โปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ2ส

วันที่ 7 พฤศจิกายน 2562 กลุ่มวิชาการและพัฒนาคุณภาพงานสุขศึกษา

     
     
     
     
     
     
     

ไฟล์เอกสารประกอบ

  • 4.1 หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เส้นทางสู่ความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย.pdf
  • 4.2 โปรแกรมสุขศึกษาเพื่อการเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพตามหลัก 2 อ. (อาหาร ออกกำลังกาย) ในการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงสำหรับวัยทำงาน.pdf
  • 4.3 โปรแกรมสุขศึกษาเพื่อการเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพตามหลัก 2 ส. (สูบบุหรี่ ดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์) ในการป้องกันโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคมะเร็ง สำหรับวัยทำงาน.pdf
  • 4.4 โปรแกรมสุขศึกษาเพื่อการเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy - HL) เรื่อง การป้องกันวัณโรคในชุมชน สำหรับอาสาสมัครสาธารณสุขและประชาชนกลุ่มวัยทำงาน.pdf
  • 4.5 โปรแกรมสุขศึกษาเพื่อการเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy - HL) เรื่อง การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล สำหรับอาสาสมัครสาธารณสุขและประชาชนกลุ่มวัยทำงาน.pdf
  • 4.7 แบบประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนวัยทำงานในหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพพฤติกรรมสุขภาพ.rar
  • 4.8 แบบประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของอาสาสมัครสาธารณสุข สำหรับหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในตำบลจัดการคุณภาพชีวิต.pdf

Like  

Tweet  

Share  

จ.สุราษฎร์ธานี โดยการสุ่มอย่างง่าย จำนวน 28 คน ผู้วิจัยดำเนินการวิจัยโดยใช้โปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

สุขภาพตามแนวทาง 3อ.2ส. โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎี แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ โดยใช้ระยะเวลา 12 สัปดาห์

เก็บรวบรวบข้อมูลด้วยแบบสอบถาม คือแบบทดสอบความรู้ หาคุณภาพด้วยความตรงเชิงเนื้อหาโดยวิธีดัชนีความ

สอดคล้อง พบว่ามีค่าอยู่ระหว่าง .60-1.00 นำไปทดลองใช้เพื่อหาค่าความเที่ยงด้วยวิธีการของคูเดอร์ริชาร์ดสัน

ได้เท่ากับ .62 และแบบประเมินพฤติกรรมสุขภาพตามแนวทาง 3อ.2ส. หาความตรงเชิงเนื้อหา พบว่าค่าดัชนี

ความสอดคล้องมีค่าอย่รู ะหว่าง .60 -1.00 นำไปหาความเที่ยงด้วยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้เท่ากับ

.84 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีแบบสัมพันธ์กัน

ผลการวิจัยพบว่า

1. ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตามแนวทาง 3อ.2ส. ก่อนและหลังใช้โปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

สุขภาพไม่แตกต่างกัน

2. โดยภาพรวมพฤติกรรมสุขภาพตามแนวทาง 3อ.2ส. ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)

ก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามแนวทาง 3อ.2ส. แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ

ทางสถิติที่ระดับ .01 โดยคะแนนพฤติกรรมหลังเข้าร่วมโปรแกรม (M=1.88, SD=0.32) สูงกว่าก่อนเข้าร่วม

โปรแกรม (M=1.53, SD=0.41)

Downloads

Download data is not yet available.

Downloads

  • PDF (English)

ฉบับ

ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 (2017): มกราคม - เมษายน 2560

บท

บทความวิจัย

License

1. บทความหรือข้อคิดเห็นใด ๆ ที่ปรากฏในวารสารเครือข่าย วิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้ ที่เป็นวรรณกรรมของผู้เขียน บรรณาธิการหรือเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและวิทยาลัยการสาธารณสุขภาคใต้ ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย

การศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่อพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2ส. ในประชากรกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองรี

ผู้แต่ง

  • ขนิษฐา สระทองพร้อม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองรี
  • สุทธิศักดิ์ สุริรักษ์ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดสุพรรณบุรี

คำสำคัญ:

โปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม, พฤติกรรม3อ.2ส.

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้  เป็นการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยก่อนทดลอง (Pre-experimental  Research)  มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพตามหลัก3อ.2ส.ของประชากรกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองรี ตำบลบ้านเลือก อำเภอ      โพธาราม  จังหวัดราชบุรี  และเพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพตามหลัก3อ.2ส.ของประชากรกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงก่อนและหลังการใช้โปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุ่มตัวอย่างได้มาจากกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง ระหว่างวันที่ 1 เมษายน 2561 ถึง 1 พฤษภาคม 2561 จำนวน 30 ราย 

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1.เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองประกอบด้วยโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดพุง เป็นโปรแกรมเพื่อที่จะลดน้ำหนักหรือรอบเอว ลดน้ำตาลในเลือดสำหรับผู้ที่เสี่ยงเบาหวาน และลดค่าความดันให้เหมาะสมสำหรับบุคคลที่มีภาวะเสี่ยงความดันโลหิตสูง ผู้วิจัยได้เก็บข้อมูลก่อนและหลังการนำโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปใช้เป็นระยะเวลา1เดือน เพื่อประเมินพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2ส. ในด้านอารมณ์ ด้านการออกกำลังกาย ด้านอาหาร ด้านการดื่มไม่สุรา ด้านการไม่สูบบุหรี่ ซึ่งโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใช้ระยะเวลาในการดำเนินการ1เดือน 2.เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงและแบบประเมินพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพตามหลัก 3อ.2ส. ในประชากรกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยผู้วิจัยได้เก็บข้อมูลก่อนและหลังการนำโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพมาใช้กับประชากรกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงเพื่อประเมินพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพตามหลัก 3อ.2ส. สถิติที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยสถิติพรรณนา ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)  และสถิติอ้างอิง pair t-test

ผลการวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพตามหลัก 3อ.2ส.ในประชากรกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง ก่อนการทดลองมีค่า 2.14 และหลังการทดลองมีค่าเท่ากับ 3.13 เมื่อนำค่าเฉลี่ยการส่งเสริมสุขภาพตามหลัก 3อ.2ส.ในประชากรกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงก่อนและหลังการทดลอง มาเปรียบเทียบกัน  พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนการส่งเสริมสุขภาพตามหลัก3อ.2ส.ภายหลังการทดลองมีค่าสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมนัยสำคัญทางสถิติ(p<0.05)

Downloads

Download data is not yet available.

References

กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค.(2555). รายงานสรุปข้อมูลการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำข้อมูลโรคไม่ติดต่อระดับประเทศในการประชุม UN General Assemble High-Level Meeting on the Prevention and Control of Non Communicable Diseases. กรุงเทพฯ:บริษัท โอ-วิทย์ (ประเทศไทย) จำกัด.

กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2558). โครงการส่งเสริมการรณรงค์และขยายผล ศูนย์เรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุงต้นแบบสำนักสร้างเสริมวิถีชีวิตสุขภาวะ.สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.). คู่มือลดพุงลดโรค.หน้า 1-10.

นวลนิตย์ ไชยเพชร อุดมศิลป์ แก้วกล่ำ, สิทธิพงษ์ สอนรัตน์ และยุวดี วิทยพันธ. (2560). ประสิทธิผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพต่อ พฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรังชุมชนโพหวาย ตำบลบางกุ้ง อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานีNon Communicable Diseases (NCD’s) High Risk Patients: Effectiveness of a Health Behaviors Changing Programs on Health Behavior in Suratthani. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 4(2), 45-59.

ปัญญา ไข่มุก. (2556). คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ผู้เชี่ยวชาญทางด้านกระดูก ข้อ และวิทยาศาสตร์การกีฬา สสส. เรื่อง ลดพุง ลดโรค ปี 2556.

รุจิรางค์ วรรณ์ธนาทัศน์. (2560). ประสิทธิผลของโปรแกรมการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเครือข่ายในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ และการรับรู้ความสามารถในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ. 2ส.ของผู้สูงอายุ จังหวัดนครปฐม. วารสารแพทย์เขต 4-5, 36(1), 2-11.

สิรีวัฒน์ อายุวัฒน์, อภิเชษฐ์ พูลทรัพย์ และนิดา มีทิพย์. (2560). การคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในประชาชน.วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 4(พิเศษ), 131-145.

สุพิชชา วงศ์จันทร์. (2557). อิทธิพลทางจิตสังคมและการกำกับตนเองที่มีผลต่อพฤติกรรมสุขภาพของผู้รับบริการที่มีภาวะอ้วนในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ ปริญญาวิทยาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 1-28.

สำรวย กลยณี และศศิวรรณ ทัศนเอี่ยม .(2562). ผลของการประยุกต์ใช้หลัก 3อ. 2ส. ร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคมเพื่อลดความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของประชาชนกลุ่มเสี่ยงราใหม่. วารสารราชพฤกษ์ 17(2), 95-104.

วิชัย เทียนถาวร. (2556). ระบบเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกัน โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในประเทศไทย:นโยบายสู่การปฏิบัติ. (พิมพ์ครั้งที่ 3 ปรับปรุง). กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจำกัด.

อรรถพงศ์ เพ็ชร์สุวรรณ์. (2552). พฤติกรรมสุขภาพของประชาชนเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานกรณีศึกษา ผู้รับบริการทางการแพทย์เขตสถานีอนามัย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี. วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต .วารสารการพยาบาล สุขภาพ และการศึกษา ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 (ก.ย.–ธ.ค. 61). หน้า 11-16.

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง