ใบงาน คุณธรรมจริยธรรมในการใช้สื่อสังคมออนไลน์

หน่วยที่ 9 เรื่อง จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้อินเทอร์เน็ต

    1.อธิบายประเด็นของจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต

    ตอบ    1. ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy)

             2. ความถูกต้อง (Information Accuracy)

             3. ความเป็นเจ้าของ (Information Property)

             4. การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility)

    2.อธิบายจรรณยาบรรณในการใช้อินเทอรืเน็ตที่เรียกว่า Netiquette

    ตอบ    1. จรรยาบรรณสำหรับผู้ใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์

             2. จรรยาบรรณสำหรับผู้สนทนา

             3. จรรณาบรรณสำหรับผุ้ใช้กระดานข่าว เว็บบอร์ด หรือสื่อทางข่าวสาร

    3.อธิบายบัญญัติ 10 ประการ ของจรรยาบรรณที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตพึงจะต้องมี

    ตอบ    1.ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายหรือละเมิดผู้อื่น

             2.ต้องไม่รบกวนการทำงานของผู้อื่น

             3.ต้องไม่สอดแนวหรือแก้ไขเปิดดูแฟ้มของผู้อื่น

             4.ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร

             5.ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ

             6.ต้องไม่คัดลอกโปรแกรมผู้อื่นที่มีลิขสิทธิ์

             7.ต้องไม่ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ์

             8.ต้องไม่นำเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน

             9.ต้องคำนึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคมอันติดตามมาจากการกระทำ

            10.ต้องใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ กติกามารยาท

    4.อธิบายผลกระทบทางบวกของการใช้อินเทอร์เน็ต

    ตอบ    - ช่วยพัฒนาประสิทธิภาพการทำงาน

             - ช่วยพัฒนาคุณภาพการศึกษา

    5.อธิบายผลกระทบทางลบของการใช้อินเทอร์เน็ต

    ตอบ    - ก่อให้เกิดความเครียดของคนในสังคม

             - เกิดการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมจากสังคมหนึ่งไปสู่อีกสังคมหนึ่ง

ใบความรู้ ครงั้ ที่ 15
วิชา คุณธรรมจรยิ ธรรมในการใช้สือ่ สงั คมออนไลน์ รหสั วิชา สค 0200035 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

เร่อื ง คณุ ธรรมและจริยธรรมในการใชส้ ือ่ สงั คมออนไลน์
จรยิ ธรรมทด่ี ใี นการใช้สอ่ื โซเชยี ลมีเดยี

หนา้ ท่ขี องผใู้ ชง้ านสือ่ โซเชยี ลมเี ดยี ทกุ คนคือ ตอ้ งมีจริยธรรมเป็นตวั นำ ควรรู้จกั คดิ พิจารณา แยกแยะ ส่งิ
ท่คี วรทำ ไมค่ วรทำ คำนงึ ถงึ คุณธรรมเปน็ สำคัญ และเลอื กใช้สือ่ ในทางสร้างสรรค์ เพือ่ ประโยชนท์ ัง้ ตอ่ ตนเอง
ครอบครัว สังคม และประเทศชาติการใหค้ วามร้ตู ่าง ๆ ที่ถูกตอ้ งไมล่ ะเมดิ คดั ลอกผลงานของผู้อืน่
ไม่โกหก หลอกลวง ไม่ขายสนิ ค้าที่กอ่ ให้เกดิ อันตรายไม่สร้างความเสยี หายทางธุรกิจแก่ผูอ้ ่ืนไม่คกุ คาม ละเมดิ สิทธิ
เสรีภาพ ของผู้อน่ื ไมก่ ่อกวน สรา้ งความรำคาญเลือกใชภ้ าษาท่ีถกู ตอ้ ง เหมาะสม ไมผ่ ิดหลกั ภาษาไทยไมจ่ ำหนา่ ย
สินค้าท่ีผิดกฎหมาย และทำลายขอ้ มูลของผ้อู ่นื
คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมในการใช้อนิ เทอร์เน็ต + คุณธรรมและจริยธรรมในการใชค้ อมพิวเตอร์

โทษของอินเทอร์เนต็ มีหลากหลายลกั ษณะ ทงั้ ท่เี ป็นแหล่งขอ้ มูลทีเ่ สยี หาย, ข้อมูลไม่ดี ไม่ถกู ตอ้ ง
, แหลง่ ประกาศซอ้ื ขาย ของผิดกฏหมาย, ขายบริการทางเพศ ทร่ี วมและกระจายของไวรสั คอมพิวเตอรต์ ่างๆ

โรคตดิ อินเทอร์เนต็ (Webaholic) เป็นอาการทางจิตประเภทหนง่ึ ซ่ึงนักจิตวิทยาชื่อ Kimberly S
Young ได้ศกึ ษาและวเิ คราะหไ์ วว้ ่า บุคคลใดทม่ี อี าการดังต่อไปน้ี อยา่ งนอ้ ย 4 ประการ เปน็ เวลาไม่นอ้ ย
กว่า 1 ปี แสดงว่าเปน็ อาการตดิ อินเทอร์เน็ต

เทคโนโลยีทท่ี ันสมยั แมจ้ ะชว่ ยอำนวยความสะดวกไดม้ ากเพียงใดกต็ าม สิง่ ทตี่ อ้ งยอมรบั ความ
จริงกค็ ือ เทคโนโลยีทกุ อย่างมจี ดุ เดน่ และข้อดอ้ ยของตนทั้งสิน้ ทง้ั ทีม่ าจากตวั เทคโนโลยเี อง และมาจาก
ปญั หาอื่นๆ เชน่ บคุ คลท่ีมีจดุ ประสงคร์ า้ ย

ในโลก cyberspace อาชญากรรมคอมพวิ เตอรเ์ ป็นปญั หาหลักท่นี บั ว่ายิ่งมคี วามรนุ แรง เพมิ่ มาก
ข้นึ ประมาณกันว่ามีถงึ 230% ในช่วงปี 2002 และแหล่งทเ่ี ป็นจุดโจมตมี ากท่ีสุดก็คือ อินเทอร์เนต็ นบั วา่
รุนแรงกวา่ ปญั หาไวรสั คอมพิวเตอรเ์ สียด้วยซำ้

หน่วยงานทกุ หนว่ ยงานท่นี ำไอทีมาใชง้ าน จงึ ตอ้ งตระหนกั ในปัญหาน้เี ป็นอย่างยงิ่ จำเป็นต้องลงทุน
ดา้ นบุคลากรท่มี ีความ

เชย่ี ว ชาญด้านการรกั ษาความปลอดภัย ระบบซอฟต์แวร์ ฮารด์ แวรท์ ่ีมีประสทิ ธภิ าพ การวางแผน
ตดิ ตาม และประเมนิ ผลที่ตอ้ งกระทำอยา่ งสมำ่ เสมอต่อเน่อื ง แต่ไมว่ า่ จะมกี ารปอ้ งกนั ดีเพยี งใด ปญั หาการ
โจมตีระบบคอมพิวเตอรก์ ็มีอยเู่ รื่อยๆ ท้งั นีร้ ะบบการโจมตีที่พบบ่อยๆ
คณุ ธรรมจริยธรรมในการใชส้ ือ่ สังคมออนไลน์
1. ไมใ่ ช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผอู้ ื่น
2. ไมร่ บกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อน่ื

3. ไมแ่ อบดแู ฟม้ ขอ้ มลู ของผูอ้ ืน่
4. ไม่ใชค้ อมพิวเตอรเ์ พือ่ ลักขโมย
5. ไม่ใชค้ อมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใชห้ รือทำสำเนาซอฟต์แวรท์ ตี่ นไมไ่ ดซ้ ือ้ สทิ ธิ์
7. ไม่ใชค้ อมพิวเตอร์ของผ้อู ืน่ โดยไม่มอี ำนาจหนา้ ท่ี
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อ่นื มาเป็นของตน
9. คิดถึงผลตอ่ เนอ่ื งทางสงั คมของโปรแกรมทีเ่ ขยี น
10. ใชค้ อมพิวเตอรใ์ นทางทแ่ี สดงถึงความใครค่ รวญและเคารพ
จรรยาบรรณ

จรรยาบรรณ คอื ประมวลความประพฤตทิ ี่ผู้ประกอบอาชีพการงานแต่ละอย่างกำหนดขน้ึ เพ่ือ
รกั ษาและส่งเสริมเกียรติคุณชือ่ เสียงและฐานะของสมาชิก อาจเขียนเปน็ ลายลักษณ์อักษรหรือไม่กไ็ ด้
จรรยาบรรณการใช้งาน อนิ เทอรเ์ นต็

จรรยาบรรณการใช้งาน อินเทอรเ์ นต็ คือ ข้อกำหนดท่ผี ูใ้ ชง้ านอนิ เทอร์เน็ต พงึ่ กระทำ เพื่อดำรงไวซ้ ่ึง
ความสงบ ไมข่ ัดต่อกฎหมาย

1. ผทู้ ีใ่ ช้งานอินเทอรเ์ นต็ ต้องซื่อสตั ย์ และมีคุณธรรม ต้ังหม่ันอยู่บน กฎหมายบา้ นเมือง
2. ไมน่ ำผลงานของผอู้ ืน่ มาเปน็ ของตน ในกรณที ี่ต้องนำมาใชง้ านตอ้ งอ้างถงึ บคุ คล หรือแหล่งท่ีมาของ
ข้อมูล ท่ีนำมาใช้
3. พึ่งระลกึ เสมอวา่ ส่งิ ทน่ี ำเสนอบนอินเทอร์เนต็ อาจจะมเี ดก็ หรือผู้ทขี่ าดประสบการณ์เขา้ มาดูได้
ตลอดเวลา ดงั น้ันการนำเสนอขอ้ มลู ควรท่ีจะเปน็ ไปในทางทดี่ ี มีคุณธรรม
4. ไมค่ วรใสร่ ้ายป้ายสี หรือสิง่ อนื่ ส่งิ ใดอนั จะทำให้บคุ คลที่สามเกดิ ความเสยี หายได้
5. การใชค้ ำพูดควรคำนึงถึงบคุ คลอืน่ ๆ ท่ีอาจจะเข้ามาสบื ค้นขอ้ มูลท่ีมีหลากหลาย จงึ ควรใชค้ ำที่สุภาพ
6. ไมใ่ ชส้ ่อื อนิ เทอรเ์ นต็ เปน็ เคร่อื งมือในการหลอกลวงผอู้ ื่นให้หลงผดิ หลงเชื่อในทางที่ผิด
7. พึงระลึกเสมอว่า การกระทำผิดทางอินเทอร์เนต็ สามารถที่จะตดิ ตามหาบุคคลที่กระทำได้ โดยงา่ ย
8. การกระทำความผิดทางอนิ เทอรเ์ น็ต บางกรณเี ป็นอาชญากรรม ท่มี คี วามผดิ ทางกฎหมาย
9. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอรท์ ำรา้ ย หรือละเมิดผู้อื่น
10. ตอ้ งไมร่ บกวน สอดแนม แกไ้ ข หรือเปิดดูแฟม้ ขอ้ มูลของผอู้ ่นื
11. ตอ้ งไม่ใช้คอมพวิ เตอร์เพ่ือการโจรกรรมขอ้ มลู ขา่ วสาร
12. ตอ้ งไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลกั ฐานท่ีเป็นเทจ็
13. ต้องไม่คดั ลอกโปรแกรมของผู้อื่นท่มี ลี ิขสิทธ์ิ
14. ตอ้ งไม่ละเมดิ การใชท้ รัพยากรคอมพวิ เตอร์โดยทต่ี นเองไม่มีสทิ ธิ์

15. ต้องคำนงึ ถงึ สงิ่ ทจี่ ะเกดิ ข้ึนกบั สังคมทเ่ี กิดจากการกระทำของทา่ น
16. ต้องใช้คอมพวิ เตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ กติกา และมมี ารยาท

ในการใช้สอื่ สงั คมออนไลน์ เชน่ เฟซบุก๊ และทวติ เตอร์นัน้ นอกจากจะมีความเส่ียงท่เี กิดจากอาชญากรรม
ทางคอมพวิ เตอร์ เชน่ การถกู hack ข้อมูล หรอื การขโมยตวั ตนในสื่อสงั คมออนไลนแ์ ล้ว ยงั มีความเสยี่ งอีกอย่าง
หน่งึ ท่ีอาจเกิดข้ึนจากตวั ผู้ใชง้ านสังคมออนไลน์เอง นั่นกค็ อื ความเสย่ี งทจ่ี ะตอ้ งรบั ผิดตามกฎหมายจากการโพสต์
หรอื ส่งตอ่ ขอ้ ความในส่ือสงั คมออนไลน์ ดว้ ยจุดเด่นของส่ือสังคมออนไลนท์ สี่ ามารถมีความสะดวกและรวดเร็วใน
การเผยแพร่และการรับข้อมลู ข่าวสาร จึงทำให้สอ่ื สังคมออนไลนถ์ ูกนำมาใช้ในการเผยแพรแ่ ละประชาสัมพนั ธ์
ข้อมลู ข่าวสารทง้ั ของ ภาคประชาชน ภาครัฐ และภาคเอกชน เช่น ณ ปัจจุบันซง่ึ ประเทศไทยกำลงั ประสบกบั
อทุ กภยั ครัง้ ใหญ่ ประชาชนชาวไทยต่างกต็ ่ืนตัวในการรบั ร้ขู า่ วสารเกีย่ วกบั สถานการณน์ ้ำทว่ มผา่ นสื่อสงั คม
ออนไลน์ เชน่ เฟซบ๊กุ และทวิตเตอร์ เนือ่ งจากเปน็ ชอ่ งทางทีม่ ีข่าวสารครอบคลุมตั้งแตก่ ารแจ้งพ้ืนท่เี ส่ยี งและพ้ืนที่
ประสบอทุ กภยั การแจง้ เสน้ ทางจราจร การแจ้งใหอ้ พยพ การประสานงานเพ่อื ชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภัย ไปจนถึง
การวิพากษ์วิจารณ์การทำงานของรฐั บาลและ

ข้อมลู ขา่ วสารที่อย่ใู นสงั คมออนไลน์ของประชาชนชาวไทยในช่วงอุทกภยั นัน้ กม็ ไิ ด้มเี ฉพาะข่าวจริงที่
เชอ่ื ถอื ได้เสมอไป แต่กลบั ระคนไปดว้ ย ขา่ วเท็จ ข่าวม่วั และขา่ วลือ เนอื่ งจากผูใ้ ช้งานบางคนเมื่อได้รับข้อมูลที่
หลั่งไหลผ่านหนา้ เฟซบุ๊กและทวติ เตอรแ์ ล้วก็ส่งตอ่ ทนั ทโี ดยไมไ่ ดพ้ ิจารณาถงึ แหล่งขา่ วหรอื ความนา่ เชื่อถือของ
ข่าวสารนั้น ๆ บางคนก็พยายามกขุ ่าวลือและสรา้ งกระแสต่าง ๆ โดยการโพสต์รปู ทมี่ กี ารตดั ต่อและขอ้ ความอนั
เปน็ เท็จ หรือขอ้ ความเกี่ยวกับสถานการณ์นำ้ าทว่ มทเ่ี กินจริงหรอื ไมช่ ัดเจนในรายละเอียดซึ่งก่อใหเ้ กดิ ความ
สับสนและความตื่นตระหนกตอ่ ประชาชนผู้ไดร้ ับข้อมูลข่าวสาร ไมว่ า่ จะด้วยความคกึ คะนองหรือดว้ ยการหวัง
ผลประโยชนท์ างธรุ กจิ ก็ตามเชน่ ในทวติ เตอรข์ องบางคนมกี ารโพสตข์ อ้ ความวา่ พบศพเด็กหรือเจองูพษิ หรือจระเข้
ลอยมาตามนา้ ที่นั่นทน่ี ี่ โพสต์ว่าให้รบี กักตุนสินค้าชนดิ น้นั ชนดิ นไ้ี ว้เนอื่ งจากสินค้ากำลงั จะขาดตลาด หรือโพสตว์ า่
สถานท่นี ัน้ สถานท่นี ้ีมนี ำ้ ท่วมสงู ไม่สามารถสัญจรผา่ นหรอื เข้าไปใชบ้ ริการได้ แล้วมกี าร ทวตี กันตอ่ อย่าง
แพร่หลาย ซงึ่ ปรากฏวา่ เมื่อมกี ารตรวจสอบจากประชาชนในพ้นื ทแ่ี ละจากแหล่งขา่ วที่เชอื่ ถอื ได้ กพ็ บวา่
สถานการณ์ยงั ปกตแิ ละไมม่ เี หตุการณต์ ามท่กี ล่าวอ้าง แสดงให้เหน็ ว่าผู้ใช้งานสอื่ สังคมออนไลน์บางคน ยงั ขาด
ความรับผดิ ชอบตอ่ สังคมและความตระหนักถึงความรับผิดตามกฎหมายในการใชส้ ่ือสังคมออนไลน์ ในทาง
กฎหมาย การใช้งานสื่อสังคมออนไลน์ในทางทผ่ี ิด เช่น การโพสตร์ ูปภาพหรอื ขอ้ ความทไ่ี ม่เปน็ ความจรงิ โดยมี
เจตนาที่จะกอ่ ให้เกดิ ความเสียหายแกผ่ ู้อื่นหรือสร้างความป่นั ปว่ นใหก้ ับสังคมน้นั

รู้เท่าทนั สือ่ คอื อะไร

การรเู้ ท่าทันสื่อ คอื การที่เราไม่หลงเชื่อเนอื้ หาท่ไี ด้อ่าน ได้ยนิ ได้ฟงั แต่สามารถคิด วเิ คราะห์ สงสยั
และรู้จักตัง้ คำถามว่า สิง่ นัน้ จรงิ หรอื ไมจ่ รงิ ใครเป็นคนให้ข้อมลู เขาต้องการส่ืออะไร หรอื มีจุดมุ่งหมายแอบแฝง
หรือไม่
5 องค์ประกอบของการรู้เทา่ ทนั สอ่ื ท่เี ราตอ้ งมี ไดแ้ ก่
1.การเปดิ รบั สอื่

การเปดิ รบั การเขา้ ใจการวเิ คราะหส์ ือ่ สื่อส่อื คือ การรูเ้ ทา่ ทันการเปดิ รบั ส่อื ของประสาทสมั ผสั หู ตา
จมกู ลนิ้ สมั ผัสของเรา ซ่งึ เม่ือเปดิ รับแลว้ สมองจะสง่ั การให้คิดและปรุงแตง่ ใหเ้ กิดอารมณ์ต่างๆตามมา การ
รเู้ ทา่ ทันส่ือในข้ันของการรับรูอ้ ารมณ์ตนเองจึงเป็นส่งิ สำคญั ทตี่ ้องแยกความคิดและอารมณ์ออกจากกัน และ
ความคดิ จะทำให้เรารับรู้ความจรงิ ว่า“อะไรเปน็ ส่ิงทีส่ ่ือสร้างข้นึ ”เปน็ ตน้
2.การวิเคราะห์สอ่ื

คือ การแยกแยะองค์ประกอบในการนำเสนอของสือ่ วา่ มีวตั ถุประสงค์อะไร
3.การเข้าใจส่ือ

คือ การตีความสอ่ื หลังจากเปิดรับส่ือไปแลว้ เพือ่ ทำความเข้าใจในส่ิงท่สี ือ่ นำเสนอ ซ่ึงผู้รับสารแต่ละคน
กจ็ ะมีความเขา้ ใจส่ือได้ไม่เหมือนกนั ตีความไปคนละแบบ ข้นึ อยกู่ บั ประสบการณ์ พ้นื ฐานการศกึ ษาคณุ สมบตั ิใน
การเรยี นรู้ ตลอดจนการรับรู้ขอ้ มูลของแต่ละบคุ คลท่ีไม่เท่ากนั มาก่อน
4.การประเมินค่า

หลังการวเิ คราะห์และทำความเข้าใจส่ือแล้ว เราควรประเมนิ ค่าสงิ่ ทส่ี ื่อนำสนอว่ามีคุณภาพและคุณคา่
มากนอ้ ยเพยี งใด ไมว่ ่าจะเป็นดา้ นเน้อื หา วิธีนำเสนอเทคนคิ ที่ใช้ เปน็ ต้น
5.การใชส้ อ่ื ให้เกิดประโยชน์

แมเ้ ราจะสามารถวเิ คราะห์ เข้าใจ และประเมินค่าสอ่ื ได้ แต่เราไมส่ ามารถออกไปจากโลกของส่อื ได้
ดงั น้นั เราจงึ จำเปน็ ต้องปฏบิ ัติดงั น้ี คอื
- นำสิ่งทเ่ี ราวิเคราะหไ์ ปใชป้ ระโยชน์
- เลอื กรบั สื่อเป็น
- สามารถส่งสารต่อได้
- มปี ฏกิ ิริยาตอบกลับส่อื ได้

5 องคป์ ระกอบนเ้ี ปน็ พื้นฐานอนั ดีของการเป็นผผู้ ลิตส่อื ท่ดี ี สำหรับผทู้ ส่ี ามารถคิดวเิ คราะห์ เข้าใจ
ธรรมชาติของสื่อได้เป็นอยา่ งดีแลว้ เราอาจเปน็ ผูผ้ ลิตสือ่ เอง โดยกอ่ ให้เกิดส่ือดๆี มปี ระโยชนเ์ พ่ือสังคม โดย
การวางแผนการจัดการสือ่ อยา่ งเหมาะสมและเลือกขอ้ มลู เพ่ือคดิ เขียน พูดให้สอดคลอ้ งกับวตั ถุประสงค์ท่ี
ต้องการภายใต้การผลิตสอ่ื ท่ีมีความรบั ผิดชอบต่อสังคมองคป์ ระกอบนเี้ ปน็ พืน้ ฐานอนั ดขี องการเปน็ ผู้ผลติ
สื่อทีด่ ี


Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง