วิธีการ ทางประวัติศาสตร์ นํา ไปใช้ในชีวิต ประ จํา วันได้ อย่างไร

ในแต่ละวันเราต้องสื่อสารกับคนอื่นตลอดเวลา จนละเลยที่จะสื่อสาร หรือ "ตั้งคำถาม" กับตัวเอง ดังนั้นการบันทึกชีวิตประจำวัน หรือการเขียนไดอารี่ เป็นทางหนึ่งที่ได้สื่อสาร ทบทวน และให้ "ความหมาย" กับตัวเอง "เรื่องราว" ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะของผู้หญิงจึงสำคัญต่อการเขียนประวัติศาสตร์ของคนธรรมดาสามัญ

ในแต่ละวันเราต้องสื่อสารกับคนอื่นตลอดเวลาจนละเลยที่จะสื่อสาร หรือ "ตั้งคำถาม" กับตัวเอง ดังนั้นการบันทึกชีวิตประจำวัน หรือการเขียนไดอารี่ เป็นทางหนึ่งที่ได้สื่อสาร ทบทวน และให้ "ความหมาย" กับตัวเอง

เช่น เริ่มต้นถามว่า ชีวิตประจำวันของเรา ตั้งแต่ตื่นขึ้นมาอาบน้ำแปรงฟัน กินข้าว ดื่มน้ำ จะดูหนัง ฟังเพลง กิจกรรมในชีวิตประจำเหล่านี้เรากำหนดหรือใครกำหนด พิจารณาให้ลึกจะรู้ว่า การขับเคลื่อนชีวิตประจำวันของเราที่ดูเหมือนเป็นธรรมชาติ คิดว่าเราเองเป็นผู้กำหนดขึ้นมาเองนั้น เช่น การดื่มน้ำ ทำไมบางคนดื่มจากแก้ว บางคนดื่มโดยใช้หลอดดูด บางคนก้มดื่มจากแหล่งน้ำ หรือการกินผลไม้ เรารู้ได้อย่างไรว่า ผลไม้ชนิดไหนกินได้ และกินอย่างไร ทำไมบางผลกัดกินได้ บางผลต้องปอกเปลือก ผลไม้ชนิดเดียวกันอยู่ที่บ้านกินแบบหนึ่ง เมื่ออยู่นอกบ้านก็กินอีกแบบหนึ่ง วันนั้น เวลานี้ เราทำสิ่งนี้ แต่วันนี้เวลาเดียวกันเราไม่ทำอย่างนั้น ฯลฯ ความแตกต่างเหล่านี้เกิดจากอะไร เกิดจากสังคมสร้างขึ้นมามิใช่หรือ "เรื่องราว" ในชีวิตประจำวันจึงสำคัญต่อการเขียนประวัติศาสตร์ เพราะเป็นด้านซ้ำซากของมนุษย์ที่ถูกสังคมนั้นหล่อหลอมขึ้นมา ชีวิตประจำวันอยู่ทุกที่ทุกแห่งหน แต่คนเรามักมองไม่เห็น ทั้งๆ ที่กิจกรรมในชีวิตประจำวันดำรงอยู่ตลอดเวลา โดยมีเวลาและพื้นที่เป็นตัวกำหนดกิจกรรมนั้น และบางครั้งชีวิตประจำวันก็เป็นเวทีของ "ปัจเจก" (agency) ต่อสู้กับโครงสร้างอำนาจในสังคม เหมือนกับการเล่นฟุตบอลที่มีกฏ กติกา ขอบเขตสนามที่ผู้เล่นต้องเล่นตาม แต่ในสนามนักบอลก็มีเทคนิค วิธีการที่เป็น "ทักษะส่วนตัว" ในการหาชัยชนะให้กับตนเอง หรือกรณีการแต่งเครื่องแบบของนักศึกษา ตามระเบียบของมหาวิทยาลัยกำหนดไว้อย่าง และทุกวันนี้เราเห็นนักศึกษาแต่งกายอย่างไร เหล่านี้เป็นเรื่องของการต่อต้าน/ต่อรองกับสังคม (struggle) และต่อต้านโครงสร้างอำนาจ (power Block) เป็น "การเมืองในชีวิตประจำวัน" และ "ชัยชนะเล็กๆ ของผู้ที่อ่อนแอกว่า" โดยเรามักไม่สังเกตเห็นความขัดแย้งที่ซ่อนอยู่และมีมากกว่าความปรองดอง ความสมานฉันท์กับโครงสร้างอำนาจ

เมื่อพิจารณาระหว่าง "ชีวิตประจำวัน" ในฐานะประวัติศาสตร์ของผู้หญิงกับ "ประวัติศาสตร์กระแสหลัก" (History) จะเห็นความแตกต่างทั้งสองอย่างเด่นชัด ประวัติศาสตร์กระแสหลัก เป็นเรื่องเล่าที่นักประวัติศาสตร์ นักวิชาการ รวมทั้งรัฐ ซึ่งล้วนแต่เป็น "คนอื่น" และเป็นผู้ชาย เป็นผู้บันทึก "เรื่องเล่า" ซ้ำยังเลือกบันทึกเหตุการณ์ของ "ผู้อื่น" เพื่อบอกว่าเป็น "ความจริง" ขณะที่การบันทึกชีวิตประจำวัน ผู้หญิงจะบันทึกเอง และบันทึกเรื่องของตนเองเพื่อต่อรองกับ "เรื่องหลัก" ที่ผู้อื่นบันทึก ทั้งนี้น่าสังเกตเห็นว่าเมื่อผู้หญิงบันทึกชีวิตประจำวัน นักวิชาการมักไม่ตั้งคำถาม "ความจริง" เป็นอย่างไร แต่กลับส่องดูและตีความเอากับ "ความหมาย" ในกิจกรรมนั้นจากผู้หญิง

อ่านต่อ

  • Social

  • ชีวิตประจำวัน
  • ประวัติศาสตร์
  • ผู้หญิง

  • จักรพันธ์ บุญวงค์ ม.3/2 เลขที่ 2 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์มี 4 ขั้นตอน

    • กลับไปอ่าน!!!!!!!!! ทบทวนดูใหม่นายไมค์ ยังไม่ถูกนะ

  • ด.ช.มณฑวรรษ จันต๊ะ ม.3/2 เลขที่5 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์หมายถึงวิธีการที่ผู้ต้องการสืบค้นข้อมูลเรื่องราวในอดีต

  • ด.ช.ธัชธรรม เครือธิ เลขที่ 4 3/2 พูดว่า:

    จากากรดูวิดีโอ
    วิธีทางประวัติศาสตร์มี 5 ขั้นตอน ได้แก่
    ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดเป้าหมาย
    ขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมข้อมูล
    ขั้นตอนที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน
    ขั้นตอนที่ 4 การตีความหลักฐาน
    ขั้นตอนที่ 5 การสังเคราะห์และการวิเคราะห์ข้อมูล

  • วริช บุญถา ม.3/2 เลขที่ 6 พูดว่า:

    ลำดับขั้นตอนทางประวัติศาสตร์
    1.กำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    2.ค้นคว้าแล้วรวบรวมข้อมูล
    3.ตรวจสอบหลับฐาน
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • สุกัลย์ โคงาม เลขที่11 ม.3/1 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์
    คือวิธีการที่เกี่ยวข้องกับประวัติสตร์ใช้เพื่อค้นคว้าหาข้อมูลในอดีต

  • ด.ญ.เพ็ญพรรณ จักรเขียว เลขที่ 23 ม.3/1 พูดว่า:

    ได้รู้ว่าวิธีการประวัติศาสตร์ได้สำรวจมาจากสิ่งของหรือวัสดุต่างๆที่เก็บรวบรวมได้มา และมีวิธีการประวัติศาสตร์มี 5 ขั้นตอนในการดำเนินงานในทางประวัติศาสตร์

  • ด.ญ.จุฑาทิพย์ คำเมืองใจ เลขที่ 16 ม.3/2 พูดว่า:

    1.ขั้นตอนทางประวัติศาสตร์มีดังนี้
    -.กำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    -.ค้นคว้าแล้วรวบรวมข้อมูล
    -.ตรวจสอบหลับฐาน
    -.การตีความหลักฐาน
    -.การนำเสนอข้อมูล
    2.ประโยชน์ของการศึกษาประวัติศาสตร์
    ศึกษาเพื่อนำไปใช้จริงในชีวิตประจำวันของเรา และเป็นความรู้ที่เราต้องทราบเพื่อไปศึกษาต่อ

  • ด.ญ.สุทธิมลตรา เครือคำ ม.3/1 เลขที่27 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์ เป็นวิธีการขั้นพื้นฐานที่เราจะต้องนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและในอนาคตของเรา วิธีการทางประวัติศาสตร์ทำให้เราได้รู้ถึงเรื่องต่างๆที่เราต้องการรู้โดยเป็นวิธีการที่เป็นระบบ ระเบียบ (ขอขอบพระคุณ คุณครูสุดเฉลิม เป็นอย่างสูงค่ะที่ให้ความรู้แก่ดิฉัน)

  • ด.ญ.วิภาดา ปีติ ชั้น ม.3/2 เลขที่ 30 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์มี5ขั้นตอน
    1กำหนดหัวเรื่องที่จะศึกษา
    2ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    3การตรวจสอบข้อมูล
    4การตีความ
    5การนำเสนอ
    วิธีการทางประวัติศาสตร์สามารถใช้ในการสืบค้นเรื่องราวต่างๆได้

  • พฤทธิ์ สุยะ เลขที่ 6 ม.3/1 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์เป็นวิธีการต้องๆที่ทำให้เราสืบค้นหาหลักฐานต่างๆมาวิเคราะห์ตรวจสอบแล้วมาเผยแพร่ให้ทุกคนได้รับรู้ถึงที่ไปที่มาของหลักฐานเพราะฉะนั้นผู้ที่วิเคราะห์ตรวจสอบหลักฐานต้องตรวจสอบอย่างละเอียด

  • ด.ญ.ศุภานัน แก้วน้อย ม.3/1 เลขที่31 พูดว่า:

    หลังจากศึกษาและดูวิดิโอแล้ว วิธีการทางประวัติศาสตร์มีทั้งหมดอยู่ 5ขั้นตอน
    1.กำหนดหัวเรื่องที่จะศึกษา จะมีการตั้งประเด็นคำถาม ได้แก่ ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อใร ทำไม อย่างไร เป็นคำถามที่ตอบได้ด้วย
    2.ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล มีการเกี่ยวข้องกับเรื่องหลักฐานชั้นต้นและหลักฐานชั้นรอง หลักฐานชั้นต้น ได้แก่ ข้อมูลสอบถามจากผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์ หลักฐานชั้นรอง ได้แก่ บทความทางวิชาการหนังสือต่างๆ
    3.การตรวจสอบข้อมูล การรวบรวมดูว่าถูกต้อง น่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด การวิพากษ์กหลักฐานแบ่งออกเป็น 2 ข้อย่อย -วิพากษ์ภายนอก -วิพากษ์ภายใน
    4.การตีความ เมื่อรวบรวมดูว่าถูกต้อง น่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใดแล้ว พิจารณาความหมายในหลักฐานว่าผู้สร้างหลักฐานมีเจตนาแอบแฝงหรือไม่ อย่างไร
    5.การนำเสนอ เป็นขั้นตอนสุดท้ายที่ต้องของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ตรวจสอบข้อมูล และเลือกสรร เพื่อตอบคำถาม

  • เด็กชายจิรภัทร คำเรือง เลขที่ 1 ชั้นม.3/1 พูดว่า:

    จากที่ได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลทำให้ทราบว่าวิธีการทางประวัติศาสตร์มี5ขั้นตอน
    1กำหนดหัวเรื่องที่จะศึกษา
    2ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    3การตรวจสอบข้อมูล
    4การตีความ
    5การนำเสนอ
    และวิธีทางประวัติศาสตร์ก็คล้ายกับวิธีทางวิทยาศาสตร์

  • ด.ญ. กมลภรณ์ เพ็ชรทัต ม.3/2 เลขที่32 พูดว่า:

    ดิฉันได้ศึกษาทบทวนแล้ว ได้รู้ว่า
    วิธีการทางประวัติศาสตร์มี 5 ขั้นตอน
    1. กำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    2.ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    3.ตรวจสอบหลักฐาน
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • ดช. วรินทร กราวทอง ม.3/2 เลขที่12 พูดว่า:

    วิธีการประวัติศาสตร์คือผู้ที่ต้องการสืบค้นเรื่องราวในประวัติศาสตร์
    วิธีการทางประวัติศาสตร์แบ่งได้5ขั้นตอนดังนี้
    1เรื่องที่จะศึกษา
    2การรวบรวมข้อมูล
    3การตรวจสอบหลักฐาน
    4การตีความ
    5การนำเสนอ

  • ด.ญ.รัตนาภรณ์ ถาคำดี ม.3/2 เลขที่ 27 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์มีความสำคัญคือ สามารถในการสืบค้นเรื่องราวต่างๆ ที่น่าสนใจ การใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ มีทั้งหมด 5 ขั้นตอนด้วยกันค่ะ

  • ด.ช.พัชรพล ชัยวิชิต ชั้น ม.3/4 เลขที่5 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์มี 5 ขั้นตอน
    1.การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล หลักฐานชั้นต้น ได้แก่ ข้อมูลสอบถามจากผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์ หลักฐานชั้นรอง ได้แก่ บทความทางวิชาการหนังสือต่างๆ
    2.การตรวจสอบหลักฐาน การวิพากษ์กหลักฐานแบ่งออกเป็น 2 ข้อย่อย -วิพากษ์ภายนอก -วิพากษ์ภายใน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา ได้แก่ ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อใร อย่างไร
    4.การตีความหลักฐาน พิจารณาความหมายในหลักฐานว่าผู้สร้างหลักฐานมีเจตนาแอบแฝงหรือไม่ อย่างไร
    5.การนำเสนอข้อมูล ตรวจสอบข้อมูลก่อนจะไปนำเสนอเรื่องต่างๆได้แก่
    เรื่องทวีปแอฟริกา

    เย่ จบแล้วคับ เย่

  • เด็กชายศุภกร อ้อยยาวเลขที่9 3/2 พูดว่า:

    ขั้นตอนที่ 1 การตั้งประเด็นที่จะศึกษา นับว่าเป็นขั้นตอนแรกของวิธีการทางประวัติศาสตร์ที่ นักประวัติศาสตร์
    ขั้นตอนที่ 2 สืบค้นและรวบรวมข้อมูล ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ คือ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สามารถสอบสวนเข้าไปให้ใกล้เคียงกับความเป็นจริงที่เกิดขึ้นได้ ประกอบด้วยหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น โบราณบิดเบือน

    ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์และตีความข้อมูลทางประวัติศาสตร์ โดยการนำข้อมูลที่ได้สืบค้นรวบรวม คัดเลือก และประเมินไว้แล้วนำมาพิจารณาในรายละเอียดทุกด้าน ซึ่ง นักประวัติศาสตร์ต้องใช้เหตุผลเป็นแนวทางในการตีความเพื่อนำไปสู่การค้นพบข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ที่ถูกต้อง

    ขั้นตอนที่ 4 การคัดเลือกและประเมินข้อมูล นักประวัติศาสตร์จะต้องนำข้อมูลที่ได้รวบรวมไว้มาคัดเลือก และประเมินเพื่อค้นหาความเกี่ยวข้องสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลกับข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ที่ต้องการทราบ

    ขั้นตอนที่ 5 การเรียบเรียงรายงานข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ที่ได้รับอันเป็นผลมาจากการวิเคราะห์และการตีความข้อมูล หรือ

  • วันเฉลิม ชำนาญยา ม.3/2เลขที่8 พูดว่า:

    จากการดูเเล้วว่าวิธีการประวัติศาสตร์ ที่สามารถสืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับได้หลายอย่างวิธีการประวัติศาสตร์

  • ด.ช. ณัฐภณ ใจยืน เลขที่ 10 ม. 3/5 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์
    การศึกษาเรื่องราวและพฤติกรรมของสังคมมนุษย์ในอดีต ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเวลาและยุคสมัยต่างๆกัน คุณค่าสำคัญของประวัติศาสตร์คืออดีตเป็นบทเรียนที่สำคัญสำหรับปัจจุบันและอนาคตคับ

  • ด.ญ. วรกันต์ จันธิ เลขที่ 28 ม. 3/2 พูดว่า:

    ในการสืบค้น ค้นคว้าเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ มีอยู่หลายวิธี เช่นจากหลักฐานทางวัตถุ
    ที่ขุดค้นพบ หลักฐานที่เป็นการบันทึกลายลักษณ์อักษร หลักฐานจากคำบอกเล่า ซึ่งการรวบรวม
    เรื่องราวต่างๆทางประวัติศาสตร์เหล่านี้ เรียกว่า “วิธีการทางประวัติศาสตร์”

  • ด.ช.นัทธพงศ์ วงศ์ขัติย์ 11ช. 3/5 พูดว่า:

    ผมได้รู้ว่าวิธีการทางประวัติศาสตร์มี 5 ขั้นตอน
    -การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    -การตรวจสอบหลักฐาน
    -การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    -การตีความหลักฐาน
    -การนำเสนอข้อมูล
    ทำให้มีความรู้มากขึ้นขอบคุณครับ

  • ด.ช.ณัฐพล เดินอด เลขที่ 3 ม.3/2 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์เช่นวิธีที่ใช้สืบค้นข้อมูลทางประวัติศาสตร์

  • ด.ช.ชัชวาลย์ ธนะวงศ์ เลขที่12 ม.3/4 พูดว่า:

    จากที่ได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลทำให้ทราบว่าวิธีการทางประวัติศาสตร์มี5ขั้นตอน
    1กำหนดหัวเรื่องที่จะศึกษา
    2ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    3การตรวจสอบข้อมูล
    4การตีความ
    5การนำเสนอ
    และวิธีทางประวัติศาสตร์ก็คล้ายกับวิธีทางวิทยาศาสตร์

  • ด.ญ.ดวงกมล ยงเขตรการณ์ ชั้น ม.3/1 เลขที่ 22 พูดว่า:

    จากที่ได้ดิฉันศึกษาค้นคว้าข้อมูลทำให้รู้ว่าวิธีการทางประวัติศาสตร์มี 5 ขั้นตอน คือ
    1.กำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    2.ค้นคว้าแล้วรวบรวมข้อมูล
    3.ตรวจสอบหลับฐาน
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ช.ธนกร แสงแก้ว ชั้น ม.3/5 เลขที่ 2 พูดว่า:

    ประโยชน์ของการศึกษาประวัติศาสตร์ คือ
    ศึกษาเพื่อนำไปใช้จริงในชีวิตประจำวันของเรา และในอนาคตของเรา

  • ด.ญ.ชลลดา ปั๋นของ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/1 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์ มีอยู่ทั้งหมด 5 ขั้นตอน
    1.การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    2.การตรวจสอบหลักฐาน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ญ.อังคนางค์ หวานใจ เลขที่ 29 ชั้น ม. 3/1 พูดว่า:

    ประวัติศาสตร์มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิต เพราะจะทำให้เราได้ทราบถึงเรื่องราวต่างๆ และเห็นคุณค่าของสิ่งนั้นค่ะ ซึ่ง
    ขั้นตอนวิธีการประวัติศาตร์ มีอยู่ 5 ขั้นตอนดังนี้ค่ะ
    1.กำหนดหัวจ้อที่จะศึกษา
    2.รวบรวมข้อมูล
    3.การประเมินคุณค่าของหลักฐาน
    4.การตีความหลักฐาน
    5.วิเคราะห์ข้อมูล

  • ด.ญ.วิภาดา อินทร์ดี เลขที่ 25 ม.3/1 พูดว่า:

    จากที่ดิฉันได้ศึกษา ทบทวนวิธีการทางประวัติศาสตร์มี 5 ขั้นตอน ดังนี้
    1. กำหนดหัวข้อที่จะศึกษา
    2. ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    3. การตรวจสอบหลักฐาน
    4. การตีความหลักฐาน
    5. การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ญ.ณัติการณน์ เเก่นจันทน์ เลขที่20 ม.3/1 พูดว่า:

    จากการศึกษาเเล้วได้รู้ว่า
    วิธีการทางประวัติศาสตร์ 5 ขั้นตอน

    การรวบรวมหลักฐาน
    การคัดเลือกหลักฐาน
    การวิเคราะห์ ตีความ ประเมินหลักฐาน
    การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของหลักฐาน
    การนำเสนอข้อเท็จจริง

  • ด.ญ.ชัญญานุช ทิพย์เดโช ม.3/1 เลขที่ 19 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์ แบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอน ดังนี้
    1.การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    2.การตรวจสอบหลักฐาน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ญ.ชัญญานุช ทิพย์เดโช ม.3/1 เลขที่ 19 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์ มีความสำคัญคือ สามารถใช้ในการสืบค้นเรื่อฃราวต่างๆ ที่สนใจได้ เช่น ซากคน ซากสัตว์ หรืออาจจะภาชนะเครื่องใช้ต่างๆ ในสมัยก่อน

  • ด.ญ.ชลลดา ปั๋นของ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/1 พูดว่า:

    หลักฐานชั้นต้น หมายถึง หลักฐานที่บันทึก สร้าง หรือจัดทำขึ้น โดยผู้เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์นั้นโดยตรง มีทั้งที่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น สนธิสัญญา บันทึกคำให้การ จดหมายเหตุ และที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น ภาพเขียนสีผนังถ้ำ เครื่องมือเครื่องใช้

  • ด.ญ.ชลลดา ปั๋นของ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/1 พูดว่า:

    หลังฐานชั้นรอง หมายถึง หลักฐานที่รวบรวมไว้ภายหลังเหตูการณ์ โดยได้ข้อมูลจากการใช้ข้อมูลหลักฐานชั้นต้น เช่น ตำนาน วิทยานิพนธ์ เป็นต้น

  • อุดมพงษ์ วงค์รัตน์ เลขที่18 ม.3/3 พูดว่า:

    จากการที่ผมไดด้ดูในสมุดกับเว็ป ที่ครูฉุดเฉลิมเอาลงมาผมก๊ได้คิดว่าวิธีการทางประวัติศาสตร์แบ่งได้5ขั้นตอนดังนี้นะคัป
    1เรื่องที่จะศึกษา
    2การรวบรวมข้อมูล
    3การตรวจสอบหลักฐาน
    4การตีความ
    5การนำเสนอ

  • ด.ญ. รัชนาท ฟูศรี เลขที่ 25 ม.3/3 พูดว่า:

    หลังฐานชั้นรอง หมายถึง หลักฐานที่รวบรวมไว้ภายหลังเหตูการณ์ โดยได้ข้อมูลจากการใช้ข้อมูลหลักฐานชั้นต้น เช่น ตำนาน
    วิธีการทางประวัติศาสตร์ แบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอน ดังนี้
    1.การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    2.การตรวจสอบหลักฐาน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ช.อินทนนท์ คูคำ ม.302 เลขที่ 11 พูดว่า:

    จากที่ผมได้ศึกษาและสรุปว่า
    วิธีการทางประวัติศาสตร์มี 5 ขั้นตอน
    1. กำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    2.ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    3.ตรวจสอบหลักฐาน
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ช.ณัฐวุฒิ เเครื่องสนุก ม.3/3 เลขที่ 4 พูดว่า:

    หลังฐานชั้นรอง หมายถึง หลักฐานที่รวบรวมไว้ภายหลังเหตูการณ์ โดยได้ข้อมูลจากการใช้ข้อมูลหลักฐานชั้นต้น เช่น ตำนาน วิทยานิพนธ์ เป็นต้น

  • นัฐพล บุตรสุวรรณ์ 305 06 พูดว่า:

    ประวัติศาสตร์มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิต เพราะจะทำให้เราได้ทราบถึงเรื่องราวต่างๆ และเห็นคุณค่าของสิ่งนั้นค่ะ ซึ่ง
    ขั้นตอนวิธีการประวัติศาตร์ มีอยู่ 5 ขั้นตอนดังนี้ค่ะ
    1.กำหนดหัวจ้อที่จะศึกษา
    2.รวบรวมข้อมูล
    3.การประเมินคุณค่าของหลักฐาน
    4.การตีความหลักฐาน
    5.วิเคราะห์ข้อมูล

  • ด.ช. เนติพงษ์ สันกว๊าน ม.3/3 เลขที่ 6 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์ แบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอน ดังนี้
    1.การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    2.การตรวจสอบหลักฐาน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ช.นัฐพงษ์ บุตรสุวรรณ์ ม.3/3 เลขที่ 8 พูดว่า:

    ประโยชน์ของการศึกษาประวัติศาสตร์ คือ
    ศึกษาเพื่อนำไปใช้จริงในชีวิตประจำวันของเรา และในอนาคตของเรา

  • ด.ช.พงศ์ภรณ์ สุภารมย์ 3/3 เลขที่ 13 พูดว่า:

    1. กำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    เป็นขั้นตอนแรกของวิธีการศึกษาหาความรู้ โดยตั้งประเด็นคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษา
    ตัวอย่าง ประเด็นการศึกษาเกี่ยวกับภูมิภาคอาจเป็นเรื่องที่อยู่ใกล้ตัว และขยายขอบเขต
    การศึกษาออกไปเป็นระดับอำเภอ ระดับจังหวัด และระดับภูมิภาค เช่น
    ประวัติวัดสำคัญในชุมชน / อำเภอ / จังหวัด / ภูมิภาค
    สถานที่สำคัญในท้องถิ่น / จังหวัด / ภูมิภาค
    บุคคลสำคัญในท้องถิ่น / จังหวัด / ภูมิภาค
    2. ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    เมื่อมีประเด็นที่จะศึกษาแล้ว ขั้นต่อมาคือ การค้นคว้าและรวบรวมหลักฐานข้อมูล
    ทั้งที่เป็นหลักฐานชั้นต้นและหลักฐานชั้นรอง หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรและหลักฐานที่ไม่เป็น
    ลายลักษณ์อักษร หลักฐานชั้นต้นลักษณะ เป็นหลักฐานและข้อมูลที่เป็นของร่วมสมัยหรือเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์โดยตรง
    ตัวอย่างได้แก่ ข้อมูลจากการสอบถามผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์ บันทึกของผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์
    ภาพถ่าย วีดิโอเทป สิ่งของเครื่องใช้ สิ่งก่อสร้าง เป็นต้น หลักฐานชั้นรอง
    ลักษณะ เป็นหลักฐานและข้อมูลที่เขียนหรือรวบรวมไว้ภายหลังเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้น
    โดยใช้ข้อมูลจากหลักฐานชั้นต้น หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
    ลักษณะ เป็นหลักฐานข้อมูลที่เป็นตัวหนังสือ
    ตัวอย่างได้แก่ จารึก พงศาวดาร จดหมายเหตุ หนังสือพิมพ์ จดหมาย บันทึก
    เอกสารทางราชการ เป็นต้น

  • ด.ช.นิติพงษ์ กันทะพงษ์ ม.3/3 เลขที่ 9 พูดว่า:

    หลังฐานชั้นรอง หมายถึง หลักฐานที่รวบรวมไว้ภายหลังเหตูการณ์โดยได้ข้อมูลจากการใช้ข้อมูลหลักฐานชั้นต้น เช่น ตำนาน

    จากากรดูวิดีโอ

    วิธีทางประวัติศาสตร์มี 5 ขั้นตอน ได้แก่

    ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดเป้าหมาย

    ขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมข้อมูล

    ขั้นตอนที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน

    ขั้นตอนที่ 4 การตีความหลักฐาน

    ขั้นตอนที่ 5 การสังเคราะห์และการวิเคราะห์ข้อมูล

  • ด.ญ.ขจิตจัทร์ จันทะภา ม.3/2 เลขที่ 33 พูดว่า:

    จากที่ดฺฉันดูคลิปแล้วดิฉันรู้ว่าวิธิการทางประวัติศาสตร์ เป็นขั้นตอนแรก ของนักประวัติศาสตร์ต้องมีจุดประสงค์ชัดเจนว่าจะศึกษาอะไร อดีตส่วนไหน สมัยอะไร และเพราะเหตุใด ซึ่งมันเป็นการตั้งคำถามที่ต้องการศึกษา ของนักประวัติศาสตร์ต้องอาศัยการอ่าน การสังเกต และควรต้องมีความรู้กว้างๆ ทางประวัติศาสตร์ในเรื่องนั้นๆมาก่อนบ้าง ซึ่งคำถามหลักที่นักประวัติศาสตร์ควรคำนึงอยู่ตลอดเวลาก็คือทำไมและเกิดขึ้นอย่างไร

  • ด.ญ.เจนจิรา ชุ่มวงค์ เลขที่ 20 ม.3/3 พูดว่า:

    จากการที่ีดิฉันได้ศึกษา ทำให้ดิฉันได้รู้ว่า วิธีทางประวัติศาสตร์ มี 5 ขั้นตอน ได้แก่
    1. การค้นหาและรวบรวมข้อมูล
    2. การตรวจสอบหลักฐาน
    3. การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4. การตีความหลักฐาน
    5. การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ญ.สิตานันท์ คำสุ ม.3/1 เลขที่ 26 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์มี5ขั้นตอน
    1กำหนดหัวเรื่องที่จะศึกษา
    2ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    3การตรวจสอบข้อมูล
    4การตีความ
    5การนำเสนอ
    และวิธีทางประวัติศาสตร์ก็คล้ายกับวิธีทางวิทยาศาสตร์

  • ด.ญ.สิตานันท์ คำสุ ม.3/1 เลขที่ 26 พูดว่า:

    ได้รู้ว่าวิธีการทางประวัติศาสตร์
    คือวิธีการที่เกี่ยวข้องกับประวัติสตร์ใช้เพื่อค้นคว้าหาข้อมูลในอดีต ค่ะ

  • ด.ช.จิรภัทร คำเรือง เลขที่ 1 ม.3/1 พูดว่า:

    จากที่ได้ศึกษาทำให้ผมทราบว่า วิธีการทางประวัติศาสตร์ เป็นวิธีการขั้นพื้นฐานที่เราจะต้องนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

  • ด.ช.จิรภัทร คำเรือง เลขที่ 1 ม.3/1 พูดว่า:

    จากที่ได้ศึกษาทำให้ผมทราบว่า นักประวัติศาสตร์ต้องอาศัยการอ่าน การสังเกต และควรต้องมีความรู้กว้างๆ ทางประวัติศาสตร์ในเรื่องนั้นๆมาก่อนบ้าง ซึ่งคำถามหลักที่นักประวัติศาสตร์ควรคำนึงอยู่ตลอดเวลาก็คือทำไมและเกิดขึ้นอย่างไร

  • ด.ญ.วลัยลักษณ์ ปานสมุทร ม.3/3 เลขที่26 พูดว่า:

    จากที่ดิฉันได้ดูคลิปวีดีโอนี้แล้ว ทำให้ดิฉันรู้ถึงวิธีทางประวัติศาสตร์ว่า มี 5 ขั้นตอน

  • ดช.อิทธิมนต์ ยาเตชะ พูดว่า:

    จากากรดูวิดีโอได้รู้ว่า
    ประวัติศาสตร์ เป็นการศึกษาเรื่องราวหรือเหตุการณ์ในอดีตของมนุษย์ทุกด้านทั้งด้านความคิด การประดิษฐ์ ความเจริญรุ่งเรือง ความสำเร็จ ความขัดแย้ง ความร่วมมือ ความเสื่อม รวมทั้งการเปลี่ยนแปลง ซึ่งนับตั้งแต่มนุษย์ในยุคแรกตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์โดยนับเวลาถอยหลังย้อนไปกว่า 3 ล้านปี จนกระทั่งมนุษย์ได้เริ่มเข้าสู่ยุคประวัติศาสตร์เมื่อประมาณ 5,000 ปีที่ผ่านมา โดยมีมิติของช่วงเวลา และหลักฐานของประวัติศาสตร์ พร้อมทั้งนำวิธีการทางประวัติศาสตร์มาช่วยในการศึกษาประวัติศาสตร์

  • ดช.อิทธิมนต์ ยาเตชะ พูดว่า:

    จากากรดูวิดีโอได้รู้ว่า มีหลักฐานมากมายเช่นตำนาน วิทยานิพนธ์ เป็นต้น

  • ดช.อิทธิมนต์ ยาเตชะ 305 13 พูดว่า:

    จากได้ดูวีดีโอนี้แล้วได้รู้ว่าวิธีการทางประวัติศาสตร์ มาอยู่ 5 ขั้น ตอนเป็นต้น

  • ด.ช.อภิสิทธิ์ เครือธิ ม.3/2 เลขที่10 พูดว่า:

    วีธีการทางประวัติศาสตร์มีทั้งหมด5 ขั้นตอน 1.การค้นหาเเล้วรวบรวมข้อมูล 2. การตรวจสอบหลักฐาน 3. การกำหนดหัวเรื่องที่จะศึกษา 4. การตีความหลักฐาน เเละ 5. การนำเสนอข้อมูล

  • ศึกษาแล้วได้รู้ว่าขั้นตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์มีดั้งนี้
    ขั้นที่ 1 กำหนดประเด็นปัญหา
    ขั้นที่ 2 รวบรวมหลักฐาน
    ขั้นที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน
    ขั้นที่ 4 ตีความหลักฐาน
    ขั้นที่ 5 เรียบเรียงแล้วนำเสนอ

    -_-ไม่ง่ายเลยที่จะรู้ว่าหลักฐานนั้นเป็นจริงหรือเท็จ-_-

  • ด.ญ.พัทธ์ธีรา ทำทอง เลขที่25 ชั้นม.3/2 พูดว่า:

    ได้รู้เรื่องเกี่ยวกับวิธีการทางประวัติศาสตร์มี5ขั้นตอนดังนี้
    1กำหนดเป้าหมาย
    2รวบรวมข้อมูล
    3ประเมินหลักฐาน
    4ตีความ
    5วิเคราะห์ข้อมูล

  • ด.ญ.จิรัชญา ชุ่มวงค์ ม.3/2 เลขที่ 14 พูดว่า:

    จากที่ได้ศึกษาแล้ว ทำให้รู้ว่า วิธีการทางประวัติศาสตร์ มีทั้งหมด 5 ขั้นตอน ได้แก่
    1.การค้นคว้ารวบรมข้อมูล
    2.การตรวจสอบหลักฐาน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล
    และนี่คือวิธีการทางประวัติศาสตร์ ค่ะ

  • เสกสรรค์ เดชอุดม เลขที่9 ม.3/4 พูดว่า:

    จากที่ได้ศึกษาแล้ว ทำให้รู้ว่า การศึกษาเรื่องราวและพฤติกรรมของสังคมมนุษย์ในอดีต ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเวลาและยุคสมัยต่างๆกัน คุณค่าสำคัญของประวัติศาสตร์คืออดีตเป็นบทเรียนที่สำคัญสำหรับปัจจุบันและอนาคต

  • ด.ญ.ณัฐชา ยาดี ม.3/3 เลขที่23 พูดว่า:

    จากที่ได้ศึกษาแล้วได้รู้ว่า วิธีการทางประวัติศาสตร์ มีอยู่ทั้งหมด 5 ขั้นตอน
    1.การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    2.การตรวจสอบหลักฐาน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ญ.ฐิติรัตน์ เฟื่องฟู เลขทิ่22 ม.3/3 พูดว่า:

    ป็นวิธีการขั้นพื้นฐานที่เราจะต้องนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและในอนาคตของเรา วิธีการทางประวัติศาสตร์ทำให้เราได้รู้ถึงเรื่องต่างๆที่เราต้องการรู้โดยเป็นวิธีการที่เป็นระบบ ระเบียบ
    จากที่ได้ศึกษาแล้วได้รู้ว่า วิธีการทางประวัติศาสตร์ มีอยู่ทั้งหมด 5 ขั้นตอน
    1.การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    2.การตรวจสอบหลักฐาน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ญ. ปาริชาต รายณะสุข พูดว่า:

    ลำดับขั้นตอนทางประวัติศาสตร์
    1.กำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    2.ค้นคว้าแล้วรวบรวมข้อมูล
    3.ตรวจสอบหลับฐาน
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล
    เราสามารถใช้วิธีทางประวัติศาสตร์เพื่อมาตีความว่าหลักฐานที่เราได้มานั้น มีความเป้นมาอย่างไร

  • อภิปรัชญ์ ชุ่มวงศ์ 304 14 พูดว่า:

    ประวัติศาสตร์มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิต เพราะจะทำให้เราได้ทราบถึงเรื่องราวต่างๆ และเห็นคุณค่าของสิ่งนั้นค่ะ ซึ่ง
    ขั้นตอนวิธีการประวัติศาตร์ มีอยู่ 5 ขั้นตอนดังนี้ค่ะ
    1.กำหนดหัวจ้อที่จะศึกษา
    2.รวบรวมข้อมูล
    3.การประเมินคุณค่าของหลักฐาน
    4.การตีความหลักฐาน
    5.วิเคราะห์ข้อมูล

  • ด.ญ. เสาวณีย์ สมัครผล ม.304 เลขที่ 23 พูดว่า:

    จากการที่ดิฉันได้ศึกษาดูในเรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
    วิธีการทางประวัติศาสตร์ หมายถึง วิธีการที่ผู้ต้องการสืบค้นเรื่องราวในอดีต
    1. กำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    2. ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    3. ตรวจสอบหลักฐาน
    4. การตีความหลักฐาน
    5. การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ญ. พลอยศิริ วิชัยโน ชั้น ม.3/4 เลขที่21 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาตร์มีความสำคัญ คือ สามารถใช้ในการสืบค้นเรื่องราวต่าง ๆ ที่สนใจได้ เช่น การหาความรู้เกี่ยวกับ โรงเรียน วัด ชุมชน จังหวัด

  • ด.ญ. จามรีย์ เมืองสุวรรณ ม3/3 เลขที่ 21 พูดว่า:

    สามารถสืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับได้หลายอย่างวิธีการประวัติศาสตร์ได้ง่าย

  • วัชรพงค์ ฟูแสง พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์เป็นวิธีที่เกี่ยวข้องกับประวัติสตร์ใช้เพื่อค้นคว้าหาข้อมูลในประวัติศาสตร์
    ซึ่งมีอยู่ 5 ขั้นตอน
    1.การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    2.การตรวจสอบหลักฐาน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ช. ณัฐวัฒน์ ศีลลัย เลขที่3 303 พูดว่า:

    หลังฐานชั้นรอง หมายถึง หลักฐานที่รวบรวมไว้ภายหลังเหตูการณ์ โดยได้ข้อมูลจากการใช้ข้อมูลหลักฐานชั้นต้น เช่น ตำนาน

  • อินทัช กันตรี เลขที 11 ชั้น ม 3/4 พูดว่า:

    หลักฐานชั้นต้น หมายถึง หลักฐานที่บันทึก สร้าง หรือจัดทำขึ้น โดยผู้เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์นั้นโดยตรง มีทั้งที่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น สนธิสัญญา บันทึกคำให้การ จดหมายเหตุ และที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น ภาพเขียนสีผนังถ้ำ เครื่องมือเครื่องใช้

    จากที่ได้ศึกษาแล้วได้รู้ว่า วิธีการทางประวัติศาสตร์ มีอยู่ทั้งหมด 5 ขั้นตอน
    1.การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    2.การตรวจสอบหลักฐาน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • สิทธิพร ทิศรีไชย เลขที 10 ชั้น ม 3/4 พูดว่า:

    จากากรดูวิดีโอ
    วิธีทางประวัติศาสตร์มี 5 ขั้นตอน ได้แก่
    ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดเป้าหมาย
    ขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมข้อมูล
    ขั้นตอนที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน
    ขั้นตอนที่ 4 การตีความหลักฐาน
    ขั้นตอนที่ 5 การสังเคราะห์และการวิเคราะห์ข้อมู

  • ด.ญ.ศิริธร ยอดมณี เลขที่.23 ม.3/5 พูดว่า:

    จากศึกษาแล้วรู้ว่าวิธีการทางประวัติศาสตร์มี 5 ขั้นตอน

    1.การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    2.การตรวจสอบหลักฐาน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ญ.กฤติยา ไชยา ม.3/5 เลขที่ 15 พูดว่า:

    ได้รู้ว่าวิธีการประวัติศาสตร์ได้สำรวจมาจากสิ่งของหรือวัสดุต่างๆที่เก็บรวบรวมได้มา และมีวิธีการประวัติศาสตร์มี 5 ขั้นตอนในการดำเนินงานในทางประวัติศาสตร์ ได้แก่ 1.การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    2.การตรวจสอบหลักฐาน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ญ.ช่อลัดดา อดทน ชั้น ม.3/2 เลขที่ 19 พูดว่า:

    จากที่ได้ศึกษาแล้ว ได้รู้ว่าวิธีการทางประวัติศาสตร์ มีอยู่ 5 ขั้นตอน
    1.การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    2.การตรวจสอบหลักฐาน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ญ.พิชนันท์ นักหล่อ ชั้น ม.3/5 เลขที่ 19 พูดว่า:

    ดิฉันด้ศึกษาแล้วได้รู้ว่า วิธีการทางประวัติศาสตร์ มีอยู่ทั้งหมด 5 ขั้นตอน
    1.การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    2.การตรวจสอบหลักฐาน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ญ. ศศิวิมล ไชยกุล ชั้นม.3/5 เลขที่22 พูดว่า:

    ดิฉันด้ศึกษาแล้วได้รู้ว่า วิธีการทางประวัติศาสตร์ มีอยู่ทั้งหมด 5 ขั้นตอน
    1.การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    2.การตรวจสอบหลักฐาน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ช. ณัฐภณ ใจยืน เลขที่ 10 ม.305 พูดว่า:

    จากการดูวิดีโอแล้ว ได้รู้วิธีการทางประวัติศาสตร์ เป็นวิธีการขั้นพื้นฐานที่เราจะต้องนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและในอนาคตของเรา คับ

  • ด.ช.ธนกร สมเครือ เลขที่ 3 ม 3/5 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์ มีความสำคัญคือ มีอยู่ทั้งหมด 5 ขั้นตอน
    1.การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    2.การตรวจสอบหลักฐาน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ช.ธนกร แสงแก้ว เลขที่ 2 ม.3/5 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์ มีอยู่ทั้งหมด 5 ขั้นตอน
    1.การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    2.การตรวจสอบหลักฐาน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • พิรุฬห์กร โยวัง 3/5 เลขที่ 7 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์ เป็นวิธีการขั้นพื้นฐานที่เราจะต้องนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและในอนาคตของเรา วิธีการทางประวัติศาสตร์ทำให้เราได้รู้ถึงเรื่องต่างๆที่เราต้องการรู้โดยเป็นวิธีการที่เป็นระบบ ระเบียบ

  • อชิตพล ทองจินดา 3/5เลขที่9 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์มี 5 ขั้นตอน
    1.การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล หลักฐานชั้นต้น ได้แก่ ข้อมูลสอบถามจากผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์ หลักฐานชั้นรอง ได้แก่ บทความทางวิชาการหนังสือต่างๆ
    2.การตรวจสอบหลักฐาน การวิพากษ์กหลักฐานแบ่งออกเป็น 2 ข้อย่อย -วิพากษ์ภายนอก -วิพากษ์ภายใน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา ได้แก่ ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อใร อย่างไร
    4.การตีความหลักฐาน พิจารณาความหมายในหลักฐานว่าผู้สร้างหลักฐานมีเจตนาแอบแฝงหรือไม่ อย่างไร
    5.การนำเสนอข้อมูล ตรวจสอบข้อมูลก่อนจะไปนำเสนอเรื่องต่างๆได้แก่
    เรื่องทวีปแอฟริกา

  • ด.ช. ภูตะวัน พะแดงโค ม.3/5 เลขที่ 8 พูดว่า:

    ผมได้รู้ว่าวิธีการทางประวัติศาสตร์มี 5 ขั้นตอน
    -การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    -การตรวจสอบหลักฐาน
    -การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    -การตีความหลักฐาน
    -การนำเสนอข้อมูล
    ทำให้มีความรู้มากขึ้นขอบคุณครับ

  • ด.ช.กฤตเมธี บุญวงค์ เลขที่ 1 3/3 พูดว่า:

    จากที่ได้ศึกษาแล้ว ทำให้รู้ว่า วิธีการทางประวัติศาสตร์ มีทั้งหมด 5 ขั้นตอน
    1.การค้นคว้ารวบรมข้อมูล
    2.การตรวจสอบหลักฐาน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล
    และนี่คือวิธีการทางประวัติศาสตร์ ค่ะ

  • ด.ญ.ดวงกมล ยงเขตรการณ์ ม3/1 เลขที่ 22 พูดว่า:

    ได้รู้ว่า ประวัติศาสตร์คือ การศึกษาเรื่องราวและพฤติกรรมของสังคมมนุษย์ในอดีต ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเวลาและยุคสมัยต่างๆกัน คุณค่าสำคัญของประวัติศาสตร์คืออดีตเป็นบทเรียนที่สำคัญสำหรับปัจจุบันและอนาคต

  • ด.ญ.ดวงกมล ยงเขตรการณ์ ม3/1 เลขที่ 22 พูดว่า:

    ได้รู้ว่าวิธีทางประวัติศาสตร์มี 5 ขั้นตอน ได้แก่

    ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดเป้าหมาย

    ขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมข้อมูล

    ขั้นตอนที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน

    ขั้นตอนที่ 4 การตีความหลักฐาน

    ขั้นตอนที่ 5 การสังเคราะห์และการวิเคราะห์ข้อมูล

  • ด.ญ. ชนาภา เมืองมา ม.3/2 เลขที่ 18 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์มี 5 ขั้นตอน 1. การค้นคว้าข้อมูล 2. การตรวจสอบ 3. การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา 4. การตีความ 5. การนำเสนอ และได้เข้าใจหลักการ การอ่าน การสังเกต และต้องความเฉลียวฉลาดในการค้นคว้า ค่ะ

  • ด.ญ.สิตานันท์ คำสุ ชั้น ม.3/1 เลขที่ 26 พูดว่า:

    จากการที่ีดิฉันได้ศึกษา ทำให้ดิฉันได้รู้ว่า วิธีทางประวัติศาสตร์ มี 5 ขั้นตอน ได้แก่
    1. การค้นหาและรวบรวมข้อมูล
    2. การตรวจสอบหลักฐาน
    3. การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4. การตีความหลักฐาน
    5. การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ญ.สิตานันท์ คำสุ ชั้น ม.3/1 เลขที่ 26 พูดว่า:

    หลักฐานชั้นต้น หมายถึง หลักฐานที่บันทึก สร้าง หรือจัดทำขึ้น โดยผู้เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์นั้นโดยตรง มีทั้งที่เป็นลายลักษณ์อักษรและที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

  • ด.ญ.ดาวอนงค์ พงษ์ขาว เลขที่ 32 ม.3/1 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัิติศาสตร์ มีอยู่ 5 ขั้นตอนค่ะ
    ขั้นตอนที่ 1 การตั้งประเด็นที่จะศึกษา นับว่าเป็นขั้นตอนแรกของวิธีการทางประวัติศาสตร์ที่ นักประวัติศาสตร์ หรือผู้สนใจทางประวัติศาสตร์มีความสนใจอยากรู้ เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ตอนใดตอนหนึ่ง โดยตั้งประเด็นคำถามว่า ศึกษาเรื่องอะไรในช่วงเวลาใด ทำไมจึงต้องศึกษา

    ขั้นตอนที่ 2 สืบค้นและรวบรวมข้อมูล ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ คือ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สามารถสอบสวนเข้าไปให้ใกล้เคียงกับความเป็นจริงที่เกิดขึ้นได้ ประกอบด้วยหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น โบราณสถาน โบราณวัตถุ คำบอกเล่าของผู้เห็นเหตุการณ์ และหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น ศิลาจารึก จดหมายเหตุ บันทึกและเอกสารต่างๆ ในการสะสม และรวบรวมข้อมูล ต่าง ๆ เหล่านี้ นักประวัติศาสตร์จำเป็นต้องใช้วิจารณญาณของตนสำรวจ เนื่องจากข้อมูลแต่ละประเภทเป็นผลิตผลที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้นโดยมีจุดประสงค์ที่แตกต่างกัน ดังนั้นต้องค้นหาต้นตอหรือสาเหตุของข้อมูลอย่างลึกซึ้งเท่าที่จะทำได้ เพื่อป้องกันมิให้ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ถูกบิดเบือน

    ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์และตีความข้อมูลทางประวัติศาสตร์ โดยการนำข้อมูลที่ได้สืบค้นรวบรวม คัดเลือก และประเมินไว้แล้วนำมาพิจารณาในรายละเอียดทุกด้าน ซึ่ง นักประวัติศาสตร์ต้องใช้เหตุผลเป็นแนวทางในการตีความเพื่อนำไปสู่การค้นพบข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ที่ถูกต้อง

    ขั้นตอนที่ 4 การคัดเลือกและประเมินข้อมูล นักประวัติศาสตร์จะต้องนำข้อมูลที่ได้รวบรวมไว้มาคัดเลือก และประเมินเพื่อค้นหาความเกี่ยวข้องสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลกับข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ที่ต้องการทราบ

    ขั้นตอนที่ 5 การเรียบเรียงรายงานข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ที่ได้รับอันเป็นผลมาจากการวิเคราะห์และการตีความข้อมูล หรืออธิบายข้อสงสัย เพื่อนำเสนอข้อมูลในลักษณะที่เป็นการตอบ ตลอดจนความรู้ ความคิดใหม่ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าในรูปแบบการรายงานอย่างมีเหตุผล

  • ด.ญ. จตุพร ยิ้มโปรยคำ เลขที่13 ม.3/2 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์มี 5 ขั้นตอนค่ะ
    1. กำหนดเรื่องที่จะศึกษา / ตั้งประเด็นคำถาม
    2. ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    3. การวิเคราะห์และตรวจสอบข้อมูล
    4. การตีความหลักฐาน
    5. การเรียนเรียงและนำเสนอ

  • วิธีการทางประวัติศาสตร์มีประโยชน์อย่างไรในชีวิตประจําวัน

    วิธีการทางประวัติศาสตร์มีประโยชน์ ทั้งต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ที่ทาให้ได้เรื่องราวทาง ประวัติศาสตร์ที่น่าเชื่อถือ ประโยชน์อีกด้านหนึ่ง คือ ผู้ที่ได้รับการฝึกฝนการใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์จะทา ให้เป็นคนละเอียด รอบคอบ มีการตรวจสอบเรื่องราวที่ศึกษา รวมทั้งนามาปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้โดยจะ ทาให้เป็นผู้รู้จักทาการประเมิน ...

    การศึกษาเรื่องราวทางเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์มีประโยชน์ต่อชีวิตประจำวันของนักเรียนอย่างไร

    วิธีการทางประวัติศาสตร์ มีประโยชน์ทั้งต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ที่ทำให้ได้เรื่องราวทางประวัติศาสตร์ที่น่าเชื่อถือ ประโยชน์อีกด้านหนึ่ง คือ ผู้ที่ได้รับการฝึกฝน การใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์จะทำให้เป็นคนละเอียด รอบคอบ มีการตรวจสอบเรื่องราวที่ศึกษา รวมทั้งนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ โดยจะทำให้เป็นผู้รู้จักทำการประเมิน ...

    นักเรียนสามารถนําวิธีการทางประวัติศาสตร์ทั้ง 5 ขั้นตอน ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวันได้อย่างไรบ้าง

    bamesae. 28 ก.ค. 2022 |2 min read. อ่านบทความอื่นจาก bamesae..
    1. การกำหนดหัวข้อ.
    2. การเก็บรวบรวมข้อมูล.
    3. ประเมินคุณค่าหลักฐาน.
    4. การวิเคราะห์ สังเคราะห์ ข้อมูล.
    5. การเรียบเรียง และนำเสนอ.

    การศึกษาประวัติศาสตร์โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มีขั้นตอนอย่างไรบ้าง

    ๑. การกาหนดประเด็นที่จะศึกษา ๒. การสืบค้นและรวบรวมข้อมูล ๓. การวิเคราะห์และตีความข้อมูล ๔. การสังเคราะห์ข้อมูล ขั้นที่๑ การกาหนดประเด็นที่จะศึกษา โดยใช้การตั้งคาถามพื้นฐานหลัก ๕ คาถาม คือ

    กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

    Toplist

    โพสต์ล่าสุด

    แท็ก

    แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง