นิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มีกี่ประเภท อะไรบ้าง

นิติบุคคล คืออะไร แบ่งออกเป็นกี่ประเภท

หมวดหมู่ : คำไทยน่ารู้ Tags: นิติบุคคล

นิติบุคคล คือบุคคลที่กฎหมายสมมติขึ้นเพื่อให้มีความสามารถ มีสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบได้ตามกฎหมายเหมือนกับบุคคลธรรมดา แม้ว่านิติบุคคลจะมีสิทธิและหน้าที่เช่นเดียวกับบุคคลธรรมดา แต่ก็ไม่สามารถกระทำการเหมือนกับบุคคลธรรมดาได้ทุกเรื่อง เนื่องจากนิติบุคคลเป็นเพียงบุคคลสมมติที่ไม่มีชีวิต ร่างกาย และสติปัญญาเหมือนกับบุคคลธรรมดา ดังนั้นนิติบุคคลจึงต้องมี “ผู้แทนนิติบุคคล” เพื่อแสดงออกถึงสิทธิ หน้าที่ และความประสงค์ของนิติบุคคล…

————– advertisements ————–

นิติบุคคลมีกี่ประเภท
นิติบุคคล ตามที่กฎหมายไทยได้บัญญัติไว้ สามารถแยกออกเป็น 2 ประเภทด้วยกัน ดังต่อไปนี้
1. นิติบุคคลตามกฎหมายเอกชน หมายถึง ที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ซึ่งแบ่งแยกย่อยออกไปได้ 5 ประเภทด้วยกัน คือ บริษัทจำกัด ห้างหุ้นส่วน ห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน สมาคม และมูลนิธิ
2. นิติบุคคลตามกฎหมายเอกชน หมายถึง นิติบุคคลที่บัญญัติไว้ในกฎหมายมหาชนอื่นๆ ได้แก่ วัด จังหวัด กระทรวง ทบวง กรม องค์การมหาชน เป็นต้น

ดังนั้นนิติบุคคลจึงเป็นบุคคลที่กฎหมายสมมติขึ้นเพื่อให้มีสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบเช่นเดียวกับบุคคลธรรมดา หรืออาจพูดให้เข้าใจได้ง่ายๆ ว่า นิติบุคคลเป็นกลุ่มคนหลายคนในองค์กรหลากหลายประเภทไม่ว่าจะเป็นกระทรวง กรม วัด จังหวัด สมาคม มูลนิธิ และอื่นๆ อีกมากมาย ซึ่งกฎหมายให้สมมติตนเองขึ้นมาเป็นนิติบุคคลที่มีสิทธิเทียบเท่ากับบุคคลธรรมดาได้ เพื่อความสะดวกในทางกฎหมาย

-------------- advertisements --------------

-------------- advertisements --------------

Comments

�ԵԺؤ�� ���¶֧ �ؤ�ŷ�衮����������������Ҿ�ؤ�������ǡѺ�ؤ�Ÿ����� �ѧ��� �ԵԺؤ�Ũ֧�դ�������ö�����ǡѺ�ؤ�Ÿ����� ��

  •  ��������ö㹡�÷ӹԵԡ����ѭ��
  •  �Է��㹡������Ңͧ��Ѿ���Թ��ҧ� �� ���Թ �Թ
  • ˹�ҷ��㹡����������
  • ��������˹���١˹��
�ԵԺؤ�Ũ��բ�������੾�� �����������衮���¡�˹������ҹ�� ��Ҩж����������繹ԵԺؤ�ź�ҧ ��ͧ仴���ҡ������������������繹ԵԺؤ�ź�ҧ ����������ö�ѭ�ѵ���������繹ԵԺؤ�š��� �ԵԺؤ�ŷ�衮���ºѭ�ѵ�������ҡ��� �֧�ͧ�¡�ԵԺؤ���͡�� 2 ������ ���

1. �ԵԺؤ�ŵ���������͡�� ��� �ԵԺؤ�ŷ��ѭ�ѵ����㹻����š���������оҳԪ�� �մ��¡ѹ 5 ������ ����

  • ����ѷ�ӡѴ
  • ��ҧ�����ǹ�ӡѴ
  • ��ҧ�����ǹ���ѭ������¹
  • ��Ҥ�
  • ��ŹԸ�
2. �ԵԺؤ�ŵ����������Ҫ� ��� �ԵԺؤ�ŷ��ѭ�ѵ����㹡�������Ҫ����������繨ӹǹ�ҡ �� �Ѵ �ѧ��Ѵ ��з�ǧ ��ǧ ��� ͧ������Ҫ� �繵�
��ͨӡѴ�ͧ�ԵԺؤ��

            �»��� �ԵԺؤ���������Է�����˹�ҷ�������ǡѺ�ؤ�Ÿ����� ������Է�����˹�ҷ��ҧ���ҧ�������Ҿ��������੾�кؤ�Ÿ�������ҹ�� �ԵԺؤ�Ũ�������� �� �ԵԺؤŨзӡ�è�����¹��������� �͡�ҡ��� ��ǹ��Ҿ�ͧ�ԵԺؤ�������������ö�Ѵ�Թ���������µ���ͧ �����������ͧ�Դ����͹�ؤ�Ÿ�����

            �ԵԺؤ�Ũ��դ�������ö �Է�� ���˹�ҷ������ �ͺ�ѵ�ػ��ʧ��ͧ�ԵԺؤ�� ��ҹ�� ��Ш��ʴ��͡����Է�����˹�ҷ������¼�ҹ ���᷹�ԵԺؤ��

  �ͺ�ѵ�ػ��ʧ��ͧ�ԵԺؤ�� ��� �ش������� ���͢ͺࢵ����ӹҨ�ͧ�ԵԺؤ�� �ٴ����� ���� �ԵԺؤ�Ź�鹵������������ ��Шз��������ҧ

���᷹�ԵԺؤ�� ��� ����˹�ҷ���ʴ�ਵ��᷹��ǹԵԺؤ�� ���º����͹�繵�ǹԵԺؤ�Ź���ͧ
���᷹�ԵԺؤ�� ���͵��᷹ ��� ����˹�ҷ��᷹��ǡ�� ����ѭ�ҵ��᷹

  ��Ҿ�ԵԺؤ������������

  • ����ͨ�����¹��������� ����繹ԵԺؤ�ŵ���������͡��
  • ����;���Ҫ�ѭ�ѵԷ��Ѵ��駹ԵԺؤ�Ź���ռźѧ�Ѻ�� ����繹ԵԺؤ�ŵ����������Ҫ�   �������Ңͧ�ԵԺؤ������ ��蹷�����ѹ���ӹѡ�ҹ�˭�

นิติบุคคล

          นิติบุคคล คือ กลุ่มบุคคลหรือองค์กรซึ่งกฎหมายบัญญัติให้เป็นบุคคลอีกประเภทหนึ่งที่ไม่ใช่ บุคคลธรรมดา และให้มีสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย (พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542) สามารถเป็นเจ้าของทรัพย์สินได้ เป็นโจทก์หรือจำเลยได้ รวมทั้งได้รับความคุ้มครองตามกฎหมาย ฯลฯ    
        นิติบุคคล จะเกิดขึ้นได้ต่อเมื่ออาศัยอำนาจตามกฎหมายเท่านั้น คือจะตั้งก่อขึ้นโดยไม่มีกฎหมายมารองรับหรือไม่มีกฎหมายให้อำนาจในการจัด ตั้งไว้ไม่ได้ ซึ่งบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนี้คือ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา  65 ซึ่งบัญญัติไว้ว่านิติบุคคลจะมีขึ้นได้ก็แต่ด้วยอาศัยอำนาจแห่งประมวลกฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่น” 
        1.อาศัย อำนาจแห่งประมวลกฎหมายนี้ หมายถึงประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์นั่นเอง ซึ่งมีบัญญัติไว้หลายประเภท เช่น ห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทหากได้จดทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์แล้ว ให้ถือว่าเป็นนิติบุคคล(มาตรา 1015) ได้แก่ห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด หรือสมาคมที่ได้จดทะเบียนแล้วถือเป็นนิติบุคคล(มาตรา 83) มูลนิธิที่ได้จดทะเบียนแล้ว(มาตรา 122) 
         
2.อาศัย อำนาจตามกฎหมายอื่นๆ คือ กฎหมายที่นอกเหนือจากประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เช่นพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2471 มาตรา 18 กำหนดให้สหกรณ์ที่จดทะเบียนแล้วเป็นนิติบุคคล พระราชบัญญัติมัสยิดอิสลาม พ.ศ. 2490 มาตรา 5 กำหนดให้มัสยิดซึ่งได้จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่แล้วเป็นนิติบุคคล ฯลฯ         
         
นิติบุคคล แต่ละประเภทจะมีลักษณะและการดำเนินกิจการที่แตกต่างกันออกไป เช่น ห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทก็จัดตั้งขึ้นเพื่อดำเนินกิจการและหวังผลกำไรมาแบ่ง ปันกัน สมาคมก็จัดตั้งขึ้นเพื่อดำเนินการใดๆอันมีลักษณะต่อเนื่องร่วมกันและไม่มี การหาผลกำไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน ฯลฯ เมื่อกลุ่มบุคคลหรือองค์กรใดๆที่จัดตั้งขึ้นมีสถานะเป็นนิติบุคคลแล้ว ย่อมถือเกิดเป็นบุคคลตามกฎหมายขึ้นมาต่างหาก มีสิทธิและหน้าที่ต่างๆได้ในนามของนิติบุคคลนั้นๆ
           ตัวอย่าง นาย ก นาย ข และนาย ค รวมหุ้นกันตั้งห้างหุ้นส่วนจำกัด ดำเนินกิจการขายอุปกรณ์ก่อสร้าง โดยใช้ชื่อว่า ห้างหุ้นส่วนจำกัดเจริญยิ่ง เช่นนี้ห้างหุ้นส่วนจำกัดเจริญยิ่งถือเป็นบุคคลตามกฎหมาย มีสิทธิต่างๆได้ในนามของห้าง ไม่ต้องไปใช้นามของหุ้นส่วนแทนในการดำเนินกิจการใดๆของห้าง เช่น หากห้างหุ้นส่วนจำกัดเจริญยิ่งทำสัญญาซื้อขายอุปกรณ์ก่อสร้างกับนาย ง ถือว่า คู่สัญญาซื้อขายนี้คือห้างหุ้นส่วนจำกัดกับนาย ง ไม่ใช่ นาย ก นาย ข และนาย ค เป็นคู่สัญญาซื้อขาย ถ้ามีการผิดสัญญาเกิดขึ้นก็ต้องฟ้องในนามของห้างหุ้นส่วนจำกัดโดยให้ตัวแทน ของห้างดำเนินการ คือห้างมีฐานะเป็นโจทก์ได้ หรือในทางกลับกันถ้าห้างหุ้นส่วนจำกัดผิดสัญญา นาย ง ก็จะต้องฟ้องห้างหุ้นส่วนจำกัดเป็นจำเลย ไม่ใช่ฟ้องนาย ก นาย ข และนาย ค เป็นจำเลย เป็นต้น

1.สิทธิหน้าที่ของนิติบุคคล
สิทธิและหน้าที่ของนิติบุคคลแบ่งเป็น 2 ประการ คือ         
          1.สิทธิและหน้าที่ภายในขอบอำนาจหน้าที่หรือวัตถุประสงค์ ซึ่งในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 66 บัญญัติว่า นิติบุคคล ย่อมมีสิทธิและหน้าที่ตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่น ภายในขอบแห่งอำนาจหน้าที หรือวัตถุประสงค์ดังได้บัญญัติหรือกำหนดไว้ในกฎหมาย  ข้อบังคับหรือตราสารจัดตั้งคือ นิติบุคคลจะมีสิทธิและหน้าที่ตามที่กฎหมาย ข้อบังคับหรือตราสารจัดตั้งกำหนดไว้เท่านั้น เช่น สมาคมที่จัดตั้งขึ้นเพื่อส่งเสริมการกีฬาก็จะไปดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องการ เมืองไม่ได้ ฯลฯ
ข้อสังเกต ตราสารจัดตั้งจะมีการระบุวัตถุประสงค์หรือลักษณะของกิจการของนิติบุคคลนั้นๆไว้
         
2.สิทธิและหน้าที่ซึ่งว่าโดยสภาพจะพึงมีพึงเป็นได้เฉพาะแก่บุคคลธรรมดา ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 67 บัญญัติว่า ภาย ใต้บังคับมาตรา 66 นิติบุคคลย่อมมีสิทธิและหน้าที่เช่นเดียวกับบุคคลธรรมดา เว้นแต่สิทธิและหน้าที่ซึ่งโดย สภาพจะพึงมีพึงเป็นได้เฉพาะแก่บุคคลธรรมดาเท่านั้นคือ มีสิทธิและหน้าที่เช่นเดียวกับบุคคลธรรมดา เช่น สิทธิในการมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน สิทธิที่จะได้รับความคุ้มครองไม่ให้ใครมาทำละเมิด หน้าที่ในการเสียภาษี ฯลฯ เว้นแต่สิทธิหน้าที่บางประการที่มีได้เฉพาะในบุคคลธรรมดาเท่านั้น การสมรส การรับราชการทหาร สิทธิทางการเมือง ฯลฯ

2.การจัดการนิติบุคคล
       
เนื่อง จากนิติบุคคลเป็นสิ่งที่ถูกกำหนดขึ้นตามกฎหมาย ไม่มีชีวิตจิตใจ ไม่อาจแสดงเจตนาหรือกระทำการใดๆด้วยตนเองได้ จึงต้องมีผู้แทนคอยดำเนินการให้ ตามมาตรา 70 วรรคสอง บัญญัติว่า ความประสงค์ของนิติบุคคลย่อมแสดงออกโดยผู้แทนของนิติบุคคล” 
        ผู้ แทนนิติบุคคลอาจมีคนเดียวหรือหลายคนก็ได้ตามที่กฎหมาย ข้อบังคับ หรือตราสารจัดตั้งจะกำหนดไว้(มาตรา 70 วรรคแรก) อีกทั้งมีอำนาจหน้าที่ตามกำหนดไว้ในกฎหมาย ข้อบังคับ หรือตราสารจัดตั้งเช่นกัน การดำเนินการของผู้แทนจะต้องกระทำไปภายในขอบเขตของวัตถุประสงค์ของนิติบุคคล นั้นเท่านั้นจึงจะมีผลผูกพันนิติบุคคล หรือกรณีที่การกระทำของผู้แทนภายใต้ขอบวัตถุประสงค์ของทำละเมิดแก่บุคคลอื่น นิติบุคคลนั้นต้องรับผิดต่อบุคคลภายนอกด้วยเมื่อได้รับผิดแล้วกฎหมายให้ สิทธิไปไล่เบี้ยเอาแก่ผู้แทนได้(มาตรา 76) ฯลฯ ส่วนความเกี่ยวพันตามกฎหมายระหว่างผู้แทนกับนิติบุคคล ระหว่างผู้แทนกับบุคลภายนอกหรือระหว่างนิติบุคคลกับบุคคลภายนอกนั้นให้นำ กฎหมายว่าด้วยตัวการตัวแทนมาใช้บังคับโดยอนุโลม(ซึ่งจะได้กล่าวโดยละเอียดใน ภายหลัง) เช่น ถ้าเป็นเรื่องผู้แทนกระทำโดยนอกขอบวัตถุประสงค์ กระทำโดยปราศจากอำนาจหรือนอกเหนืออำนาจผู้แทนต้องรับผิดโดยลำพัง ไม่ผูกพันห้าง หรือถ้าการกระทำนอกเหนือขอบวัตถุประสงค์ก่อให้เกิดการละเมิดหรือเป็นการทำ ละเมิดโดยส่วนตัว นิติบุคคลไม่ต้องรับผิด ฯลฯ

3.การสิ้นสภาพของนิติบุคคล
         
การ สิ้นสภาพบุคคลของนิติบุคคล คือการที่นิติบุคคลนั้นไม่อาจดำรงความเป็นนิติบุคคลนั้นต่อไปได้ มีผลทำให้สิทธิและหน้าที่ต่างๆของนิติบุคลนั้นเป็นอันหมดสิ้นและไม่ถือเป็น บุคคลตามกฎหมายต่อไป นิติบุคคลนั้นถือเป็นบุคคลที่กฎหมายสมมติขึ้น ไม่มีชีวิตจิตใจเช่นบุคคลธรรมดา ไม่อาจสิ้นสภาพบุคคลโดยอาศัยการตายหรือสาบสูญได้ แต่อย่างไรก็ดี นิติบุคคลอาจสิ้นสภาพด้วยเหตุอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ 
           1.สิ้น สภาพตามที่ระบุไว้ในข้อบังคับ หรือตราสารจัดตั้ง เช่น กำหนดไว้ในตราสารจัดตั้งว่าจะดำเนินการจนกว่าจะครบ 5 ปี เมื่อครบ 5 ปีแล้วนิติบุคคลนั้นย่อมสิ้นสภาพไป
           2.โดยสมาชิกตกลงเลิก คือการที่สมาชิกยินยอมร่วมกันที่จะทำการเลิกนิติบุคคลนั้น
            3.โดย ผลของกฎหมาย คือมีกฎหมายกำหนดไว้ว่านิติบุคคลย่อมเลิกกันเมื่อเกิดเหตุอย่างหนึ่งอย่างใด ขึ้น เช่น กฎหมายกำหนดให้ห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียนเลิกกันเมื่อผู้เป็นหุ้นส่วนคนใด คนหนึ่งตายหรือล้มละลาย(มาตรา 1055) หรือเมื่อห้างหุ้นส่วนนั้นล้มละลาย(มาตรา 1069)
          4.โดยคำสั่งศาล เช่น ศาลอาจสั่งให้เลิกห้างหุ้นส่วนสามัญได้ ถ้าผู้เป็นหุ้นส่วนร้องขอ(มาตรา 1057)
           
หมายเหตุ มาตราต่างๆที่อ้างอิงมาทั้งหมดนั้นจะอยู่ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์เสีย เป็นส่วนใหญ่ กฎหมายที่ไม่ได้อยู่ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ผู้รวบรวมจะบอกกำกับไว้ ต่างหาก

นิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ได้อะไร

สิทธิของนิติบุคคล มีความสามารถเช่นเดียวกับบุคคลธรรมดา เช่น ความสามารถในการทำนิติกรรมสัญญา สิทธิในการเป็นเจ้าของทรัพย์สินต่างๆ เช่น ที่ดิน เงิน หน้าที่ในการเสียภาษี

นิติบุคคล มีกี่ประเภท ประกอบด้วยอะไรบ้าง

ประเภทของธุรกิจ แบบนิติบุคคล ประกอบด้วย 3 กลุ่ม คือ ห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัด และ บริษัทจำกัดครับ

บุคคลตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มีกี่ประเภท อะไรบ้าง

บุคคล บุคคลตามความหมายใน กฎหมาย แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ... 1. บุคลธรรมดา 2. นิติบุคคล

นิติบุคคลที่ตั้งตามกฎหมายอื่น มีอะไรบ้าง

นอกจากนี้ยังมีนิติบุคคลตามกฎหมายอื่นอีก เช่น ทบวงการเมือง ได้แก่ กระทรวง ทบวง และกรมในรัฐบาล จังหวัด องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล กรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา วัดวาอาราม เฉพาะวัดที่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา แต่ไม่รวมถึงสำนักสงฆ์ เป็นต้น

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง