ในสมัยธนบุรี กรม ใดที่มีหน้าที่

11.1 ����Ҫ�ó�¡Ԩ��ҹ��û���ͧ
11.1.1 �к���û���ͧ���¡�ا�����������ҧ�� ?
�Ѫ�������稾����ҵҡ�Թ����Ҫ�����к���û���ͧẺ��ҷ����������駡�ا�����ظ�� ����ػ�մѧ���

1. ��û���ͧ��ǹ��ҧ������ǹ�Ҫ�ҹ�
����㹤����Ѻ�Դ�ͺ�ͧ �Ѥ�����ʹҺ�� 2 ���˹� ��� �ʹҺ�ը��ʴ��� �ա 4 ���˹� ��� ������§ ����ѧ �����ѧ ��С����

�ա������ǹ�Ҫ��������͡�� 2 ���� ��� ���¾����͹ �� ���˹�¡ �����˹�ҤǺ�����û�Ժѵԧҹ�ͧ���ʴ�����д���������ͧ�����˹�� ���·����� ���ˡ����� �����˹�ҤǺ�����ҹ��û�ͧ�ѹ�������д���������ͧ������

�ʹҺ�ը��ʴ��컮Ժѵ�˹�ҷ���������¡�ا�����ظ�� �����ѧ��ͧ�Ѻ�Դ�ͺ����������ͧᶺ��·���������� ���� ��طû�ҡ�� ��ط��Ҥ� ��ط�ʧ���� ������� �ź��� �ҧ���ا ���ͧ �ѹ����� ��е�Ҵ (53 �����ҡ�ѵ������ � �ç��ͧ��·�駪ҵ�, 2543 : 240)

2. ��û���ͧ��ǹ�����Ҥ
��� ��û���ͧ������ͧ��ҧ� ���㹾���Ҫ�ҳҨѡ� ���͡�� 2 �дѺ ��� ������ͧ�������ҹ�� ���������ͧ������Ҫ

2.1 ��û���ͧ������ͧ�������ҹ��
���͡�� 2 �дѺ ���

������ͧ���� ���� ������ͧ���� ��鹨ѵ�ҷ�������ͺ��й�� �ռ������繼���ͧ���ͧ �������㹤����Ѻ�Դ�ͺ�ͧ���˹�¡ �� ���ͧ��л��ᴧ ���ͧ���⤡

������ͧ��鹹͡ ���� ���ͧ������������ͧ��ǧ�͡� �觵����Ҵ ��Ф����Ӥѭ�ͧ���ͧ ��������ͧ����͡ � ��� �ѵ�� ��������ͧ����ͧ ���ӹҨ�Է���Ҵ᷹���ͧ��ء��С��

การจัดเก็บภาษีอากรในสมัยกรุงธนบุรี (พ.ศ. 2311 - พ.ศ. 2324) และสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น (รัชกาลที่ 1-รัชกาลที่ 3 ระหว่างพ.ศ. 2325-พ.ศ. 2394)

การจัดเก็บส่วยสาอากรทั้ง 4 ประเภท ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ได้ถูกกำหนดเป็นรูปแบบการจัดเก็บต่อเนื่องมาจนถึงสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี และตอนต้นรัชกาลที่ 1 - รัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ จนถึงในสมัยรัชกาลที่ 3 พระบามสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เกิดกบฏเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทร์ รัฐบาลมีความจำเป็นที่ต้องการใช้เงินในราชการมากกว่าแต่ก่อนพระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้มีการปรับปรุงการจัดเก็บภาษีเป็นผลให้เกิดการจัดเก็บภาษีขึ้นใหม่ 38 ประเภท ทั้งนี้โดยเป็นภาษีที่เก็บจากการพนัน และจากผลผลิตประเภทต่างๆ จำแนกได้ดังนี้

  • บ่อนเบี้ย หวย ก.ข. ภาษีเบ็ดเสร็จ (เก็บของลงสำเภา)
  • ภาษีของต้องห้ามหกอย่าง (ได้แก่ อากรรังนก, ไม้กฤษณา, นอแรด, งาช้าง, ไม้จันทร์, ไม้หอม)
  • ภาษีพริกไทย (เก็บจากผู้ซื้อลงสำเภา)
  • ภาษีพริกไทย (เก็บจากชาวไร่ที่ปลูกพริกไทย)
  • ภาษีฝาง
  • ภาษีไม้แดง (เก็บจากผู้ซื้อลงสำเภา)
  • ภาษีไม้แดง (เก็บจากผู้ขาย)
  • ภาษีเกลือ
  • ภาษีน้ำมันมะพร้าว
  • ภาษีน้ำมันต่างๆ
  • ภาษีกะทะ
  • ภาษีต้นยาง
  • ภาษีไต้ชัน
  • ภาษีฟืน
  • ภาษีจาก
  • ภาษีกระแซง
  • ภาษีไม้ไผ่ป่า
  • ภาษีไม้รวก
  • ภาษีไม้สีสุก
  • ภาษีไม้ค้างพลู
  • ภาษีไม้ต่อเรือ
  • ภาษีไม้ซุง
  • ภาษีฝ้าย
  • ภาษียาสูบ
  • ภาษีปอ
  • ภาษีคราม
  • ภาษีเนื้อแห้ง
  • ปลาแห้ง
  • ภาษีเยื่อเคย
  • ภาษีน้ำตาลทราย
  • ภาษีน้ำตาลหม้อ
  • ภาษีน้ำตาลอ้อย
  • ภาษีสำรวจ
  • ภาษีเตาตาล
  • ภาษีจันอับ ไพ่ เทียนไขเนื้อ และขนมต่างๆ
  • ภาษีปูน
  • ภาษีเกวียน โคต่าง
  • เรือจ้างทางโยง

และในสมัยรัชกาลที่ 3 นี้ พระองค์ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกเลิกอากรซึ่งเคยมีมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา 2 ชนิดคือ อากรรักษาเกาะ และอากรค่าน้ำ นอกจากการกำหนดให้มีการปรับปรุงการจัดเก็บภาษี โดยการเพิ่มประเภทภาษีอากรที่จัดเก็บ 38 ประเภทข้างต้น พระองค์ยังได้กำหนดให้มีการปรับปรุงรูปแบบการจัดเก็บโดยการนำระบบเจ้าภาษีนายอากรมาใช้กล่าวคือ ให้มีการจัดเก็บภาษีเป็นการผูกขาดโดยเอกชน ทั้งนี้เอกชนผู้ใดประสงค์จะรับเหมาผูกขาดการจัดเก็บภาษีประเภทใด ก็จะเข้ามาร่วมประมูล ผู้ให้ราคาสูงสุดจะเป็นผู้ผูกขาดจัดเก็บ ซึ่งจะเรียกว่า เจ้าภาษีนายอากรรัฐบาลจะมอบอำนาจสิทธิขาดในการจัดเก็บภาษีอากรชนิดนั้นให้ไปดำเนินการ เมื่อถึงเวลากำหนด ผู้ประมูลจะต้องนำเงินภาษีอากรที่จัดเก็บมาส่งให้ครบจำนวนตามที่ประมูลไว้

ดังนั้น คำว่า ภาษี จึงเข้าใจว่าคงเกิดขึ้น ในรัชกาลที่ 3 นี้เอง โดยคาดคะเนกันว่า น่าจะมาจาก คำในภาษาแต้จิ๋วว่า บู้ซี อันหมายถึง สำนักเจ้าพนักงาน ทำการเก็บผลประโยชน์แผ่นดินซึ่งตั้งขึ้นจากระบบเจ้าภาษีนายอากรนี่เอง คำว่าภาษีนี้ จะใช้กับอากรที่เกิดขึ้นใหม่ในสมัยรัชกาลที่ 3 เพื่อให้ฟังดู แตกต่างจากอากรเก่าที่เคยจัดเก็บมาแต่โบราณ ดังที่ปรากฎในหนังสือพระราชดำรัสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงอธิบายว่า "...เกิดอากร

ขึ้นใหม่ๆ ได้เงินใช้ในราชการแผ่นดิน ดีกว่ากำไรค้าสำเภา อากรเหล่านั้นให้เรียกว่า ภาษี เพราะเป็นของที่เกิดขึ้นใหม่เหมือนหนึ่งเป็นกำไร ซึ่งพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชประสงค์จะให้เห็นว่าเงินเก่าเท่าใด เกิดขึ้นในรัชกาลของท่านเท่าใด... การบังคับบัญชาอากรเก่าใหม่เหล่านี้ จึงได้แยกออกเป็นสองแผนก อากรเก่าอยู่ในพระคลังมหาสมบัติ อากรใหม่ซึ่งเรียกว่า ภาษี อยู่ในกรมพระคลังสินค้า คงเรียกชื่อว่าอากรอยู่ แต่หวยจีนก.ข. ซึ่งเป็นของเกิดใหม่แต่คล้ายกับอากรบ่อนเบี้ยของเดิม จึงคงเรียกว่าอากร แต่ก็คงยกมาไว้ในพวกภาษีเหมือนกัน"

ที่มา ::หนังสือที่ระลึกในการเปิดอาคารกรมสรรพากร 2 กันยายน 2540

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง