รายได้500000ต่อปีเสียภาษีเท่าไร

รายได้เท่านี้ เสียภาษีเท่าไร

โดยปกติแล้ว ผู้มีเงินได้จะต้องยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีปีละ 1 ครั้ง ของปีถัดไปหรือหากยื่นแบบทางอินเตอร์เน็ตก็อาจมีขยายระยะเวลาในการยื่นแบบฯ การคำนวณภาษีนั้น จะนำเงินได้พึงประเมินรวมตลอดปี หักด้วยค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อนต่างๆ จึงได้เป็นเงินได้สุทธิ ซึ่งเราจะนำเงินได้สุทธินี้ไปคำนวณภาษีตามอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดามีการจัดเก็บในอัตราที่ต่างกัน โดยแบ่งเป็นช่วงๆ ตามเงินได้สุทธิ ใครมีเงินได้สุทธิอยู่ในช่วงไหนก็ต้องคำนวณภาษีตามอัตราของช่วงนั้น

ตัวอย่างบัญชีอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

เงินได้สุทธิ 0 - 150,000 บาทต่อปี ได้รับการยกเว้น
เงินได้สุทธิ 150,001 - 300,000 บาทต่อปี ได้รับอัตราภาษีร้อยละ 5
เงินได้สุทธิ 300,001 - 500,000 บาทต่อปี ได้รับอัตราภาษีร้อยละ 10
เงินได้สุทธิ 500,001 - 750,000 บาทต่อปี ได้รับอัตราภาษีร้อยละ 15
เงินได้สุทธิ 750,001 - 1,000,000 บาทต่อปี ได้รับอัตราภาษีร้อยละ 20
เงินได้สุทธิ 1,000,001 – 2,000,000 บาทต่อปี ได้รับอัตราภาษีร้อยละ 25
เงินได้สุทธิ 2,000,001 - 5,000,000 บาทต่อปี ได้รับอัตราภาษีร้อยละ 30
เงินได้สุทธิ 5,000,001 บาทขึ้นไปต่อปี ได้รับอัตราภาษีร้อยละ 35

จากบัญชีอัตราภาษีเงินได้ ทำให้เห็นว่ายิ่งเงินสุทธิสูงก็จะมีอัตราการจัดเก็บภาษีที่สูงตามขึ้นด้วย แต่เมื่อคำนวณภาษี เราสามารถนำค่าใช้จ่ายประเภทต่างๆ มาหักลดหย่อนภาษีได้ ไม่ว่าจะเป็น ค่าลดหย่อนส่วนตัวและครอบครัว, ค่าประกัน เงินออม และการลงทุนต่างๆ, ค่าบริจาค, ค่าลดหย่อนเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ ฯลฯ

บรรดาค่าลดหย่อนต่างๆ นั้น ส่วนใหญ่จะเป็นรายการค่าใช้จ่ายที่ทุกคนต้องจ่ายอยู่แล้ว แต่สำหรับคนที่ต้องการวางแผนชีวิตหรือวางแผนการเงินในระยะยาว การซื้อประกันชีวิตหรือประกันสุขภาพก็เป็นทางเลือกที่ดี เพราะนอกจากจะสามารถนำเบี้ยประกันมาหักลดหย่อนภาษีแล้ว ยังจะได้รับความคุ้มครองความเสี่ยงรวมถึงผลประโยชน์จากสัญญากรมธรรม์ซึ่งเป็นวัตถุประสงค์หลักในการวางแผนทางการเงินและความมั่นคงของตนเองและครอบครัว โดยเราสามารถเลือกชำระเบี้ยประกันในวงเงินและระยะเวลาที่กรมสรรพากรกำหนดในเรื่องค่าเบี้ยประกันไปหักลดหย่อนภาษีในแต่ละปี อีกทั้งให้เหมาะสมกับความต้องการได้รับความคุ้มครองชีวิตและสุขภาพตามประเภทของประกันชีวิตนั้นๆ เช่น ประกันสุขภาพ iHealthy ซึ่งคุ้มครองค่ารักษาพยาบาลในทุกที่ทุกเวลา ช่วยดูแล และให้ผลประโยชน์อย่างคุ้มค่า อีกประเภทหนึ่งที่น่าสนใจก็คือ ประกันคุ้มครองชีวิตและโรคร้ายแรงตลอดชีพ iShield ที่คุ้มครองโรคร้ายแรงทั้งระยะเริ่มต้นและระยะรุนแรง รวม 70 โรค โดยสามารถนำเบี้ยประกันสำหรับความคุ้มครองชีวิตมาลดหย่อนภาษีได้สูงสุด 100,000 บาท*

ทั้งนี้ สำหรับปีภาษี 2561 เป็นต้นไป ผู้เสียภาษีที่ประสงค์จะนำเบี้ยประกันไปลดหย่อนภาษี จะต้องแจ้งความประสงค์ให้บริษัทประกันภัยทราบ เพื่อให้บริษัทประกันภัยสามารถนำส่งข้อมูลเบี้ยประกันให้แก่กรมสรรพากร โดยที่ผู้มีเงินได้ไม่ต้องใช้หลักฐานประกอบการขอลดหย่อนภาษี

*เงื่อนไขเป็นไปตามข้อกำหนดของกรมสรรพากร

แบบประกันชีวิตที่แนะนำ

ประกันคุ้มครองชีวิตและโรคร้ายแรงตลอดชีพ | iShield

โรคร้าย ควบคุมไม่ได้ แต่ “ความสุข” คุณปกป้องได้

iShield ยืดเวลาแห่งความสุข ไม่หยุดไปกับโรคร้าย ทางเลือกใหม่ที่จะช่วยปกป้องความสุขของคุณและครอบครัวจากภัยโรคร้ายแรง วางแผนรับมือตั้งแต่วันนี้ อย่าปล่อยให้โรคร้ายแรงทำลายชีวิตคุณ เพราะโรคร้ายเกิดขึ้นได้แบบไม่คาดฝัน โดยที่คุณอาจไม่รู้ตัว และใกล้ตัวกว่าที่คุณคิด หากไม่มีการเตรียมพร้อมรับมือใด ๆ อาจทำให้ความสุขทั้งหมดของชีวิตต้องหยุดลง

    สิทธิประโยชน์

  • ชำระเบี้ยสั้น เบี้ยประกันคงที่ตลอดสัญญา
  • 70 โรคร้ายแรงที่ไอชิลด์คุ้มครองทั้งระยะเริ่มต้นและระยะรุนแรง
  • เบี้ยประกันภัยในส่วนคุ้มครองชีวิตสามารถนำไปลดหย่อนภาษีได้ (ตามเงื่อนไขของกรมสรรพากร)

คำนวณภาษี

ช่วยคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาประจำปี

รายรับ

รายได้อื่นๆ เช่น การขายของออนไลน์, รับจ้างฟรีแลนซ์ (บาท)

กองทุน SSF / RMF แนะนำ

เริ่มต้นลงทุนเพียง 500 บาท

หมายเหตุ

* โปรแกรมคำนวณภาษีนี้ถือเป็นการคำนวณเบื้องต้นเท่านั้น โดยใช้ข้อมูลของปีภาษี 2565 ธนาคารขอไม่รับรองความถูกต้องของข้อมูลและผลลัพธ์ ทั้งนี้รายการลดหย่อนเพิ่มเติมในปีภาษี 2565 กรุณาตรวจสอบเพิ่มเติมจากประกาศของกรมสรรพากร** กรณีที่ลูกค้าเคยลงทุนใน RMF แต่ในปีนี้ไม่มีภาษีที่ต้องเสีย แนะนำให้ลูกค้าลงทุนใน RMF 500 บาท เพื่อรักษาสิทธิทางภาษี

กองทุนมีนโยบายที่แตกต่างกันทั้งด้านสินทรัพย์/ภูมิภาค/ประเทศ/กลุ่มธุรกิจที่กองทุนลงทุน ราคาของหลักทรัพย์จึงมีความผันผวนตามปัจจัยที่กระทบ / เนื่องจากกองทุนไม่ได้ป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเต็มจำนวน ผู้ลงทุนอาจจะขาดทุนหรือได้รับกำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน หรือได้รับเงินคืนต่ำกว่าเงินลงทุนเริ่มแรกได้ / ผู้ถือหน่วยลงทุนจะไม่ได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีหากไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขการลงทุน / ผู้ลงทุนโปรดทำความเข้าใจลักษณะสินค้า เงื่อนไขผลตอบแทน ความเสี่ยง และคู่มือการลงทุนก่อนตัดสินใจลงทุน สนใจลงทุนและขอรับหนังสือชี้ชวนได้ที่ www.kasikornasset.com

บริการทุกระดับประทับใจ

คำเตือน
©สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2556 บริษัท หลักทรัพย์จัดการกองทุน กสิกรไทย จำกัด
400/22 อาคารธนาคารกสิกรไทย ชั้น 6 และ 12 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 ประเทศไทย โทรศัพท์: 0-26733999 โทรสาร: 0-26733988

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง