ห จก กับ บริษัท ข้อดี ข้อเสีย

ข้อดี ข้อเสีย ระหว่าง หจก กับ บริษัท, ข้อแตกต่างระหว่างห้างหุ้นส่วนสามัญและห้างหุ้นส่วนจํากัด, จดทะเบียน หจก ค่าใช้จ่าย, ทำไมต้อง จดทะเบียนหจก., ทุนจดทะเบียน ห จก, ทุนจดทะเบียน หจก, บริษัท ห้างหุ้นส่วน จํา กัด, บัญชี ห้างหุ้นส่วน จํา กัด, ห จก กับ บริษัท, ห จก กับ บริษัท ต่าง กัน อย่างไร, หจก, ห้างหุ้นส่วน จํา กัด กับ บริษัท จํา กัด, ห้างหุ้นส่วนจํากัด กับ บริษัทจํากัด, ห้างหุ้นส่วนจํากัด กับ บริษัทจํากัด, ห้างหุ้นส่วนจํากัด ข้อดี ข้อเสีย, ห้างหุ้นส่วนและบริษัท, เปรียบเทียบ ห้างหุ้นส่วนกับ บริษัท

2.มีเงินทุนมากกว่าการประกอบกิจการแบบเจ้าของคนเดียว เพราะห้างหุ้นส่วนมีบุคคลหลายคนนำมาลงทุนร่วมกัน และห้างหุ้นส่วนเพิ่มทุนเท่าไรก็ได้

3.มีความเชื่อถือทางการเงินดีกว่ากิจการเจ้าของคนเดียว  เพราะหุ้นส่วนรับผิดชอบในหนี้สินโดยไม่จำกัดจำนวน เว้นแต่พวกจำกัดความรับผิดชอบ เจ้าหนี้จึงยอมให้เครดิตเพราะมีหลักประกันในหนี้สินมั่นคง

4.ห้างหุ้นส่วนมีอิสระในการประกอบธุรกิจในด้านไหนก็ได้ หุ้นส่วนจะเปลี่ยนวัตถุประสงค์ของห้างหุ้รส่วนก็ได้ เพื่อเหมาะสมกับเหตุการณ์

5.ห้างหุ้นส่วนสามารถชวนคนที่มีความรู้ความสามารถร่วมกิจการในห้างหุ้นส่วนได้

6.บรรดาหุ้นส่วนส่วนทั้งหมดต่างก็มีส่วนได้เสียในห้างหุ้นส่วน ย่อมมีความระมัดระวังดูแลรักษาผลประโยชน์ได้ดีกว่ากิจการเจ้าของคนเดียว

7.หุ้นส่วนได้รับประโยชน์จากการปรึกษาหรือ และสามารถแบ่งงานกันได้ตามความถนัด เช่น ควบคุมบัญชี ควบคุมการขาย

ข้อเสีย ห้างหุ้นส่วนจำกัด

1.หุ้นส่วนแต่ละคนต้องรับผิดชอบในหนี้สินโดยไม่จำกัดจำนวน ซึ่งอาจจะกระทบกระเทือนถึงสินทรัพย์ส่วนตัว เว้นแต่พวกจำกัดความรับผิดชอบเท่านั้น

2.การดำเนินงานในห้างหุ้นส่วนอาจล่าช้า เพราะหุ้นส่วนพวกรับผิดชอบโดยไม่จำกัดจำนวนต้องมีการปรึกษาหารือกัน

3.หุ้นส่วนจะถอนเงินทุนออกจากห้างหุ้นส่วนได้ยาก เพราะต้องได้รับความยินยอมจากหุ้นส่วนด้วยกันเสียก่อน

4.การกระทำของหุ้นส่วนที่มีผลเสียเพียงคนเดียวจะกระทบหุ้นส่วนคนอื่นๆหมดทุกคน

5.ห้างหุ้นส่วนต้องเลิก เมื่อหุ้นส่วนคนใดคนหนึ่งตายหรือลาออกอาจทำให้งานที่กำลังดำเนินอยู่ต้องหยุดชะงักลงได้

6.การประกอบการแบบห้างหุ้นส่วนกับกิจการที่ใช้ทุนปานกลาง เป็นกิจการที่ไม่มีหนี้สินเกี่ยวกับบุคคลภายนอกมากนัก

  • Bank Pattarawit (ผู้สอบบัญชี)

8 ข้อดี การทำธุรกิจ แบบ บริษัท/หจก.


1.ได้รับสิทธิ ประหยัดภาษี มากกว่า บุคคลธรรมดา

* กรณี > นิติบุคคล >> ได้รับยกเว้นภาษี 300,000 บาทแรก

* ส่วน > บุคคลธรรมดา >> ได้รับยกเว้นภาษี 150,000 บาทแรก

** อัตราภาษีของ > นิติบุคคล >> สูงสุด 20%

** ส่วน อัตราภาษีของ > บุคคลธรรมดา >> สูงสุด 35%

 

2. นิติบุคคล ขาดทุน ไม่ต้องเสียภาษีประจำปี

เนื่องจาก นิติบุคคล เสียภาษีประจำปี จากฐานกำไรตามจริง ดังนั้น หากขาดทุนย่อมไม่เสียภาษี นอกจากนั้น


** ยังสะสมผลขาดทุนในปีก่อนๆ ได้สูงสุด 5 ปี ** เพื่อมาหักกลบ กับผลกำไรในปีปัจจุบัน เพื่อลดภาษีได้อีก

ในขณะที่ บุคคลธรรมดา มักใช้ อัตราค่าใช้จ่ายเหมา คือ 10% - 60% ของรายได้ทั้งปี


** ดังนั้นแม้ว่า ในความเป็นจริง ธุรกิจจะขาดทุน บุคคลธรรมดา ต้องเสียภาษี อยู่ดี

 

3. เป็นการวางแผนภาษี เพื่อประหยัดค่าภาษี รูปแบบหนึ่ง

เนื่องจาก จดบริษัท/หจก. จะเป็นการ แยกหน่วยภาษีใหม่ จาก หน่วยภาษีบุคคลธรรมดา

ดังนั้น จะเป็นการกระจายรายได้จากบุคคล ไปสู่นิติบุคคล เพื่อ :

3.1 ลดอัตราภาษีของบุคคลธรรมดา

3.2 เพิ่มส่วนได้รับยกเว้นภาษีที่มากขึ้น เป็นต้น

 

** ท่านสามารถ ติดตาม เพื่อรับความรู้ทางบัญชี+ภาษี ฟรีๆ ได้โดย กดปุ่มด้านล่าง นี้นะครับ **




 

4. มี ความน่าเชื่อถือ มากกว่า บุคคลธรรมดา

ปัจจุบัน องกรค์ส่วนมาก จะเลือกซื้อของ หรือใช้บริการ กับ นิติบุคคล เท่านั้น

ดังนั้น บุคคลธรรมดา จะขายของ หรือให้บริการ กับ องกรค์ มักจะทำได้ยากขึ้น

 

5. สามารถ จำกัด วงเงินรับผิดชอบ ได้

กรณี จดเป็น บริษัท จำกัด >> ทางกฎหมาย กำหนดว่า ผู้ถือหุ้น มีความรับผิดจำกัดเท่าที่ตกลงลงหุ้นในบริษัทเท่านั้น

ดังนั้น บริษัทเป็นรูปแบบองค์กรธุรกิจที่เหมาะสมกับผู้ลงทุนที่ให้ความสำคัญกับการจำกัดความรับผิดของตนเป็นอันดับแรก

 

6. นิติบุคคล ทำธุรกิจ ถูกเพ่งเล็งจาก กรมสรรพากร น้อยกว่า บุคคลธรรมดา

เนื่องจาก ปัจจุบัน นโยบายการตรวจสอบภาษี ของกรมสรรพากร เน้นไปทางการตรวจสอบ บุคคลธรรมดา ที่ทำธุรกิจ + ไม่เคยเสียภาษี เช่น

- นโยบายการขอ Statement ธนาคาร โดยตรงจากธนาคาร เลย เมื่อ บุคคลธรรมดา มีรายรับ ถึง เกณฑ์ที่กำหนด,

- การเชื่อมโยงข้อมูลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอื่นๆ เพื่อตรวจสอบหา บุคคลธรรมดาที่ยังเสียภาษีไม่ถูกต้อง เป็นต้น

 

7. การ ขอสินเชื่อเพื่อธุรกิจ จะทำได้ ง่ายกว่า บุคคลธรรมดา

เนื่องจาก นิติบุคคล จะต้องมีข้อมูลทางบัญชี และเอกสารประกอบรายการรับรายจ่ายที่จัดเจน

ดังนั้น นิติบุคคล จะได้รับ เครดิตในการขอสินเชื่อ ได้ง่ายกว่า บุคคลธรรมดา (ที่ทำธุรกิจ) ซึ่งมักตรวจสอบแหล่งที่มาของรายได้ ไม่ชัดเจนเท่ากับ นิติบุคคล

 

8. มีข้อมูลทางบัญชี และเอกสารประกอบที่ชัดเจน ทุกปี

เมื่อเป็น นิติบุคคล จะถูกบังคับให้ทำบัญชี และปิดงบเป็นประจำทุกปีดังนั้น ทั้งบริษัท และ หจก. จะต้องมีข้อมูลทางบัญชีทุกปี พร้อมเอกสารประกอบแสดงการรับและจ่าย ที่ชัดเจน

ทำให้ง่ายต่อการบริหาร โดยนำข้อมูลทางบัญชีมาใช้ได้ เช่น วิเคราห์ยอดขาย, ค่าใช้จ่าย, กำไรขาดทุน และ ง่ายต่อการตรวจสอบรายการเมื่อมีข้อสงสัยต่างๆ หรือ ง่ายต่อการวางแผนภาษี โดยนำข้อมูลทางบัญชีมาประมาณการ

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง