ข้าราชการ บรรจุใหม่ ลาออก pantip

ขึ้นชื่อว่า “ข้าราชการ” ย่อมเป็นสายงานที่มีความมั่นคงสูง เพราะตำแหน่งงานถูกพ่วงมาด้วยสวัสดิการเอื้อประโยชน์ทั้งบุคลากรข้าราชการและครอบครัว ทั้งนี้รวมไปถึงสินเชื่อในการกู้บ้าน ที่มักได้ภาษีดีกว่าบุคคลทั่วไป แต่ก็ยังมีกลุ่มข้าราชการบรรจุใหม่ ยังคงวิตกกังวลและตั้งคำถามเกี่ยวกับการกู้เงินซื้อบ้านมากมาย รวมทั้งวงเงินกู้ที่จะได้ หรือแม้แต่การอนุมัติสินเชื่อด้วย ต่อไปนี้ความสงสัยเหล่านี้จะหมดไป เมื่อรู้รายละเอียดของการปล่อยสินเชื่อสวัสดิการข้าราชการดังต่อไปนี้

คุณสมบัติของข้าราชการ

  1. เป็นข้าราชการบรรจุแล้ว หรือพนักงานข้าราชการที่ยังไม่บรรจุ (ลูกจ้างชั่วคราว) และพนักงานรัฐวิสาหกิจ
  2. มีอายุการทำงานครบ 3 ปี กรณีเป็นข้าราชการบรรจุใหม่ หากทำงานไม่ครบ 3 ปี ต้องหาคนที่ทำงานมาครบ 1 ปี 2 คนมาเป็นผู้ค้ำ*
  3. ผู้กู้ต้องมีอายุ 20 ปีขึ้นไป หรือถ้ารวมอายุผู้กู้กับระยะเวลากู้ ต้องไม่เกิน 65 ปี*

วงเงินให้ข้าราชการกู้เงินซื้อบ้าน

สำหรับวงเงินสินเชื่อสวัสดิการข้าราชการนั้น จะขึ้นอยู่กับแต่ละสถาบันการเงินกำหนด รวมถึงมาตราการ LTV ที่ให้สิทธิในการกู้บ้านหลังที่ 2 และ 3 ได้ในวงเงิน 70-90% ของมูลค่าบ้านที่ต้องการกู้ โดยจะขึ้นอยู่กับแต่ละวัตถุประสงค์ในการกู้ และหากใช้หลักฐานค้ำประกัน ส่วนใหญ่จะมีเงื่อนไขในการให้วงเงินกู้* ดังนี้

ระยะเวลาให้ข้าราชการกู้เงินซื้อบ้าน

โดยปกติสถาบันการเงินจะกำหนดให้มีระยะเวลาให้กู้สูงสุดไม่เกิน 30 ปี หรือไม่เกินอายุสัญญา และเมื่อรวมกับอายุผู้กู้แล้วต้องไม่เกิน 65 ปี หรือจนเกษียนอายุข้าราชการ

รวมสวัสดิการกู้ซื้อบ้าน สำหรับกลุ่มข้าราชการ รัฐวิสาหกิจ และพนักงานภาครัฐ

การประมาณวงเงินกู้ซื้อบ้านสำหรับข้าราชการบรรจุใหม่

ตัวอย่าง: ข้าราชการบรรจุใหม่ นาย A มีรายได้ประจำจากเงินเดือน 20,000 บาท รายได้พิเศษจากการทำอาชีพเสริมต่อเดือน 8,000 บาท มีภาระหนี้บัตรเครดิตต้องจ่ายเดือนละ 5,000 บาท ค่าผ่อนรถยนต์ 7,500 บาท ทั้งนี้ข้าราชการ A ต้องมียอดรวมผ่อนต่อเดือนไม่เกิน 70% ตามที่สถาบันการเงินกำหนด ถึงจะสามารถขออนุมัติการกู้สินเชื่อบ้านสวัสดิการข้าราชการผ่าน ซึ่งมีหลักการคำนวณดังต่อไปนี้

บุคคลค้ำประกันหลักทรัพย์ค้ำประกันหน่วยงานราชการทั่วไป
กู้ได้ไม่เกิน 30 เท่าของเงินเดือนสูงสุดไม่เกินรายละ 5,000,000 บาทหน่วยงานราชการที่ร่วมกับธนาคาร
กู้ได้ไม่เกิน 40 เท่าของเงินเดือน
หรือสูงสุดไม่เกิน 3,000,000 บาท

อยากรู้ว่ารายได้เท่านี้กู้เงินซื้อบ้านได้เท่าไหร่ สามารถเข้าไปดูได้ที่เครื่องคำนวณเงินกู้

จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นว่าข้าราชการที่มีความประสงค์ต้องการกู้เงินซื้อบ้าน แม้ว่าจะเป็นข้าราชการบรรจุใหม่หรือได้รับการบรรจุเรียบร้อยแล้ว จะถูกวัดผลวงเงินกู้สินเชื่อบ้านจากความสามารถในการชำระหนี้เป็นสำคัญ รวมถึงผู้ค้ำประกันและสินทรัพย์ในการค้ำประกัน เพื่อคัดกรองการอนุมัติกู้เงินซื้อบ้านสำหรับข้าราชการเป็นอันดับแรก

ผู้ซึ่งรับบำนาญแสดงเจตนา หรือทายาทตามกฎหมาย (คู่สมรส บุตร บิดามารดา ตามลำดับ) ได้รับเงินบำนาญ รวมกับ เงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบี้ยหวัดบำนาญ(ถ้ามี)

ค่าเล่าเรียนบุตร

ไม่มีสิทธิ

เบิกค่าเล่าเรียนบุตรได้ถึงอายุ 25 ปี บริบูรณ์ ศึกษาไม่ต่ำกว่าอนุปริญญา

บำเหน็จตกทอด

ไม่มีสิทธิ

ทายาทตามกฎหมายหรือบุคคลซึ่ง
ผู้รับบำนาญแสดงเจตนาได้รับเงิน 30 เท่า ของบำนาญเมื่อผู้รับบำนาญถึงแก่กรรม

การได้รับพระราชทานเพลิงศพ

มีสิทธิ

มีสิทธ ิ(เจ้าภาพหรือทายาทยื่นเรื่องขอพระราชทานเพลิงศพมายังกรม)

ำคุกการคืนบำเหน็จบำนาญเมื่อกลับเข้ารับราชการใหม่

ฃบำนาญข้าราชการผู้ใดได้รับบำเหน็จหรือบำนาญไปแล้วต่อมากลับเข้ารับราชการใหม่ประสงค์จะขอนับเวลาราชการต่อเนื่องจะต้องคืนบำเน็จบำนาญ ดังนี้
1. กรณีรับบำเหน็จ ต้องคืนเงินบำเหน็จที่ได้รับพร้อมดอกเบี้ยตามอัตราเงินฝากประจำของธนาคารออมสิน ภายใน 90 วัน นับแต่วันที่กลับเข้ารับราชการ (หลักเกณฑ์และวิธีการนับระยะเวลาการคืนบำเหน็จ / หลักเกณฑ์และวิธีการนับระยะเวลาการคืนบำเหน็จ กรณีเกิน 90 วัน)

2. กรณีรับบำนาญปกติ ต้องงดรับบำนาญ และกรณีเป็นสมาชิก กบข.ต้องคืนเงินประเดิม เงินชดเชยและผลประโยชน์ตอบแทนของเงินดังกล่าวภายใน 180 วัน นับแต่วันที่กลับเข้ารับราชการใหม่ ()
ฃบำนาญ- ถ้าประสงค์จะรับบำนาญต่อ ให้มีหนังสือแจ้งความประสงค์ต่อส่วนราชการ ภายใน 30 วัน และจะไม่นับเวลาต่อเนื่อง
บำน า ญ- หากไม่คืนเงินประเดิม เงินชดเชยและผลประโยชน์ ให้ถือว่าประสงค์จะรับบำนาญต่อ

3. กลับเข้ารับราชการใหม่้ต้่้องยื่นแบบแจ้งข้อมูลการกลับเข้ารับราชการใหม่ (กบข. จก 001/2551) ภายใน 30 วันนับแต่วันที่กลับเข้ารับราชการใหม่ (หลักเกณฑ์และวิธีการคืนเงินเข้ากองทุน กบข.ของข้าราชการที่กลับเข้ารับราชการใหม่ พ.ศ. 2551) ง

ฃบำนาญป- บำเหน็จบำนาญพิเศษ ข้าราชการผู้ใดประสพเหตุ ม. 37 -38 ให้จ่ายบำเหน็จบำนาญพิเศษให้ (สิทธิเฉพาะตัวโอนไม่ได้)
บำนาญพิเศษ หมายถึง เงินที่จ่ายให้แก่ข้าราชการ พลทหารกองประจำการ หรือ บุคคลที่ทำหน้าที่ทหารตามที่กระทรวงกลาโหมกำหนด ซึ่งได้รับอันตรายจนพิการหรือป่วยเจ็บถึงทุพพลภาพจนไม่สามารถรับราชการต่อไปได้ หรือจ่ายให้แก่ทายาทของบุคคลดังกล่าวกรณีถึงแก่ความตายเพราะเหตุปฏิบัติราชการในหน้าที่ จ่ายให้เป็นรายเดือน
ฃบำนาญปฃบำนาญปมาตรา 37 ข้าราชการ พลทหารกองประจำการ หรือบุคคลที่ทำหน้าที่ตามที่กระทรวงกลาโหมกำหนด ผู้ใดได้รับอันตรายจนพิการ เสียแขนหรือขา หูหนวกทั้ง 2 ข้าง ตาบอด หรือได้รับการป่วยเจ็บซึ่งแพทย์ที่ทางราชการรับรองได้ตรวจแล้ว และแสดงว่าถึงทุพพลภาพไม่สามารถจะรับราชการต่อไปได้อีกเลย ทั้งนี้ เพราะเหตุปฏิบัติราชการในหน้าที่หรือถูกประทุษร้ายเพราะเหตุกระทำการตามหน้าที่ ให้ผู้นั้นได้รับบำนาญปกติกับทั้งได้รับบำนาญพิเศษด้วย เว้นแต่การได้รับอันตราย ได้รับการป่วยเจ็บ หรือการถูกประทุษร้ายนั้นเกิดขึ้นจากความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง หรือจากความผิดของตนเอง
ฃบำนาญปฃบำนาญปมาตรา 38 ข้าราชการผู้ใดได้รับบำเหน็จหรือบำนาญไปแล้วตามพระราชบัญญัตินี้ พลทหารกองประจำการ หรือบุคคลที่ทำหน้าที่ตามที่กระทรวงกลาโหมกำหนด ผู้ใดซึ่งออกจากราชการหรือหรือพ้นจากหน้าที่ทหารไปแล้ว ถ้าภายในกำหนดเวลา 3 ปี นับแต่วันออกจากราชการ หรือพ้นจากหน้าที่ทหารปรากฏหลักฐานชัดเจนว่า ผู้นั้นเกิดป่วยเจ็บทุพพลภาพอันเป็นผลมาจากการปฏิบัติหน้าที่ราชการระหว่างที่ผู้นั้นรับราชการหรือทำหน้าที่ทหารอยู่ ก็ให้จ่ายบำนาญตามมาตรา 37 ถ้าถึงตายก็ให้จ่ายบำนาญตามมาตรา 41 ทั้งนี้ ให้จ่ายนับแต่วันขอและในกรณีที่ได้รับบำเหน็จไปแล้ว ก็ให้จ่ายแต่เฉพาะบำนาญพิเศษอย่างเดียว

ฃบำนาญบำนาญพิเศษแบ่งเป็น ๒ กรณี
               - กรณีทุพพลภาพเพราะเหตุปฏิบัติราชการในหน้าที่ ( ผู้ทุพพลภาพเป็นผู้ได้รับบำนาญพิเศษ)
               - กรณีถึงแก่ความตาย เพราะเหตุปฏิบัติราชการในหน้าท ี่(ทายาทได้รับบำนาญพิเศษ)

ฃบำนาญการคำนวณบำนาญพิเศษ
กรณีทุพพลภาพ (ได้รับทั้งบำนาญปกติและบำนาญพิเศษ)
                    - ยามปกติ ได้รับบำนาญพิเศษอัตราตั้งแต่ห้าจนถึงยี่สิบในห้าสิบส่วนของเงินเดือนเดือนสุดท้าย
                    - ผู้มีี่ทำหน้าที่ต้องไปราชการหรือปฏิบัติราชการโดยอากาศยานในอากาศ หรือต้องไปราชการหรือปฏิบัติราชการโดยเรือดำน้ำ หรือมีหน้าที่ต้องทำการดำน้ำ หรือมีหน้าที่กวาดทุ่นระเบิด หรือมีหน้าที่ขุด ทำลาย ทำ ประกอบวัตถุระเบิด หรือมีหน้าที่เกี่ยวกับไอพิษ ถ้า ได้รับบำนาญพิเศษเป็นจำนวนกึ่งเงินเดือนเดือนสุดท้าย
ิ                    - เวลาทำหน้าที่ตามที่กระทรวงกลาโหมกำหนดในระหว่างเวลาที่มีการรบ การสงคราม หรือการปราบปรามการจลาจล หรือในระหว่างเวลาที่มีพระบรมราชโองการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ถ้าได้รับอันตรายด้วยหน้าที่ที่กระทำนั้น ได้รับบำนาญพิเศษอัตราตั้งแต่สามสิบจนถึงสามสิบห้าในห้าสิบส่วนของเงินเดือนเดือนสุดท้าย
**** ผู้ได้รับอันตรายถึงทุพพลภาพดังกล่าว แม้จะยังไมมีสิทธิได้รับบำนาญปกติก็ให้ได้รับบำนาญปกติ บวกกับบำนาญพิเศษด้วย
กรณีถึงแก่ความตาย
                     - ยามปกติ ทายาทได้รับบำนาญพิเศษเป็นจำนวนกึ่งเงินเดือนเดือนสุดท้ายของผู้ตาย
                     - ผู้มีหน้าที่ต้องไปราชการหรือปฏิบัติราชการโดยอากาศยานในอากาศ หรือมีหน้าที่ต้องทำการโดดร่ม หรือต้องไปราชการหรือปฏิบัติราชการโดยเรือดำน้ำ หรือมีหน้าที่ต้องทำการดำน้ำ หรือมีหน้าที่กวาดทุ่นระเบิด หรือมีหน้าที่ขุด ทำลาย ทำ ประกอบวัตถุระเบิด หรือมีหน้าที่เกี่ยวกับไอพิษ หรือเวลาทำหน้าที่ตามที่กระทรวงกลาโหมกำหนด ในระหว่างเวลาที่มีการรบ การสงคราม หรือการปราบปรามการจลาจล หรือในระหว่างเวลาที่มีการประกาศใช้กฎอัยการศึก ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ถ้าได้รับอันตรายด้วยหน้าที่ที่กระทำนั้น ได้รับบำนาญพิเศษอัตราตั้งแต่สี่สิบในห้าสิบส่วนของเงินเดือนเดือนสุดท้าย

ฃบำนาญทายาทผู้มีสิทธิได้รับบำนาญพิเศษ
- บุตร ได้รับ 2 ส่วน ถ้ามีบุตรตั้งแต่ 3 คนขึ้นไปให้ได้รับ 3 ส่วน (ได้รับจนอายุครบ 20 ปีบริบูรณ์ ยกเว้นกำลังศึกษาฯ แต่ไม่เกิน 25 ปีบริบูรณ์)
- สามีหรือภรรยา ได้รับ 1 ส่วน (รับได้ตลอดชีวิต เว้นแต่ทำการสมรสใหม่)
- บิดามารดา หรือบิดา หรือมารดา ที่มีชีวิตอยู่ ได้รับ 1 ส่วน (รับได้ตลอดชีวิต)
**** ผู้ได้รับบำนาญพิเศษรายใด มียอดรวมไม่ถึงเดือนละ 300 บาท ผู้มีสิทธฺจะได้รับจะยื่นคำขอเปลี่ยนเป็นบำเหน็จพิเศษแทนได้เป็นจำนวนเท่ากับ บำนาญพิเศษ 60 เดือนแต่ต้องไม่น้อยกว่า 3,000 บาท

บำนาญป- บำเหน็จดำรงชีพ
- เงินที่จ่ายให้แก่ผู้ั้รับบำนาญเพื่อช่วยเหลือการดำรงชีพโดยจ่ายครั้งเดียว โดยไม่ต้องนำไปรวมคำนวณภาษีเงินได้
- กรณีเป็นผู้ได้รับบำนาญปกติหรือรับบำนาญพิเศษเพราะเหตุทุพพลภาพ มีสิทธิได้รับบำำเหน็จดำรงชีพ ไม่เกิน 15 เท่าของเงินบำนาญรายเดือน (แต่ต้องไม่เกิน 200,000 บาท)
ฃบำนาญฃบำนาญบำนาญปกติ X 15  (ไม่เกิน 200,000 บาท)
- กรณีเป็นผู้ได้รับบำนาญปกติและรับบำนาญพิเศษเพราะเหตุทุพพลภาพ มีสิทธิได้รับบำเหน็จดำรงชีพ ไม่เกิน 15 เท่าของเงินบำนาญรายเดือน (บำนาญ ปกติรวมกัับบำนาญพิเศษ) (แต่ต้องไม่เกิน 200,000 บาท)
ฃบำนาญฃบำนาญบำนาญปกติ + บำนาญพิเศษเหตุทุพพลภาพ X 15  (ไม่เกิน 200,000 บาท)
- เมื่อรับบำเหน็จดำรงชีพไปแล้ว ไม่มีสิทธิบำเหน็จดำรงชีพอีก หากภายหลังกลับเข้ารับราชการใหม่และออกจากราชการครั้งหลังโดยเลือกรับบำนาญ แต่หากเลือกรับบำเหน็จ (มีสิทธินับระยะเวลาตอนก่อนออกจากราชการต่อเนื่องกับการรับราชการตอนหลัง)ให้หักเงินบำเหน็จดำรงชีพออกจากเงินบำเหน็จเสียก่อน
- เมื่อได้แสดงเจตนาขอรับบำเหน็จดำรงชีพไว้แล้ว แต่ได้ตายก่อนรับเงินให้การจ่ายเงินบำเหน็จดำรงชีพเป็นอันระงับ
- กรณีได้มีการรับบำเหน็จดำรงชีพไปแล้ว ผู้รับถึงแก่ความตาย การจ่ายบำเหน็จตกทอด ให้หักเงินบำเหน็จดำรงชีพออกจากบำเหน็จตดทอดเสียก่อน
ฃบำนาญฃบำนาญ- (บำนาญปกติ X 30) - บำเหน็จดำรงชีพ
หรืือ --------------- (บำนาญปกติ + บำนาญพิเศษเหตุทุพพลภาพ X 30) - บำเหน็จดำรงชีพ

*** สามารถขอรับบำเหน็จดำรงชีพพร้อมกับขอรับบำนาญปกติ หรือ จะขอรับภายหลังก็ได้ (ช่วง 1 ต.ค. - 31 ธ.ค.)
*** กรณีไม่ได้ขอรับครั้งแรก จะขอรับรวมกับครั้งที่ 2 ได้ในอัตรา 15 เท่า แต่ไม่เกิน 400,000 บาท โดยไม่ต้องรอช่วง 1 ต.ค. - 31 ธ.ค.
*** กรณีอยู่ระหว่างถูกกล่่าวหาว่ากระทำผิดวินัยหรือคดีอาญาตอนก่อนออกจากราชการ (แม้จะทำสัญญาค้ำประกันแล้วก็ตาม) ไม่สามารถขอรับบำเหน็จดำรงชีพได้

กรณีเป็นสมาชิก กบข. : พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2539 (

ความหมาย

- บำเหน็จ หมายความว่า เงินที่จ่ายให้แก่สมาชิกโดยจ่ายให้ครั้งเดียวเมื่อสมาชิกภาพของสมาชิกสิ้นสุดลง (ออกจากราชการ เว้นแต่การสั่งให้ออกไว้ก่อน หรือออกไปทำงานซึ่งให้นับเวลาระหว่างลาออกเหมือนเต็มเวลาราชการ)
- บำนาญ หมายความว่า เงินที่จ่ายให้แก่สมาชิกเป็็นรายเดือนเมื่อสมาชิกภาพของสมาชิกสิ้นสุดลง

สิทธิการรับบำเหน็จบำนาญและเงิน กบข.
อรับเงินบำเเหน็จบำนาญ
บำนาญป- - ข้าราชการที่เป็นสมาชิกซึ่งถูกไล่ออกจากราชการ หรือถึงแก่ความตาย เนื่องจากประพฤติชั่วอย่างร้ายแรงของตนเอง ไม่มีสิทธิได้รับบำเหน็จบำนาญ เงินประเดิิม เงินชดเชย และผลประโยชน์ตอบแทนเงินดังกล่าว

ข้าราชการลาออกได้ไหม

ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดประสงค์จะลาออกจากราชการ ให้ยื่นหนังสือขอลาออกต่อผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปชั้นหนึ่งโดยยื่นล่วงหน้าก่อนวันขอลาออก ไม่น้อยกว่าสามสิบวัน เพื่อให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ เป็นผู้พิจารณาก่อนวันขอลาออก

ลาออกจากราชการต้องทำยังไง

๑. ผู้ประสงค์ขอลาออกจากราชการ ยื่นหนังสือขอลาออกจากราชการ (ตามแบบที่ ก.ค.ศ.กำาหนด) ต่อผู้บังคับบัญชา โดยให้ยื่นล่วงหน้าก่อนวันลาออก ไม่น้อยกว่า ๓๐ วัน กรณียื่นล่วงหน้าน้อยกว่า ๓๐ วันหากผู้มีอำนาจอนุญาตการลาออกเห็นว่ามีเหตุผล และความจำเป็น จะอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรให้ยื่นหนังสือลาออกจากราชการ

ทำไมถึงลาออกจากราชการครู

นอกเหนือจากเหตุผลข้างต้น เหตุผลที่ทำให้ครูอยากลาออกมีอีกไม่น้อย เช่น เรื่องของการถูกประเมินอย่างไม่ชอบธรรม, เรื่องวัฒนธรรม-อำนาจนิยมในโรงเรียน มีการริดรอนสิทธิเสรีภาพของครู หรือการที่ครูถูกเรียกไปทำงานส่วนตัวให้ผู้มีอิทธิพลก็ถูกกล่าวถึง รวมถึงสภาพจิตใจที่ถูกกดทับแบบไม่มีกลไกช่วยเหลือมาซัพพอร์ตครู เรื่องเหล่านี้ล้วนแต่ ...

เงินเดือนข้าราชการบรรจุใหม่ตกเบิกกี่เดือน

ถ้าพนักงานราชการเริ่มบรรจุใหม่ ต้องรอเงินเดือนตกเบิก 3 เดือนแรกทุกคน

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง