมเอกสารอะไรบ้าง

กรณีขอเลขที่บ้านใหม่

-ใบคำขอเลขที่บ้าน
-ใบอนุญาตปลูกสร้าง
-เอกสารการขอใช้น้ำ-ไฟฟ้า

กรณีปลูกสร้างอาคารทดแทนหลังเดิมแต่ไม่ต้องการเปลี่ยนเลขที่บ้าน(กรรมสิทธิ์ในบ้านและที่ดินเป็นของบุคคลอื่นและไม่ได้กู้ร่วม)

-ใบรับรองอนุญาตปลูกสร้าง ทด.13 หรือ ทด.14 (ต้องได้รับการรับรองจากสำนักงานเขตหรืออบต.ในพื้นที่ ไม่สามารถใช้เฉพาะเอกสารขออนุญาตรื้อถอนได้)

a

หากผู้กู้ไม่มีเงินทุนสำรองในการปลูกสร้างธนาคารจะมีวิธีการช่วยเหลืออย่างไร

ธนาคารจะจ่ายเงินงวดให้แก่ลูกค้าก่อนมีผลงานการก่อสร้าง แต่ธนาคารจะบวกดอกเบี้ยเพิ่มร้อยละ 0.50 ต่อปี จนกว่าจะรับเงินงวดสุดท้ายแล้วเสร็จ

a

การจ่ายเงินงวดค่าผลงานการก่อสร้าง ธนาคารจ่ายเงินอย่างไร

ธนาคารจะจ่ายเงินงวดให้แก่ผู้กู้ โดยต้องมีผลงานการก่อสร้างอย่างน้อย 20%

หลักเกณฑ์และเงื่อนไข (6)

a

สามารถขอกู้ตามโครงการสินเชื่อที่อยู่อาศัยเพื่อผู้ประกันตนได้กี่หลักประกัน

ลูกค้าสามารถใช้สิทธิยื่นกู้ตามโครงการนี้ได้เพียง 1 หลักประกันเท่านั้น ยกเว้นกรณีผู้ประกันตนใช้สิทธิกู้ร่วมกัน และมีการถอนชื่อออกจากการกู้ร่วมและกรรมสิทธิ์ร่วม สามารถใช้สิทธิยื่นคำขอกู้เงินตามโครงการนี้ในหลักประกันถัดไปได้ (โดยต้องยื่นกู้ และทำนิติกรรมได้ตามกำหนดระยะเวลาโครงการ)

a

เอกสารประกอบการยื่นกู้ตามโครงการสินเชื่อที่อยู่อาศัยเพื่อผู้ประกันตน

1.รหัสเข้าร่วมโครงการที่ได้รับทาง Line GHB Buddy
2.หนังสือรับรองสถานะความเป็นผู้ประกันตนมาตรา 33 แบบอิเล็กทรอนิกส์ที่ออกจาก www.sso.go.th
3.เอกสารประกอบการยื่นกู้เป็นไปตามเกณฑ์ธนาคารกำหนด เอกสารส่วนตัว / เอกสารรายได้ / เอกสารหลักประกัน

a

ระยะเวลาโครงการสินเชื่อที่อยู่อาศัยเพื่อผู้ประกันตน

สามารถยื่นกู้ได้ตั้งแต่วันที่ 21 ธันวาคม 2565 ถึงวันที่ 19 ธันวาคม 2566 หรือจนกว่าจะเต็มกรอบวงเงิน และสามารถนิติกรรมได้ถึงวันที่ 31 มกราคม 2567

เช็คผลอนุมัติ ธอส ยังไง

คุณลูกค้าสามารถติดตามผลการดำเนินการมายังแอดมินได้ โดยแจ้งข้อมูลชื่อ-นามสกุล หมายเลขโทรศัพท์ และสาขาที่ยื่นกู้ (เพื่อความปลอดภัยของข้อมูลส่วนตัวค่ะ ) มาได้ที่ระบบหลังไมค์ //pantip.com/message. โดยทางธนาคารจะรับเรื่องประสานงานตรวจสอบให้โดยเร็วที่สุดค่ะ

รอการพิจารณาอนุมัติ ธอส กี่วัน

ธนาคารจะติดต่อและแจ้งผลการพิจารณาอนุมัติสินเชื่อให้ท่านทราบภายใน 7 วันทำการ นับจากวันที่ท่านยื่นใบคำขอสินเชื่อ พร้อมเอกสารประกอบ (ครบถ้วน) เพื่อเตรียมนัดวันทำสัญญา

ธอส มีสินเชื่อเงินสดไหม

สินเชื่อเงินสดเบิกทั้งจำนวน วงเงินกู้ วงเงินให้กู้ตามเกณฑ์หลักประกัน และตามเกณฑ์รายได้เป็นไปตามระเบียบปฏิบัติงานสินเชื่อของธนาคาร รายได้ขั้นต่ำ

กี่วันธนาคารจะมาประเมินบ้าน

เมื่อยื่นกู้แล้ว ธนาคารหรือสถาบันการเงินจะส่งเจ้าหน้าที่สำรวจและประเมินราคาบ้านและที่ดิน ที่จะนำมาจำนองเป็นหลักประกันโดยทั่วไปใช้เวลาประมาณ 2-7 วัน ขึ้นอยู่กับแต่ละธนาคารและสถาบันการเงิน วิเคราะห์รายได้ ฐานะทางการเงิน

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง