MRT หลัก สอง ไป ศูนย์ สิริ กิ ต

เส้นทางรถไฟฟ้า

โครงการรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน ระยะทางรวม 48 กม. 38 สถานี ประกอบไปด้วย
• โครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล สถานีหัวลำโพง – สถานีบางซื่อ ระยะทาง 20 กิโลเมตร 18 สถานี
•โครงการรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินส่วนต่อขยาย สถานีหัวลำโพง – สถานีหลักสอง ระยะทาง 14 กิโลเมตร สถานีใต้ดิน 4 สถานี และสถานียกระดับ 7 สถานี รวม 11 สถานี และ สถานีบางซื่อ – สถานีท่าพระ ระยะทาง 13 กิโลเมตร เป็นสถานียกระดับ 8 สถานี

  1. ทุกวันไม่มีวันหยุด ตั้งแต่เวลา 06.00 - 24.00 น.
  2. ความถี่
    1. - ชั่วโมงเร่งด่วนเวลา 06.00 – 09.00 น. และ 16.30-19.30 น. ความถี่ไม่เกิน 5 นาทีต่อขบวน
    2. - ชั่วโมงปกติ ความถี่ไม่เกิน 10 นาทีต่อขบวน
  3. จำนวนรถไฟฟ้า MRT วิ่งบริการสูงสุด XX ขบวน

สถานีรถไฟฟ้า

สถานีท่าพระ (BL01)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ซอยเพชรเกษม 10/2

2A

ซอยเพชรเกษม 11

2B

สำนักงานเขตบางกอกใหญ่, ซอยเพชรเกษม 15

3

ซอยเพชรเกษม 12

4

ซอยคริสจักร

สถานีจรัญฯ 13 (BL02)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 11, วัดเจ้ามูล

2

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 13, วิทยาลัยพาณิชยการธนบุรี

3

การไฟฟ้านครหลวงธนบุรี, วัดโพธิ์เรียง

4

วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม


สถานีไฟฉาย (BL01)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ซอยพรานนก 1

2

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 31/1

3

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 31/2, วัดรวกสุทธาราม, ตลาดบางขุนศรี

4

โรงพยาบาลวิชัยเวช

สถานีบางขุนนนท์ (BL04)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

วัดสุทธาวาส, สถานีรถไฟธนบุรี, สำนักงานประปา เขตบางกอกน้อย, สถานีตำรวจนครบาลบางกอกน้อย, ซอยจรัญสนิทวงศ์ 30/1

2

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 39

3

แยกบางขุนนนท์

4

สำนักงานเขตบางกอกน้อย, วัดสุวรรณารามราชวรวิหาร

สถานีบางยี่ขัน (BL05)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 49/1

2

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 55

3

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 42

4

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 40/1

สถานีสิรินธร (BL06)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 64, วัดสิงห์

2A

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 62

2B

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 56

3A 3B

สำนักงานที่ดิน บางกอกน้อย, ซอยจรัญสนิทวงศ์ 59

3C

ถนนสิรินธร

3D 3E 3F

ถนนราชวิถี

สถานีบางพลัด (BL07)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 81

2

สำนักงานเขตบางพลัด, ซอยจรัญสนิทวงศ์ 83/1

3

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 76

4

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 72, วัดอาวุธวิกสิตาราม

สถานีบางอ้อ (BL08)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 86/2, ศูนย์บริการสาธารณสุข 31, มัสยิดบางอ้อ

2

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 85, วัดสามัคคีสุทธาวาส

3

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 89/2

4

โรงพยาบาลยันฮี, สถานีดับเพลิงบางอ้อ, วัดฉัตรแก้วจงกลณี

สถานีบางโพ (BL09)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1A

ท่าเรือบางโพ

1B

โรงเรียนทหารพลาธิการ

1C

ท่าเรือบางโพ

2A

ถนนประชาราษฎร์ สาย 2, วัดบางโพโอมาวาส

2B

โรงพยาบาลบางโพ, ตลาดบางโพ

3A

ที่ทำการไปรษณีย์บางโพ, สถานีดับเพลิงบางโพ, ที่ทำการด่านป่าไม้กรุงเทพ

3B

ซอยประชาราษฏร์สาย 1 ซอย 7

สถานีเตาปูน (BL10)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ซอยนำชัย

2

ซอยกรุงเทพ-นนทบุรี 1

3

ซอยกรุงเทพ-นนทบุรี 2

4

ถนนประชาราษฎร์ สาย 2

สถานีบางซื่อ (BL11)

อยู่บริเวณสถานีรถไฟบางซื่อ ใกล้กับโรงงานปูนซีเมนต์ไทย

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ถนนเทอดดำดิห์ สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ 1 (สายเหนือ)

2

ถนนรถไฟ สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ 2 (สายใต้)

สถานีกำแพงเพชร (BL12)

อยู่ตรงข้ามองค์การตลาดเพื่อเกษตรกร (อตก.) บริเวณหน้าตลาดนัดจตุจักร

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ตลาดนัดจตุจักร

2

ตลาดนัดจตุจักร ถนนกำแพงเพชร 2

3

ตลาด อตก. ถนนกำแพงเพชร

สถานีสวนจตุจักร (BL13)

อยู่ตามแนวพหลโยธินในสวนจตุจักร ตรงข้ามสถานีขนส่งสายเหนือ (เดิม)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ตลาดนัดจตุจักร

2

สวนจตุจักร

3

สถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสหมอชิต

4

สถาบันการบินพลเรือน กรมการขนส่งทางบก

สถานีพหลโยธิน (BL14)

อยู่บริเวณสามแยกปากทางถนนลาดพร้าว

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ซอยลาดพร้าว 4

2

มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น

3

โรงเรียนหอวัง

4

แยกลาดพร้าว

สถานีลาดพร้าว (BL15)

อยู่ตามแนวถนนลาดพร้าว บริเวณลาดพร้าว ซอย 21

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ซอยลาดพร้าว 26 แยกรัชดา-ลาดพร้าว

2

ซอยลาดพร้าว 24

3

ซอยลาดพร้าว 17

4

อาคารจอดแล้วจร

สถานีรัชดาภิเษก (BL16)

อยู่ตามแนวถนนรัชดาภิเษก บริเวณหน้าอาคารปลาทองกะรัต

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

โรงเรียนปัญจทรัพย์

2

ซอยโชคชัย 29

3

ซอยรัชดาภิเษก 26

4

ซอยรัชดาภิเษก 24

สถานีสุทธิสาร (BL17)

อยู่ตามแนวถนนรัชดาภิเษก บริเวณกลางสี่แยกสุทธิสาร

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

สถานีตำรวจนครบาลสุทธิสาร

2

ซอยรัชดาภิเษก 20

3

ซอยรัชดาภิเษก 18

4

ซอยรัชดาภิเษก 17

สถานีห้วยขวาง (BL18)

อยู่ตามแนวถนนรัชดาภิเษก บริเวณกลางสี่แยกห้วยขวาง

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ถนนประชาราษฎร์บำเพ็ญ

2

ซอยรัชดาภิเษก 12

3

ถนนประชาสงเคราะห์

4

โรงเรียนกุนนทีรุทธารามวิทยาคม

สถานีศูนย์วัฒนธรรม แห่งประเทศไทย (BL19)

ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย

2

ซอยรัชดาภิเษก 8

3

สถานเอกอัครราชฑูตจีน ซอยรัชดาภิเษก 5

4

แยกเทียมร่วมมิตร

สถานีพระราม 9 (BL20)

อยู่ตามแนวถนนรัชดาภิเษก บริเวณสี่แยกพระรามที่ 9 หน้าอาคารฟอร์จูนทาวน์

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ซอยรัชดาภิเษก 3 อาคารฟอร์จูนทาวน์

2

ซอยพระราม 9 สแควร์ เซ็นทรัลพลาซ่าพระราม 9

3

แยกพระราม 9

สถานีเพชรบุรี (BL21)

อยู่ตามแนวถนนอโศก กลางสี่แยกอโศก – เพชรบุรี

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ถนนอโศก-ดินแดง ทางเชื่อมสะพานเดินลอยฟ้ารถไฟฟ้าใต้ดิน - รถไฟฟ้าแอร์พอร์ตลิงค์ สถานีมักกะสัน

2

ท่าเรืออโศก คลองแสนแสบ

3

ถนนอโศก-ดินแดง ถนนกำแพงเพชร 7

สถานีสุขุมวิท (BL22)

อยู่ตามแนวถนนอโศก – สุขุมวิท หน้าตลาดอโศก

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ถนนอโศกมนตรี สยามสมาคม

2

ถนนอโศก

3

ถนนสุขุมวิท

สถานีศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ (BL23)

ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ซอยไผ่สิงห์โต แยกพระราม4

2

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

3

ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์

4

ซอยไผ่สิงห์โต

สถานีคลองเตย (BL24)

อยู่ตามแนวถนนพระรามที่ 4 บริเวณสำนักงานการไฟฟ้านครหลวงคลองเตย

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

การไฟฟ้านครหลวงเขตคลองเตย

2

โรงงานยาสูบ ซอยโรงงานยาสูบ

สถานีลุมพินี (BL25)

อยู่ตามแนวถนนพระรามที่ 4 บริเวณสี่แยกพระรามที่ 4 วิทยุ/สาทร ตรงข้ามโรงเรียนเตรียมทหาร (เดิม) บริเวณสะพานลอยไทย – เบลเยี่ยม

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ถนนพระราม 4

2

ถนนสาทรใต้

3

ถนนวิทยุ สวนลุมไนท์บาซาร์

สถานีสีลม (BL26)

อยู่ตามแนวถนนพระรามที่ 4 ปากทางแยกถนนสีลม ใต้สะพานลอยไทย – ญี่ปุ่น หน้าโรงแรมดุสิตธานี

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

สวนลุมพินี โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

2

ถนนสีลม สถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส ศาลาแดง

สถานีสามย่าน (BL27)

อยู่ตามแนวถนนพระรามที่ 4 บริเวณทางแยกถนนพญาไท และถนนสี่พระยากับถนนพระรามที่ 4 หน้าวัดหัวลำโพง

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

วัดหัวลำโพง ถนนสี่พระยา

2

ถนนพญาไท จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตลาดสามย่าน

สถานีหัวลำโพง (BL28)

อยู่ที่หัวถนนพระรามที่ 4 บริเวณจุดตัดหัวถนนรองเมืองและถนนมหาพฤฒาราม หน้าสถานีรถไฟหัวลำโพง

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ถนนมหาพฤฒาราม วัดไตรมิตร

2

สถานีรถไฟกรุงเทพ(หัวลำโพง)

3

ถนนรองเมือง

4

แยกมหานคร

สถานีวัดมังกร (BL29)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ถนนเจริญกรุง

2

วัดกันมาตุยาราม

3

วัดมังกรกมลาวาส

สถานีสามยอด (BL30)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ถนนมหาไชย , เมก้า พลาซ่า

2

ถนนเจริญกรุง

3

ดิโอลด์สยาม พลาซ่า

สถานีสนามไชย (BL31)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

มิวเซียม สยาม

2

โรงเรียนวัดราชบพิธ

3

โรงเรียนวัดราชบพิธ

4

ปากคลองตลาด

5

สถานีตำรวจนครบาล พระราชวัง , โรงเรียนราชินี

สถานีอิสรภาพ (BL32)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ซอยอิสรภาพ 34

2

วัดราชสิทธาราม , ซอยอิสรภาพ 23

สถานีบางไผ่ (BL33)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

โรงเรียนวัดนวลนรดิศ

2

โรงพยาบาลพญาไท 3

3

โรงพยาบาลบางไผ่ , ซอยเพชรเกษม 22

4

โรงเรียนเผดิมศึกษา

สถานีบางหว้า (BL34)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ซอยเพชรเกษม 36, มหาวิทยาลัยสยาม , วัดประดู่บางจาก

2

ซอยเพชรเกษม 25/3

3

บีทีเอส บางหว้า

4

บีทีเอส บางหว้า

สถานีเพชรเกษม 48 (BL35)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ซอยเพชรเกษม 46/3, โรงเรียนวัดจันทร์ประดิษฐาราม, วัดจันทร์ประดิษฐาราม

2

ซอยเพชรเกษม 46/1, ขุนด่านศาลเจ้าพ่อเสือ

3

ซอยเพชรเกษม 29/1

4

ซอยเพชรเกษม 31/3, วัดรางบัว

สถานีภาษีเจริญ (BL36)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ซอยเพชรเกษม 33/8, สถานีกาชาดที่ 11 วิเศษนิยม

2

ซอยเพชรเกษม 35, ท่าเรือเพชรเกษม 35, โรงพยาบาลเพชรเกษม 2

3

ซอยเพชรเกษม 56

4

ซอยเพชรเกษม 54, สำนักงานเขตภาษีเจริญ, สถานีตำรวจภาษีเจริญ

สถานีบางแค (BL37)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

โรงเรียนราชวินิตประถม บางแค, ซอยเพชรเกษม 62/4

2

ซอยเพชรเกษม 62/3

3

ตลาดบางแค

4

แยกบางแค, วัดนิมมานนรดี, โรงเรียนวัดนิมมานรดี, โรงเรียนเตรียมสาธิตศึกษา, สถานีดับเพลิงและกู้ภัยบางแค

สถานีหลักสอง (BL38)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

อาคารจอดแล้วจร 1, ซอยเพชรเกษม 80

2

อาคารจอดแล้วจร 2, ซอยเพชรเกษม 47/1

3

ซอยเพชรเกษม 47/2, โรงพยาบาลเกษมราษฏร์ บางแค, ศูนย์บริการสาธารณสุข 40 บางแค

4

ซอยเพชรเกษม 84

จุดบริการ

อาคารจอดรถ ลาดพร้าว

ศูนย์วัดสายตา ประกอบแว่น

บริษัท ดิ ออฟโต จำกัด เช่าพื้นที่ห้องโถงของอาคารจอดรถ 9 ชั้น สถานีลาดพร้าว ประกอบกิจการเป็นศูนย์วัดสายตา ประกอบแว่น

ศูนย์บริการการประชุม และสัมมนากรุงเทพฯ

บริษัท โปรเจคเตอร์ เวิลด์ จำกัด เช่าอาคารอเนกประสงค์ 2 ชั้น เพื่อประกอบกิจการเป็นศูนย์บริการการประชุม และสัมมนากรุงเทพฯ รวมทั้งการให้บริการด้านอื่น ๆ เสริม เช่น ร้านสะดวกซื้อ ร้านอาหารและเครื่องดื่ม

ศูนย์กายภาพบำบัดเฉพาะทางข้อต่อ กระดูก กล้ามเนื้อ และระบบประสาท

คณะบุคคลโปรเฟสชันแนล ฟิสิโอเทอราพี ทีม เช่าพื้นที่บริเวณอาคารอเนกประสงค์ชั้นเดียวสถานีรัชดาภิเษก เพื่อจัดตั้งศูนย์กายภาพบำบัดเฉพาะทางข้อต่อ กระดูก กล้ามเนื้อ และระบบประสาท

สถานรับเลี้ยงเด็กเอกชน
นายยอดพล วิชญกุล เช่าพื้นที่ชั้นลอยของอาคารจอดรถ 3 ชั้น สถานีรถไฟฟ้าศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เพื่อประกอบกิจการรับเลี้ยงเด็ก

จุดเชื่อมต่อรถไฟฟ้าฯ

ร้านค้า / บริการ บริเวณสถานีและอาคารจอดรถ

รฟม. ได้ร่วมมือกับองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.)

         รฟม. ได้ร่วมมือกับองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) โดยอนุญาตให้ ขสมก. ใช้พื้นที่บริเวณอาคารและลานจอดรถเป็นท่าปล่อยรถโดยสารประจำทาง เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการในการเชื่อมต่อการเดินทางระหว่างรถไฟฟ้ากับรถโดยสารประจำทาง โดย ขสมก. ได้เริ่มเข้าใช้พื้นที่ตั้งแต่เริ่มเปิดให้บริการรถไฟฟ้า (3 กรกฎาคม 2547) จนถึงปัจจุบัน ดังนี้

  1. อาคารจอดรถสถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เป็นท่าปล่อยรถโดยสารประจำทาง สาย 137 (วนซ้าย)
  2. ลานจอดรถสถานีสามย่าน เป็นท่าปล่อยรถโดยสารประจำทางสาย 45

         นอกจากนี้ รฟม. ยังได้ร่วมมือกับ ขสมก. ปรับปรุงเส้นทางเดินรถโดยสารประจำทาง เพื่อให้เป็นรถ Feeder เชื่อมต่อกับสถานีบางซื่อ จำนวน 3 เส้นทาง ได้แก่ สาย 65, สาย 70 และสาย 97 โดยได้เปิดให้บริการตั้งแต่วันที่ 12 กันยายน 2549 และ ขสมก. ได้จัดให้มีบริการเดินรถโดยสารประจำทาง สาย 196 วงกลมอู่บางเขน - เสนานิคม 1 - สถานีลาดพร้าว ตั้งแต่วันที่ 16 สิงหาคม

รฟม. ได้อนุญาตให้หน่วยงานภาคเอกชนใช้พื้นที่บริเวณลานจอดรถของ รฟม.
         รฟม. ได้อนุญาตให้หน่วยงานภาคเอกชนใช้พื้นที่บริเวณลานจอดรถของ รฟม. เป็นที่จอดรถตู้รับ-ส่งผู้โดยสาร เพื่ออำนวยความสะดวกในการเดินทางเป็นหมู่คณะเชื่อมต่อระหว่างสถานีรถไฟฟ้ากับอาคารสำนักงานและอาคารที่พักอาศัยต่างๆ ดังนี้

  1. สถานีห้วยขวาง จำนวน 2 ราย ได้แก่ นิติบุคคลอาคารชุดลุมพินีวิลล์ ศูนย์วัฒนธรรม และนิติบุคคลอาคารชุด ยู ดีไลท์ แอท ห้วยขวาง
  2. สถานีเพชรบุรี จำนวน 7 ราย ได้แก่ บริษัท กรุงไทย-แอกซ่า ประกันชีวิต จำกัด, บริษัท ทางด่วนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน), บริษัท บางกอกออฟฟิศ 3 จำกัด, บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด (มหาชน), โรงพยาบาลพระราม 9, โรงแรมอมารี เอเทรียม กรุงเทพ และศูนย์การแพทย์โรงพยาบาลกรุงเทพ


การเชื่อมต่อระหว่างสถานีรถไฟฟ้า ทางเดินคนโดยสาร หรือทางเข้าออก สถานีรถไฟฟ้ากับอสังหา ริมทรัพย์ของผู้อื่น

สถานีพหลโยธิน
          รฟม. ได้ดำเนินการก่อสร้างสะพานลอยคนเดินข้ามถนนพหลโยธิน (หน้าห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล สาขาลาดพร้าว) และทางเดินลอยฟ้าเชื่อมต่อทางเข้า-ออกสถานีพหลโยธิน (บริเวณสวนสมเด็จย่า 84) ไปยังป้ายหยุดรถโดยสารประจำทางด้านหน้าห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลฯ ทดแทนสะพานลอยเดิม โดยได้เปิดให้บริการตั้งแต่เดือนมีนาคม 2547 เป็นต้นมา รวมทั้ง ได้อนุญาตให้บริษัท แอล แอล ซี กรุงเทพ จำกัด เชื่อมต่อทางเดินระหว่างสะพานลอยคนเดินข้ามถนนพหลโยธินดังกล่าวกับอาคารห้างสรรพสินค้ายูเนี่ยน มอลล์ ตั้งแต่วันที่ 29 มิถุนายน 2550


สถานีพระราม 9
          รฟม. ได้อนุญาตให้บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา ไนน์ สแควร์ จำกัด เชื่อมต่ออาคารศูนย์การค้าเซ็นทรัล พลาซา สาขาพระราม 9 กับทางขึ้น-ลงที่ 2 สถานีพระราม 9 ของ รฟม. บริเวณชั้น B1 (ชั้นใต้ดินชั้นที่ 1) โดยได้เปิดให้บริการตั้งแต่วันที่ 14 ธันวาคม 2554


สถานีเพชรบุรี
          รฟม. ได้อนุญาตให้ รฟท. ใช้พื้นที่บริเวณสถานีเพชรบุรีของ รฟม. เพื่อก่อสร้างทางเดินยกระดับแบบลอยฟ้า (Sky Walk) เชื่อมต่อระหว่าง ทางขึ้น-ลงที่ 1 สถานีเพชรบุรีของ รฟม. กับสถานีมักกะสัน(Airport Rail Link) ของ รฟท. เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการทั้ง 2 ระบบ โดยได้เปิดให้บริการตั้งแต่วันที่ 10 สิงหาคม 2556

สถานีสุขุมวิท
รฟม. ได้ดำเนินการก่อสร้างอาคารเพื่อเชื่อมต่อระบบขนส่งมวลชนระหว่างทางขึ้น-ลงที่ 3 สถานีสุขุมวิทของ รฟม. กับสถานีอโศกของ BTS เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนบริเวณถนนอโศกมนตรีกับถนนสุขุมวิทให้สามารถมาใช้บริการระบบรถไฟฟ้าทั้ง 2 โครงการได้อย่างสะดวกและปลอดภัย โดยได้เปิดให้บริการตั้งแต่วันที่ 28 ตุลาคม 2547
รฟม. ได้อนุญาตให้บริษัท บี แอนด์ จี พาร์ค จำกัด เชื่อมต่อทางเดินอาคาร Interchange ของบริษัทกับทางขึ้น-ลงที่ 2 สถานีรถไฟฟ้าสุขุมวิท ในระดับพื้นดิน (G Level) โดยอนุญาตให้เชื่อมต่อฯ ตั้งแต่วันที่ 25 กันยายน 2552

สถานีสีลม
        รฟม. ได้ดำเนินการก่อสร้างสะพานลอยคนเดินข้ามถนนสีลม เพื่อทดแทนทางม้าลายเดิมบนพื้นถนน ของ กทม. และก่อสร้างทางเดินลอยฟ้าเชื่อมต่อระบบขนส่งมวลชน ระหว่างทางขึ้น-ลงที่ 2 สถานีสีลมของ รฟม. กับสถานีศาลาแดงของ BTS รวมทั้งอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนบริเวณถนนสีลม ให้สามารถมาใช้บริการระบบรถไฟฟ้าได้อย่างปลอดภัยด้วย โดยได้เปิดให้บริการตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2548
สถานีสามย่าน
       รฟม. ได้อนุญาตให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เชื่อมต่อระหว่างทางขึ้น-ลงที่ 2 สถานีรถไฟฟ้าสามย่าน บริเวณชั้น B1 (ชั้นใต้ดินชั้นที่ 1) กับอาคารจัตุรัสจามจุรี โดยได้เปิดให้บริการตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม 2551

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง