จงบอกข้อควรปฏิบัติในการกรอกแบบฟอร์มมา 5 ข้อ

          บันไดขั้นแรก ๆ ที่จะนำไปสู่การมีงานทำก็คือใบสมัครนี่แหละ ถ้ารู้จักวิธีที่ถูกต้องในการกรอกใบสมัคร รวมทั้งให้ข้อมูลให้เป็นประโยชน์มากที่สุด จะทำให้มีโอกาสมากในการผ่านการคัดเลือกในรอบแรก ได้เข้าไปสู่รอบต่อไปจนกระทั่งได้งานทำ

          มีใบสมัครจำนวนไม่น้อยที่ถูกคัดออก เพราะไม่ผ่านเกณฑ์การพิจารณาถ้าการไม่ผ่านเกณฑ์นี้เป็นเพราะขาดคุณสมบัติเหมาะสม แต่ถ้าถูกคัดออกทั้ง ๆ ที่มีคุณสมบัติเหมะสม แต่การกรอกใบสมัครไม่ได้ให้ รายละเอียดอย่างชัดเจนครบถ้วน หรือเป็นเพราะลายมืออ่านยากจนกระทั่งผู้ที่พิจารณาใบสมัครไม่เข้าใจ หรือแปลความผิด อย่างนี้น่าเสียดายมาก

          เพื่อไม่ให้พลาดการพิจารณาการกรอกใบสมัครจึงต้องให้ความสำคัญ และระมัดระวังในเรื่องต่อไปนี้

ลายมือ

          ถ้าเป็นการสมัครงานทางจดหมายคงหลีกเลี่ยงปัญหานี้ได้เพราะใช้พิมพ์ดีดหรือคอมพิวเตอร์แทนลายมือได้ แต่สำหรับการกรอกใบสมัคร ไม่มีโอกาสเลี่ยงได้ ยกเว้นในบริษัทบางแห่งที่ให้กรอกใบสมัครโดยการป้อน ข้อมูลในคอมพิวเตอร์

          ** ข้อที่ต้องระวังในเรื่องลายมือ คือ

  • ต้องเขียนให้อ่านง่าย บางคนลายมือสวยแต่อ่านยาก เช่น เขียนตัวหนังสือเล่นหาง ดูผิวเผินรู้สึกว่าสวย แต่เมื่อตั้งใจอ่าน บางคำจะอ่านไม่ออก บางคนลายมือไม่สวยแต่อ่านได้ง่าย อย่างนี้ดีกว่าในการกรอกใบสมัคร
  • ตั้งใจเขียน คนที่ตั้งใจเขียนใบสมัครแสดงถึงความจริงจังในการมาสมัครงาน และแสดงว่าเป็นคนปราณีต มีความเป็นระเบียบเรียบร้อยในการทำงาน
  • เวลากรอกใบสมัคร ไม่ต้องรีบจนเกินไป เนื่องจากการรีบเร่งทำให้เขียนผิด ต้องมีการขูดฆ่าขีดลบจึงทำให้ ใบสมัครไม่เรียบร้อย ดูเป็นการไม่ตั้งใจในการสมัครงาน

ความละเอียดรอบคอบ

          การให้ข้อมูลที่ผิดพลาดในใบสมัครทำให้เสียโอกาสที่จะได้ทำงาน จึงต้องระมัดระวังทำความเข้าใจคำสั่งก่อน โดยทั่วไปเมื่อได้แบบฟอร์มมามักจะกรอกข้อมูลไปทันที ตั้งแต่ช่องแรกของหน้าแรก โดยไม่ได้ดูแบบฟอร์มนั้น ให้หมดเสียก่อน ใบสมัครบางแห่ง มีข้อความระบุไว้ในตอนต้นใบสมัครว่า หากใช้ภาษาอังกฤษได้ขอให้เขียน ด้วยภาษาอังกฤษแทน ก็มักพบเสมอว่ามีเขียนด้วยภาษาไทยไปก่อน เมื่ออ่านเจอคำสั่งจึงขีดฆ่าภาษาไทยและ เขียนภาษาอังกฤษแทน ในช่องประวัติการศึกษา หรือประวัติการทำงาน ก็เป็นอีกตอนหนึ่งซึ่งผู้สมัครที่ขาด ความละเอียดในการทำความเข้าใจคำส่งจะทำผิดเสมอ บางบริษัทกำหนดว่าให้เริ่มจากหลังสุดก่อน ถ้าเป็น การศึกษาก็คือเริ่มจากสถานศึกษาล่าสุดก่อน แล้วย้อนขึ้นไปตามลำดับจนกระทั่งถึงแห่งแรก บางบริษัทกำหนดให้เริ่มจากแห่งแรกมาจนถึงปัจจุบันหรือล่าสุดเมื่อกรอกข้อมูลเสร็จแล้วขอให้ตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้ง แม้ว่าจะมีความผิดพลาดในการกรอกใบสมัคร แต่ถ้าตรวจดี ๆ ก็จะพบและแก้ไขได้ก่อนที่จะส่งใบสมัคร พยายามให้ข้อมูลให้มากที่สุด

การสัมภาษณ์

          เป็นโอกาสดีที่จะแสดงความสามารถหรือให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการพิจารณาความเหมาะ สมของผู้สมัครแต่ก่อนที่จะมีการสัมภาษณ์ ใบสมัครจะเป็นด่านแรก หากให้ข้อมูลที่ไม่เพียงพอหรือไม่เสนอ ข้อมูลที่น่าสนใจ ด่านแรกก็คงจะผ่านไปไม่ได้ บางคนไม่ค่อยชอบเขียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่จบในด้าน วิทยาศาสตร์ทั้งหลาย ดังนั้นใสมัครจึงค่อนข้างว่าง ส่วนของช่องการศึกษาที่ให้กรอกข้อมูลว่าจบการศึกษา วุฒิอะไร และจบจากสถาบันไหน มีคนหนึ่งเขียนเพียงว่า ตรี สั้น ๆ เพียงคำเดียวเท่านี้และไม่บอกชื่อสถาบัน ที่จบมาด้วย

          ผู้สมัครบางคน แม้ว่ามีคุณสมบัติบางข้อไม่ตรงตามกำหนดไว้ แต่ด้วยการจัดทำเอกสารประกอบสมัคร อย่างดี มีข้อมูลที่น่าสนใจ และมีความตั้งใจทำอย่างพิถีพิถัน ก็ทำให้ได้รับการพิจารณาเรียกมาสัมภาษณ์ ส่วนบางคนค่อนข้างแน่ใจว่ามีข้อดีจุดเด่นมากกว่าเพื่อน ๆ ร่วมรุ่น แต่กลับไม่ได้รับโอกาสเรียกไปสัมภาษณ์ ทดสอบ สาเหตุอาจจะมาจากข้อผิดพลาดในการกรอกใบสมัครก็เป็นได้

เรื่องอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

Do & Don’t ในการเรียกเงินเดือน

บริษัทเล็ก VS บริษัทใหญ่ เลือกอย่างไรดี

Successfully reported this slideshow.

Your SlideShare is downloading. ×

Teacher at โรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์

More Related Content

  1. 1. บทที่ ๙ การกรอกแบบฟอร์ ม สาระสาคัญ ๑. ความหมายของแบบฟอร์ ม ๒. ความสาคัญของการกรอกแบบฟอร์ม ๓. ประเภทของแบบฟอร์ม ๔. ข้อควรปฏิบติในกรอกแบบฟอร์ม ั ๕. คุณสมบัติของผูกรอกแบบฟอร์ม ้ แนวคิดสาคัญ การกรอกข้อมูลลงในแบบฟอร์ มเป็ นพฤติกรรมการสื่ อสารที่พบอยู่เสมอในชี วิตประจาวัน ผูกรอกต้องอ่านทาความเข้าใจและมีความรอบคอบก่อนการลงลายมือชื่ อในแบบฟอร์ ม เพราะข้อมูลที่ ้ กรอกอาจมีผลผูกพันต่อผูกรอกไม่ทางตรงก็ทางอ้อม ้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม หลังจากศึกษาหน่วยนี้แล้ว ผูเ้ รี ยนสามารถ ๑. บอกความหมายของแบบฟอร์มได้ ๒. บอกความสาคัญข้อควรปฏิบติในกรอกแบบฟอร์มได้ ั ๓. แยกประเภทของแบบฟอร์มได้ ๔. บอกข้อควรปฏิบติในกรอกแบบฟอร์มได้ ั ๕. คุณสมบัติของผูกรอกแบบฟอร์ม ้ คุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่พงประสงค์ ึ ตระหนักถึงความสาคัญของในการกรอกแบบฟอร์มที่ถูกต้องเหมาะสมตามหลักภาษาไทย
  2. 2. คาแนะนาการใช้ บทเรียนบทที่ ๙ บทเรี ยนสื่ อประสม คือ สื่ อที่มีลกษณะกึ่งบทเรี ยนสาเร็ จรู ป ั และในรู ปแบบเว็บไซต์ //www.kruampornsri.com ก่อนเข้าบทเรี ยนบทที่ ๙ ต้องทา แบบทดสอบก่อนเรี ยนก่อนนะจ๊ะ หากไม่อยากทาในบทเรี ยนสื่ อประสมที่เป็ นเอกสารนี้ ก็ไปเข้าอินเทอร์เน็ต แล้วเปิ ดเว็บไซต์ //www.kruampornsri.com ทาแบบทดสอบก่อนเรี ยน บนเว็บก็ได้ใช่ไหมคุณครู พวกเราอ่านคู่มือมากันมาแล้ว โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๒๖๔
  3. 3. แบบทดสอบก่อนเรียนบทที่ ๙ คาชี้แจง ๑. ข้อสอบชุดนี้มี จานวน ๑๐ ข้อ ข้อละ ๑ คะแนน คะแนนรวม ๑๐ คะแนน ๒. ให้เลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียวแล้วเขียนเครื่ องหมาย × ลงในกระดาษคาตอบ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------๑. ข้อใดคือความหมายของแบบฟอร์ม ก. แบบฟอร์ม คือ เอกสารที่มีผลผูกพันทางกฎหมาย ข. แบบฟอร์ ม คือ เอกสารที่จดทาขึ้นระหว่างบุคคลสองฝ่ าย ั ค. แบบฟอร์ ม คือ คาประสมระหว่างคาภาษาไทยกับภาษาอังกฤษ ง. แบบฟอร์ ม คือ เอกสารที่จดทาขึ้นโดยเว้นช่องว่างไว้ให้ผเู ้ กี่ยวข้องกรอกข้อมูล ั ๒. แบบฟอร์ มจัดทาขึ้นเพื่อประโยชน์ในเรื่ องใด ก. ทาให้ได้ขอมูลอย่างรวดเร็ ว ้ ข. ทาให้ได้ขอมูลประเภทเดียวกัน ้ ค. ทาให้ได้ขอมูลมากเท่าที่ตองการ ้ ้ ง. ทาให้ได้ขอมูลตรงตามที่ตองการ ้ ้ ๓. ข้อใดเป็ นสิ่ งที่ควรปฏิบติในการกรอกแบบฟอร์ มเมื่อเขียนผิด ั ก. ต้องลบให้สะอาด ข. ต้องเปลี่ยนแบบฟอร์ มแผ่นใหม่ ค. ต้องขีดฆ่าแล้วลงลายมือชื่ อไว้ตรงที่ขีดฆ่า ง. ต้องลบให้สะอาดแล้วลงลายมือชื่อกากับ ๔. ข้อใด ไม่ ใช่ คุณสมบัติของผูกรอกแบบฟอร์ม ้ ก. มีการศึกษาสู ง ข. มีความซื่อตรง ค. มีความรอบคอบ ง. มีความรับผิดชอบ ๕. การให้ผอื่นกรอกแบบฟอร์ มแทนแล้วไม่อ่านตรวจทาน แสดงว่าผูน้ นขาดคุณสมบัติดานใด ู้ ้ ั ้ ก. ความรู้ ข. ความซื่อตรง ค. ความรอบคอบ ง. ความรับผิดชอบ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๒๖๕
  4. 4. ั ่ ๖. แบบฟอร์ มที่ใช้กนอยูในปั จจุบนมีกี่ประเภท ั ก. ๒ ประเภท ข. ๓ ประเภท ค. ๔ ประเภท ง. ๕ ประเภท ๗. แบบฟอร์มการวิจยเป็ นแบบฟอร์มประเภทใด ั ก. แบบฟอร์มสัญญา ข. แบบฟอร์ มที่ใช้ในหน่วยงาน ค. แบบฟอร์ มที่ใช้ติดต่อกับหน่วยงาน ง. แบบฟอร์ มที่ผอื่นขอความร่ วมมือให้กรอก ู้ ๘. แบบฟอร์ มขอแจ้งความจานงเข้าศึกษาต่อในสถานศึกษา เป็ นแบบฟอร์ มประเภทใด ก. แบบฟอร์มสัญญา ข. แบบฟอร์ มที่ใช้ในหน่วยงาน ค. แบบฟอร์ มที่ใช้ติดต่อกับหน่วยงาน ง. แบบฟอร์ มที่ผอื่นขอความร่ วมมือให้กรอก ู้ ๙. แบบฟอร์มประเภทใดที่ผกรอกต้องรอบครอบให้มากที่สุด ู้ ก. แบบฟอร์ มค้ าประกัน ข. แบบฟอร์ มสมัครเข้าศึกษาต่อ ค. แบบฟอร์ มแจ้งความต้องการขอกูเ้ งิน ง. แบบฟอร์มขออนุญาตพกพาอาวุธ ๑๐. ในการกรอกแบบฟอร์ มถ้าช่องว่างที่เว้นไว้เขียนไม่พอ ควรแก้ปัญหาอย่างไร ก. เขียนลงในกระดาษอื่น ข. เขียนด้วยปากกาต่างสี ไว้นอกช่องว่าง ่ ั ค. เขียนตรงที่วางแล้วโยงให้สัมพันธ์กน ง. เขียนให้เต็มช่องว่างแล้วโยงขึ้นเหนื อข้อความในแบบฟอร์ ม โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๒๖๖
  5. 5. บทที่ ๙ การกรอกแบบฟอร์ ม ๑. ความหมายของแบบฟอร์ ม . วันนี ้ตามครูมาเรี ยนเรื่ องแบบฟอร์ ม พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒ (๒๕๔๖ : ๖๔๑) ให้ความหมายว่า แบบ หมายถึง สิ่ งที่กาหนดให้ถือเป็ นหลักหรื อเป็ นแนวดาเนิน ส่ วนคาว่า ฟอร์ ม เป็ นคาภา อังกฤษ มาจากคาว่า form หมายถึง รู ป รู ปร่ าง แบบฟอร์ ม จึงหมายถึง เอกสารที่จดทาขึ้นโดยเว้นช่องว่างไว้สาหรับให้บุคคลที่เกี่ยวข้อง ั กรอกข้อมูลลงไปในช่องว่างให้สมบูรณ์ เพื่อให้ผจดทาแบบฟอร์ มได้ขอมูลตามที่ตองการ และ ู้ ั ้ ้ สามารถนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๒๖๗
  6. 6. ๒. ความสาคัญของการกรอกแบบฟอร์ ม อยากรู้ จัง.....การกรอกแบบฟอร์ ม สาคัญอย่างไร การกรอกแบบฟอร์ ม ทุ ก ประเภท ผู้ก รองต้อ งมี ค วามซื่ อ ตรง ให้ ข้อ มู ล ที่ เ ป็ นจริ ง มิฉะนั้นจะเกิ ดความเสี ยหายเมื่ อข้อมูลนั้นถูกนาไปใช้งาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งแบบฟอร์ มที่เป็ น หลักฐานหรื อเอกสารที่ มีผลผูก พันทางกฎหมายซึ่ งผูกรอกจะต้องรับผิดชอบ แบบฟอร์ มบาง ้ ประเภทมีผลต่อทรัพย์สินเงินทอง ปางประเภทมีผลต่อสิ ทธิ บางประการ ดังนั้นการกรอกข้อมูลลง ในแบบฟอร์ มต้องทาด้วยความระมัดระวัง รอบคอบ และถูกต้องตามความเป็ นจริ ง นอกจากนั้น แบบฟอร์ มที่ ตองมีการลงลายมื อชื่ อ ให้จาไว้เสมอว่าไม่ควรลงชื่ อในแบบฟอร์ มที่ยงเขียนหรื อ ้ ั พิมพ์ขอมูลไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ หรื อมีขอความที่ยงไม่เข้าใจอย่างชัดเจนโดยเด็ดขาด ้ ้ ั สาคัญมากเลย เพราะชีวตประจาวันของเราทุก ิ วันนี้ ต้องทาการติดต่อกับผูอื่น และต้องมีการ ้ ่ กรอกแบบฟอร์ มอยูบ่อยครั้ง เช่นไปทาบัตร ประชาชนก็ตองกรอกคาร้องขอมีบตรกันก่อน ้ ั โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๒๖๘
  7. 7. ๓. ประเภทของแบบฟอร์ ม ่ แบบฟอร์ มที่ใช้อยูในปั จจุบนมีหลายชนิด แตกต่างกันไปตาม ั วัตถุประสงค์ของงานที่ติดต่อสื่ อสารกัน แบ่งออกเป็ น ๔ ประเภท คือ ๓.๑ แบบฟอร์ มที่ใช้ ติดต่ อกับหน่ วยงาน ทั้งภาครัฐและเอกชน แบบฟอร์ มชนิดนี้ หน่ วยงานเป็ นผูจดเตรี ยมขึ้น เพื่อให้ผูมาติดต่อใช้ได้โดยสะดวก จะได้ไม่เสี ยเวลาในการ ้ั ้ เขียน ทาให้หน่วยงานได้รับข้อมูลครบถ้วนที่จาเป็ นตามต้องการ นอกจากนี้ ยงทาให้จดเก็บ ั ั ไว้ไ ด้เป็ นระเบี ย บเรี ยบร้ อย ค้นหาได้ง่า ย ตัวอย่างเช่ น แบบฟอร์ ม สมัค รงาน แบบฟอร์ ม สมัครเข้าศึกษาต่อ แบบฟอร์ มขอติดตั้งน้ าประปา แบบฟอร์ มเสี ยภาษี ใบสมัครเข้าศึกษาต่อ ใบสมัครงาน ใบคาร้อง ใบรับฝาก-ถอนเงินธนาคาร ใบฝากธนาณัติในประเทศ ใบรับฝาก บริ การไปรษณี ยในประเทศ ฯลฯ ์ ตัวอย่างแบบฟอร์ มที่ใช้ ติดต่ อสื่ อสารกับหน่ วยงาน โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๒๖๙
  8. 8. คาขอมีบัตรประจาตัว หรื อขอบัตรประจาตัวใหม่ เขียนที่ ............................................................. วันที่.............เดือน....................................พ.ศ. ข้าพเจ้า......................................................ชื่อสกุล…………………………………………… เกิดวันที่........เดือน........................พ.ศ. ....................อายุ..........ปี สัญชาติ............................หมู่โลหิ ต ่ ..................มีชื่ออยูในทะเบียนบ้านเลขที่................ตรอก/ซอย......................ถนน.............................. ตาบล/แขวง.......................อาเภอ/เขต............................จังหวัด................................................ รหัสไปรษณี ย.์ .........................................โทรศัพท์..........................................เลขหมายประจาตัว ประชาชนของผูยื่นคาขอ  -     -      -    ้ ่ ที่อยูปัจจุบนที่สามารถติดต่อได้.............................................................................................................. ั ................................................................................................................................................................. เจ้าหน้าที่ของรัฐประเภท............................................รับราชการ/ปฏิบติงาน/เคยสังกัดแผนก/งาน ั ..................................................ฝ่ าย/ส่ วน.........................กอง/สานักงาน.............................................. กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตาแหน่ง............................................................................ ระดับ/ยศ....................มีความประสงค์ขอมีบตรประจาตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐยืนต่อ.................................. ั ่ กรณี  ๑. ขอมีบตรครั้งแรก ั  ๒. ขอมีบตรใหม่เนื่ องจาก  บัตรหมดอายุ  บัตรหายหรื อถูกทาลาย ั หมายเลขบัตรเดิม......................-................................................(ถ้าทราบ)  ๓. ขอเปลี่ยนบัตร เนื่องจาก  เปลี่ยนตาแหน่ง/เลื่อนระดับ/เลื่อนยศ  เปลี่ยนชื่อตัว  เปลี่ยนชื่อสกุล  เปลี่ยนชื่อตัวและชื่อสกุล  ชารุ ด  อื่นๆ......................................................... ได้แนบรู ปถ่ายสองใบมาพร้อมกับคาขอนี้แล้ว และ  หลักฐานอื่นๆ(ถ้ามี) ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อความดังกล่าวข้างต้นเป็ นความจริ งทุกประการ (ลายมือชื่อ).................................................ผูทาคาขอ ้ ( ) หมายเหตุ ให้ขีดฆ่าข้อความที่ไม่ตองการออกแล้วขีดเครื่ องหมาย  ในช่อง  และหรื อ  ้ หน้าข้อความที่ใช้ให้ลงคานาหน้านามตามกฎหมายและระเบียบของทางราชการ เช่น นาย/นาง/ นางสาว /ยศ เป็ นต้น และชื่อผูขอมีบตร ้ ั โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๒๗๐
  9. 9. ประวัตินักเรียน ระดับการศึกษา......... ......ห้ อง.................. ประจาปี การศึกษา ๒๕........ ชื่อ นาย/นางสาว.......................................................นามสกุล.............................................................. ให้ นักเรียนกรอกข้ อความทั้งหมดด้ วยปากกาเท่านั้น ตอนที่ ๑ ประวัติ 1.1 เกิดวันที่................เดือน......................พ.ศ...........อายุ.........ปี เชื้อชาติ............... สัญชาติ............. ศาสนา...................จังหวัดที่เกิด......................................................... 1.2 ภูมิลาเนาเดิม เลขที.............................. ตรอก/ซอย............................. ถนน................................. อาเภอ/เขต......................................จังหวัด.....................................รหัสไปรษณี ย.์ .............................. โทรศัพท์........................................................................................ ่ 1.3 ที่อยูปัจจุบนขณะศึกษา เลขที่...........................ตรอก/ซอย.................................ถนน................. ั อาเภอ/เขต...................................จังหวัด..................................รหัสไปรษณี ย.์ ................................... โทรศัพท์............................................................................ 1.4 สถานภาพของบิดามารดา ่ ้ ( ) อยูดวยกัน ( ) หย่า ( ) แยกกันอยู่ ( ) มารดาถึงแก่กรรม ( ) บิดาถึงแก่กรรม ( ) บิดา – มารดาถึงแก่กรรม ( ) อื่นๆ............................................... 1.5 ผูปกครองขณะศึกษา นาย/นาง/นางสาว........................................................................................... ้ เกี่ยวข้องกับนักศึกษาในฐานะ.................................สถานที่ทางาน......................................................... โทรศัพท์........................................................................... 1.6 ผูอุปการะด้านการเงิน..................................................................................................................... ้ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๒๗๑
  10. 10. ตอนที่ ๒ ประวัติการศึกษา ๒.๑ สาเร็ จการศึกษาระดับประถมศึกษา (ป.๖) จากโรงเรี ยน.................................................จังหวัด ................................คะแนนเฉลี่ยสะสม....................หรื อ.................% ปี การศึกษา................... ๒.๒ สาเร็ จการศึกษาระดับอื่น ๆ.......................................... (สอบเทียบ) จาก......................จังหวัด ................................คะแนนเฉลี่ยสะสม....................หรื อ..................% ปี การศึกษา.................. ตอนที่ ๓ ประวัติบิดา – มารดา ๓.๑ ชื่อ – นามสกุล บิดา.........................................อายุ...................ปี เชื้อชาติ.................................. สัญชาติ.........................สถานที่ทางาน..........................................โทรศัพท์.......................................... ๓.๒ ชื่อ – นามสกุล มารดา..................................................................................อายุ......................ปี เชื้อชาติ........................... สัญชาติ...............................สถานที่ทางาน..............................................โทรศัพท์.............................. ตอนที่ ๔ ระบุชื่อบุคคล ๒ ราย พร้ อมสถานทีติดต่ อในกรณีทจาเป็ นต้ องติดต่ อด่ วน ่ ี่ ๑. ชื่อ – นามสกุล ..................................................... โทรศัพท์................................................ ๒. ชื่อ – นามสกุล...................................................... โทรศัพท์................................................. โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๒๗๒
  11. 11. ๓.๒) แบบฟอร์ มที่ ผ้ ู อื่ น ขอความร่ วมมื อ ให้ ก รอกแบบฟอร์ ม ชนิ ด นี้ ใ ช้ เพื่ อ ต้ องการทราบข้ อมูลทั้งที่เป็ นข้ อเท็จจริ ง และทรรศนะของประชาชนกลุ่มต่ าง ๆ ตัวอย่าง สถานี วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย ง อยากทราบชนิ ด ของรายการที่ ป ระชาชนสนใจ ก็ อ าจสร้ า ง แบบฟอร์ มชนิดหนึ่งขึ้น เรี ยกว่าแบบสอบถาม ส่ งทางไปรษณี ยหรื อให้บุคคลนาไปถึงกลุ่ม ์ ประชากรที่ตองการจะสอบถาม ผูที่ได้รับแบบสอบถามเป็ นผูกรอก หรื อบอกข้อความให้ ้ ้ ้ ผูอื่นกรอกก็ได้ ้ ๓.๓ แบบฟอร์ มที่ใช้ภายในหน่วยงาน เป็ นแบบฟอร์ มที่แตะละหน่วยงานจัดทา ขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลสถิติต่างๆ ของบุคลากรภายในหน่วยงานไว้อย่างเป็ นระบบการให้ขอมูล ้ โดยการกรอกลงในแบบฟอร์ มจะทาให้ได้รายละเอียดตรงกับความต้องการ สะดวกในการ จัดเก็บและนาออกมาใช้งาน เช่น แบบฟอร์ มใบลา แบบฟอร์ มขอเบิกเงิ นค่ารักษาพยาบาล แบบฟอร์มขอใช้โทรศัพท์ แบบฟอร์มขอใช้รถ แบบฟอร์มขอบัตรติดรถยนต์ ตัวอย่างแบบฟอร์ มทีใช้ ภายในหน่ วยงาน ่ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๒๗๓
  12. 12. แบบฟอร์ มขอบัตรติดรถยนต์ สาหรับอาจารย์ ข้ าราชการ พนักงาน ลูกจ้ างประจา ลูกจ้ างชั่วคราว วันที่............. เดือน.................พ.ศ. ....................... ชื่อผูขอรับบัตร...........................................นามสกุล.............................................................. ้ ่ ที่อยูปัจจุบน เลขที่ .................... หมู่ที่ .................... ถนน ..................... ซอย ....................................... ั ตาบล/แขวง ...................... เขต/อาเภอ ........................................... จังหวัด ........................................... รหัสไปรษณี ย ์ ............................................................โทรศัพท์ ............................................................ หน่วยงานต้นสังกัด คณะ/สานัก ............................................. ภาควิชา/กอง ......................................... เลขทะเบียนรถยนต์.......................................ยีหอรถยนต์.............................สี รถ................................... ่ ้ ชื่อเจ้าของรถยนต์.......................................................................เกี่ยวข้องเป็ น........................................ เลขทะเบียนรถยนต์.......................................ยีหอรถยนต์..................................สี รถ.............................. ่ ้ ชื่อเจ้าของรถยนต์..........................................เกี่ยวข้องเป็ น..................................................................... ลายเซ็น .............................................................. ผูขอรับบัตร/รับทราบเงื่อนไขฯ ้ (.............................................................) ลายเซ็น .............................................................. เจ้าหน้าที่ (.............................................................) ลายเซ็น .............................................................. ผูอานวยการโรงเรี ยน ้ (.............................................................) ๓.๔ แบบฟอร์มสัญญา เป็ นแบบฟอร์ มที่มีผลผูกพันทางกฎหมายระหว่างผูทาสัญญา ทั้ง ๒ ้ ฝ่ าย ว่าจะกระทาหรื อละเว้นการกระทาอย่างใดอย่างหนึ่งหรื อหลายอย่างต่อกัน ส่ วนมากจะทาขึ้นไม่ น้องกว่า ๒ ฉบับ ทุกฉบับต้องมีขอความตรงกัน และให้แต่ละฝ่ ายถือไว้เป็ นหลักฐาน หากฝ่ ายหนึ่ง ้ ฝ่ ายใดผิดสัญญา อีกฝ่ ายสามารถฟ้ องศาลเพื่อบังคับให้ผผิดสัญญา ปฏิบติตามสัญญา หรื อจะฟ้ องเรี ยก ู้ ั ค่าเสี ยหายได้ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๒๗๔
  13. 13. ข้อควรปฏิบติในการกรอกแบบฟอร์มสัญญา ั ๑) ควรอ่านแบบฟอร์ มสัญญาให้เข้าใจทั้งฉบับ โดยเฉพาเงื่อนไขข้อผูกมัดต่างๆ หากไม่ เข้าใจต้องปรึ กษาผูรู้หรื อผูชานาญในด้านกฎหมายก่อนกรอกข้อมูลลงไปในแบบฟอร์ ม ้ ้ ๒) กรอกข้อมูลด้วยลายมือที่ชดเจน สะอาดเรี ยบร้อย ั ๓) ปฏิบติตามคาแนะนาหรื อข้อบังคับในแบบฟอร์ มอย่างเคร่ งครัด เช่น เขียนด้วยหมึกดา ั ห้ามขูด ลบ ขีด ฆ่า หากมีการขีดฆ่าต้องลงลายมือชื่อกากับไว้ทุกที่ ๔) ต้องไม่ลงลายมือชื่อในแบบฟอร์ มสัญญาจนกว่าจะกรอกข้อมูลครบถ้วนสมบูรณ์ ๕) กรอกแบบฟอร์ มสัญญาอย่างน้อย ๒ ฉบับ แล้วให้ผทาสัญญาแต่ละฝ่ ายถือไว้เป็ น ู้ หลักฐาน ๖) เก็บแบบฟอร์ มสัญญาไว้จนกว่าจะสิ้ นสุ ดพันธะตามกฎหมาย โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๒๗๕
  14. 14. แบบฟอร์ มสั ญญาทัวไป ่ สั ญญาจะซื้อจะขาย ทาที่..................................................... วันที่....................เดือน.........................พ.ศ. .................... ข้าพเจ้า.............................................................ซึ่ งต่อไปในสัญญานี้ เรี ยกว่า “ผูขาย” ฝ่ ายหนึ่ง กับข้าพเจ้า...........................................................ซึ่ งต่อไปในสัญญานี้ ้ เรี ยกว่า “ผูจะซื้ อ” อีกฝ่ ายหนึ่ง ทั้งสองฝ่ ายได้ตกลงทาสัญญากันดังมีขอความต่อไปนี้ ้ ้ ๑. ผู้จ ะขายยอมตกลง ขายที่ ดิ น โฉนดเลขที่ . .......................ต าบล/แขวง ....................อาเภอ/เขต............................จัง หวัด............................จานวนเนื้ อ ที่ ...............................ตารางวา ในราคาตารางวาละ............... .............บาท (..................................................) รวมเป็ นเงิ นทั้งสิ้ น..........................................บาท (.............................................................................) โดยจะทาการโอนกรรมสิ ทธิ์ ที่ดิน ดังกล่าวให้แก่ผซ้ื อ ณ สานักงานที่ดินจังหวัด..............................ในวันที่...................เดือน ู้ ........................................พ.ศ. ......................... ๒. ในการจะซื้ อจะขายนี้ ผูจะซื้ อได้วางมัดจาให้ผขายไว้แล้ว ้ ู้ ....................................... เป็ นเงินบาท (.................................................) ผูจะขาย ้ ได้รับเงินมัดจาไว้ถูกต้องแล้ว ๓. ถ้าผูจะซื้ อผิดสัญญาไม่ไปทาหนังสื อสัญญาและจดทะเบียน โอนกรรมสิ ทธิ์ ้ ตามกาหนดในข้อหนึ่ง ผูจะซื้ อยอมให้ผจะขายริ บมัดจา แต่ถาผูจะขายผิดสัญญา ผูจะขาย ้ ู้ ้ ้ ้ ยอมให้ผจะซื้ อฟ้ องศาลบังคับให้เป็ นไปตามสัญญานี้ และยอมใช้ค่าเสี ยหายให้แก่ผจะซื้ ออีก ู้ ู้ ..............................บาท (..................................................) อีกส่ วนหนึ่งด้วย สัญญานี้ทาเป็ นสองฉบับ ข้อความตรงกัน ต่างฝ่ ายอ่านแล้วเข้าใจข้อความโดย ตลอด จึงลงลายมือชื่อไว้เป็ นหลักฐาน ลงชื่อ...........................................................ผูจะขาย ้ ลงชื่อ............................................................ผูจะซื้ อ ้ ลงชื่อ.............................................................พยาน ลงชื่อ.............................................................พยาน โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๒๗๖
  15. 15. การกรอกแบบฟอร์ มสัญญาต้องกรอกด้วยความระมัดระวังและ เข้าใจเงื่อนไขข้อผูกมัด ต่าง ๆ ที่ระบุไว้ในสัญญาอย่างละเอี ยด ควรที่จะต้อง ปรึ กษาหารื อกับผูรู้ หรื อผูมีค วามช านาญในด้า นกฎหมายให้ช่ วยอธิ บายให้ ้ ้ เข้าใจก่อนจะกรอกข้อความใด ๆ ลงไป และโดยเฉพาะอย่างยิ่งก่อนลงลายมือ ชื่ อ ไม่ควรประมาทลงลายมือชื่ อลงไปในแบบฟอร์ มที่ยงไม่ได้กรอกเป็ นอัน ั ขาด จะโดยวางใจผูอื่น หรื อโดยกรณี ใด ๆ ก็ตาม ้ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๒๗๗
  16. 16. ๔ ข้ อปฏิบตในการกรอกแบบฟอร์ ม ั ิ ในการกรอกข้อมูลหรื อถ้อยคาต่าง ๆ ลง ในแบบฟอร์ ม ต้องทาอย่างระมัดระวังและรอบคอบมีขอควรปฏิบติดงนี้ ้ ั ั ๔.๑ อ่ านแบบฟอร์ มให้ เข้ ใจก่ อนลงมือกรอกข้ อมูล ถ้าไม่เข้าใจควรสอบถามหรื อ ตรวจสอบให้เข้าใจชัดเจนก่อน แล้วจึงกรอกข้อมูลลงไป ๔.๒ กรอกข้ อมูลตามความเป็ นจริง การกรอกข้อมูลที่เป็ นเท็จอาจมีความผิดทาง กฎหมายหรื อเกิดผลเสี ยต่อผูกรอกในภายหลัง ้ ๔.๓ กรอกข้ อมูลให้ ครบถ้ วน ช่องว่างที่ไม่ได้หรอกข้อมูลเพราะไม่เกี่ยวกับผูกรอก ้ ต้องขีดเส้นให้เต็มช่อง เพื่อป้ องกันไม่ให้ผอื่นเติมข้อมูลในภายหลัง ู้ ๔.๔ เขียนด้ วยลายมือให้ ชัดเจน ถูกต้อง สะอาด เรี ยบร้อย ๔.๕ กรอกข้ อมูลด้ วยตัวเอง ถ้าให้ผอื่นกรอกข้อมูลแทนต้องอ่านข้อความนั้นก่อน ู้ เพื่อให้แน่ใจว่าถูกต้อง ๔.๖ อ่านทบทวน เมื่อกรอกรายละเอียดแล้วควรอ่านทบทวนอีกครั้ง ก่อนลงลายมือ ชื่อและควรลงวันที่กากับไว้ดวย ้ แบบฟอร์มกรอกยากเหมือนกันนะคะ ถ้ารู ้สึกว่ายาก ต้องตั้งใจเรี ยนนะคะ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๒๗๘
  17. 17. ๕. คุณสมบัติของผู้กรอกแบบฟอร์ ม ๑) ความรู้ ค วามเข้ า ใจทั่ ว ๆไปเกี่ ย วกั บ เรื่ อ งที่ จ ะต้ อ งกรอก ผูก รอกต้อ งมี ค วามรู้ ้ เกี่ยวกับตนเอง เช่น วันเดื อนปี เกิด ที่อยู่ ภูมิลาเนาเกิด นามบิดามารดา หรื อนามปู่ ย่าตายาย ชื่ อ และที่อยู่ของบุคคลที่ใกล้ชิดเมื่อจาเป็ นต้องอ้างถึ ง หมู่โลหิ ต โรคภัยไข้เจ็บประจาตัว ประวัติ การแพ้ยา กฎหมายที่เกี่ ยวข้องกับเรื่ องที่จะต้องกรอก เรื่ องราวและเหตุการณ์ อื่นๆที่เกี่ ยวข้อง ความรู ้เหล่านี้จะทาให้การกรอกข้อมูลไม่ผดพลาด และช่วยไม่ให้เสี ยประโยชน์แก่ตนเอง หรื อ ิ เกิดความเสี ยหายแก่การรวบรวมข้อมูล ๒) ความสามารถทางภาษา สามารถอ่านข้อความและตีความข้อความในแบบฟอร์ ม ได้ถูกต้องโดยตลอด เข้าใจความต้องการของแบบฟอร์ มนั้นว่า ต้องการให้กรอกข้อความใดลง ในช่ องใด เช่ น การขออนุ ญาตใช้รถในช่ องวัตถุ ป ระสงค์ ต้องชี้ ใ ห้เห็ นถึ ง ความจะเป็ นว่า ต้องการใช้รถเพื่อการปฏิบติงานอันเป็ นประโยชน์สาหรับองค์ การนั้น กรณี ที่ผูกรอกข้อความ ั ้ ไม่แน่ใจว่าตนเองเข้าใจหรื อตีความในแบบฟอร์ มนั้นได้ถูกต้องหรื อไม่ อย่าเดา ให้ถามผูรู้ ้ ๓) ความซื่อตรง การกรอกแบบฟอร์ มทุกชนิ ด ผูกรอกควรให้ความจริ งเสมอ ไม่ควร ้ กรอกข้อความที่เป็ นเท็จ เพราะจะทาให้เกิดผลเสี ย ๒ ประการ ๓.๑) เสี ยประโยชน์ตน เช่ น เมื่อเกิดของหายขึ้น ควรไปแจ้งความ แม้ตารวจจับ ขโมยได้ ก็จะเกิดปั ญหาในการรับของคืน ที่ร้ายแรงกว่านั้น หากเกิดอุบติเหตุจนไม่สามารถให้ ั ข้อมูลใด ๆ ได้ผอื่นก็ไม่มีทางที่จะติดต่อกับญาติให้ได้ ู้ ๓.๒ ) เสี ยประโยชน์ผูอื่นหรื อประโยชน์ส่วนรวม เช่ น กรอกแบบสอบถามโดย ้ ให้ขอมูลที่ไม่ตรงกับความจริ ง ผลที่ได้จากการวิเคราะห์ขอมูลก็จะคลาดเคลื่ อน หากนาไปใช้ ้ ้ ในการวางแผนก็จะทาให้เกิดการผิดพลาด โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๒๗๙
  18. 18. ๔) ความรั บผิดชอบ แบบฟอร์ มหลายชนิ ดไม่มีผลที่จะก่อให้เกิดพันธะทางกฎหมาย แก่ผูกรอกก็จริ ง แต่ผูกรอกจาเป็ นต้องมีความรับผิดชอบต่อข้อความที่ตนกรอกลงไป ตัวอย่าง ้ ้ ในการกรอกแบบสอบถามของชมรมวิทยาศาสตร์ ถามว่า สมาชิ กประสงค์จะไปทัศนศึกษา ณ ที่ใด และให้คาตอบไปแล้วว่าต้องการไปสถานที่น้ นๆ หากทางชมรมจัดขึ้นตามความประสงค์ ั ก็ไม่ควรปฏิเสธที่จะร่ วมกิจกรรมของชมรม หรื อเมื่อได้รับแบบฟอร์ มมา ก็ไม่ควรละเลยไม่ตอบ ไม่ส่งกลับคืนไปยังผูสอบถาม หรื อทาเป็ นเรื่ องเล่นๆ ลายมือที่กรอกควรให้อ่านง่าย ชัดเจน และ ้ สะอาด ๕) ความรอบคอบ การกรอกแบบฟอร์ มบางอย่าง ต้องประณี ตรอบคอบเป็ นอย่างยิ่ง ้ มิฉะนั้นจะเกิดผลเสี ยหายแก่ตนเองได้ เช่น ในการกรอกสัญญากูยืม สัญญาค้ าประกัน สัญญาซื้ อ ของผ่อนส่ ง ผูก รอกแบบฟอร์ ม ต้องดู จานวนเงิ นให้แ น่ นอนตรงกันทั้ง ตัวเลขและตัวอัก ษร ้ รวมทั้งระยะเวลาในการชาระเงินและเงื่อนไขอื่นๆ ก็ตองดูดวยความรอบคอบ ้ ้ ครู จะสรุ ปให้ฟังนะคะ ในกรณี ที่ผอื่นกรอกแทน เราก็ตองอ่านดูให้ถูกต้องแน่นอนก่อน ู้ ้ ่ หากผิดพลาดแล้วอาจเกิดความยุงยากหรื อเกิดผลเสี ยภายหลังได้ เช่น การแจ้งชื่อ ในใบสู ติบตร ต้องดูตวสะกดการันต์ให้ถูกต้อง ถ้าเจ้าหน้าที่เขียนผิด ต้องทักท้วง ั ั แก้ไขทันที หากปล่อยไปก็เท่ากับยอมรับชื่อที่เขียนผิดนั้น เข้าใจแล้วครับ… ผมจะรอบคอบให้มากขึ้น ในการกรอกแบบฟอร์ม โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๒๘๐
  19. 19. ให้ทากิจกรรมเสนอแนะท้ายบทที่ ๙ ด้วยต่อด้วย แบบฝึ กหัดท้ายบท และแบบทดสอบหลังเรี ยน.. นะคะ กิจกรรมเสนอแนะท้ ายบทที่ ๙ ให้ ผ้ ูเรียนปฏิบัติกจกรรมต่ อไปนี้ ิ ๑. แบ่งกลุ่มและช่วยกันเขียนอธิบายโดยสรุ ปเกี่ยวกับแบบฟอร์ ม ๒. รวบรวมตัวอย่างการกรอกแบบฟอร์มมีขอควรปฏิบติอย่างไรเก็บไว้ศึกษา ้ ั เรามาทาแบบฝึ กหัดท้ายบทกัน ดีกว่า โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๒๘๑
  20. 20. แบบฝึ กหัดบทที่ ๙ จงตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง ๑. แบบฟอร์มหมายถึงอะไร………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ๒. แบบฟอร์มมีกี่ประเภท อะไรบ้าง ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ๓. ผูกรอกแบบฟอร์ มควรมีคุณสมบัติอย่างไร ้ ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ๔. ข้อควรปฏิบติในการกรอกแบบฟอร์มสัญญา มีอะไรบ้าง ั ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๒๘๒
  21. 21. แบบทดสอบหลังเรียนบทที่ ๙ คาชี้แจง ๑. ข้อสอบชุดนี้มี จานวน ๑๐ ข้อ ข้อละ ๑ คะแนน รวมเป็ น ๑๐ คะแนน ๒. ให้เลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียวแล้วเขียนเครื่ องหมาย × ลงในกระดาษคาตอบ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------๑. ข้อใดคือความหมายของแบบฟอร์ม ก. แบบฟอร์ ม คือ คาประสมระหว่างคาภาษาไทยกับภาษาอังกฤษ ข. แบบฟอร์ ม คือ เอกสารที่จดทาขึ้นโดยเว้นช่องว่างไว้ให้ผเู ้ กี่ยวข้องกรอกข้อมูล ั ค. แบบฟอร์ม คือ เอกสารที่มีผลผูกพันทางกฎหมาย ง. แบบฟอร์ ม คือ เอกสารที่จดทาขึ้นระหว่างบุคคลสองฝ่ าย ั ๒. แบบฟอร์ มจัดทาขึ้นเพื่อประโยชน์ในเรื่ องใด ก. ทาให้ได้ขอมูลมากเท่าที่ตองการ ้ ้ ข. ทาให้ได้ขอมูลตรงตามที่ตองการ ้ ้ ค. ทาให้ได้ขอมูลอย่างรวดเร็ ว ้ ง. ทาให้ได้ขอมูลประเภทเดียวกัน ้ ๓. ข้อใดเป็ นสิ่ งที่ควรปฏิบติในการกรอกแบบฟอร์ มเมื่อเขียนผิด ั ก. ต้องขีดฆ่าแล้วลงลายมือชื่อไว้ตรงที่ขีดฆ่า ข. ต้องลบให้สะอาดแล้วลงลายมือชื่อกากับ ค. ต้องลบให้สะอาด ง. ต้องเปลี่ยนแบบฟอร์ มแผ่นใหม่ ๔. ข้อใด ไม่ ใช่ คุณสมบัติของผูกรอกแบบฟอร์ม ้ ก. มีความรอบคอบ ข. มีความรับผิดชอบ ค. มีการศึกษาสู ง ง. มีความซื่อตรง โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๒๘๓
  22. 22. ๕. การให้ผอื่นกรอกแบบฟอร์ มแทนแล้วไม่อ่านตรวจทาน แสดงว่าผูน้ นขาดคุณสมบัติดานใด ู้ ้ ั ้ ก. ความรอบคอบ ข. ความรับผิดชอบ ค. ความรู้ ง. ความซื่อตรง ั ่ ๖. แบบฟอร์ มที่ใช้กนอยูในปั จจุบนมีกี่ประเภท ั ก. ๔ ประเภท ข. ๕ ประเภท ค. ๒ ประเภท ง. ๓ ประเภท ๗. แบบฟอร์ มการวิจยเป็ นแบบฟอร์มประเภทใด ั ก. แบบฟอร์ มที่ใช้ติดต่อกับหน่วยงาน ข. แบบฟอร์ มที่ผอื่นขอความร่ วมมือให้กรอก ู้ ค. แบบฟอร์มสัญญา ง. แบบฟอร์ มที่ใช้ในหน่วยงาน ๘. แบบฟอร์ มขอแจ้งความจานงเข้าศึกษาต่อในสถานศึกษา เป็ นแบบฟอร์ มประเภทใด ก. แบบฟอร์ มที่ใช้ติดต่อกับหน่วยงาน ข. แบบฟอร์ มที่ผอื่นขอความร่ วมมือให้กรอก ู้ ค. แบบฟอร์มสัญญา ง. แบบฟอร์ มที่ใช้ในหน่วยงาน ๙. แบบฟอร์มประเภทใดที่ผกรอกต้องรอบครอบให้มากที่สุด ู้ ก. แบบฟอร์ มแจ้งความต้องการขอกูเ้ งิน ข. แบบฟอร์มขออนุญาตพกพาอาวุธ ค. แบบฟอร์ มค้ าประกัน ง. แบบฟอร์ มสมัครเข้าศึกษาต่อ ๑๐. ในการกรอกแบบฟอร์ มถ้าช่องว่างที่เว้นไว้เขียนไม่พอ ควรแก้ปัญหาอย่างไร ่ ั ก. เขียนตรงที่วางแล้วโยงให้สัมพันธ์กน ข. เขียนให้เต็มช่องว่างแล้วโยงขึ้นเหนื อข้อความในแบบฟอร์ ม ค. เขียนลงในกระดาษอื่น ง. เขียนด้วยปากกาต่างสี ไว้นอกช่องว่าง โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๒๘๔
  23. 23. เฉลยกิจกรรมเสนอแนะท้ ายบทที่ ๙ แบบฟอร์ ม หมายถึ ง เอกสารที่ จดทาขึ้ นโดยเว้นช่ องว่า งไว้ส าหรั บ บุ ค คลที่ เกี่ ย วข้อง ั กรอกข้อมูลลงไปให้สมบูรณ์ เพื่อให้ผจดทาแบบฟอร์ มได้ขอมูลตามที่ตองการและสามารถนา ู้ ั ้ ้ ข้อมู ลที่ ไ ด้ไปใช้ป ระโยชน์ ได้อย่างมี ประสิ ท ธิ ภาพ ดังนั้นผูก รอกข้อมู ลทุ ก ประเภทจึ งต้องให้ ้ ข้อมูลที่เป็ นจริ ง เพื่อไม่ให้เกิดผลเสี ยหายเมื่อต้องนาข้อมูลนั้นไปใช้งาน แบบฟอร์ มมี ๔ ประเภท ได้แก่ แบบฟอร์ มที่ใช้ติดต่อกับหน่วยงานแบบฟอร์ มที่ผอื่นขอความร่ วมมือให้กรอก แบบฟอร์ มที่ ู้ ใช้ภายในหน่วยงาน และแบบฟอร์ มสัญญา การกรอกแบบฟอร์ ม มี ข ้อควรปฏิ บติดัง นี้ อ่ า นแบบฟอร์ ม ให้เข้า ใจก่ อนกรอกข้อมู ล ั กรอกข้อมูลตามความเป็ นจริ งให้ครบถ้วนด้วยตนเอง เขียนด้วยลายมือที่อ่านง่ายชัดเจน และตรวจ ความถู ก ต้องก่ อนลงมื อชื่ อ คุ ณสมบัติข องผูก รอกแบบฟอร์ มที่ ดี คื อ ต้องมี ค วามรู ้ ความเข้า ใจ ้ เกี่ยวกับเรื่ องที่ตองกรอก มีความสามารถทางภาษา มีความซื่ อตรง มีความรับผิดชอบ และความ ้ รอบคอบ สาหรับเฉลยในส่ วนของกิจกรรมเสนอแนะท้ายบทที่ ๙ (หรือคาตอบ ให้ อยู่ในดุลยพินิจของครู ผ้ ูสอน) โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๒๘๕
  24. 24. เฉลยแบบฝึ กหัดบทที่ ๙ ๑. แบบฟอร์มหมายถึงอะไร ตอบ แบบฟอร์ ม หมายถึง เอกสารที่จดทาขึ้น โดยเว้นช่องว่างไว้สาหรับให้บุคคลที่เกี่ยวข้อง ั กรอกข้อมูลลงไปในช่องว่างให้สมบูรณ์ เพื่อให้ผจดทาแบบฟอร์มนาข้อมูลที่ได้ไปใช้ ู้ ั ประโยชน์ในงานต่างๆ ๒. แบบฟอร์มมีกี่ประเภท อะไรบ้าง ตอบ แบบฟอร์มมี ๔ ประเภท ได้แก่ ๑. แบบฟอร์ มที่ใช้ติดต่อกับหน่วยงาน ๒. แบบฟอร์ มที่ผอื่นขอความร่ วมมือให้กรอก ู้ ๓. แบบฟอร์ มที่ใช้ภายในหน่วยงาน ๔. แบบฟอร์มสัญญา ๓. ผูกรอกแบบฟอร์ มควรมีคุณสมบัติอย่างไร ้ ตอบ ผูกรอกแบบฟอร์ มควรมีคุณสมบัติดงนี้ ้ ั ๑. มีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่ องที่ตองกรอก ้ ๒. มีความสามารถทางภาษา ๓. มีความซื่อตรง ๔. มีความรับผิดชอบ ๕. มีความรอบคอบ ๔. ข้อควรปฏิบติในการกรอกแบบฟอร์มสัญญา มีอะไรบ้าง ั ตอบ ข้อควรปฏิบติในการกรอกแบบฟอร์มสัญญา คือ ั ๑. ควรอ่านแบบฟอร์ มสัญญาให้เข้าใจทั้งฉบับ ๒. กรอกข้อมูลด้วยลายมือที่ชดเจน สะอาด เรี ยบร้อย ั ๓. ปฏิบติตามคาแนะนา หรื อข้อบังคับในแบบฟอร์ มอย่างเคร่ งครัด ั ๔. ต้องไม่ลงลายมือชื่อในแบบฟอร์ มสัญญาจนกว่าจะกรอกข้อมูลครบถ้วนสมบูรณ์ ๕. กรอกแบบฟอร์ มสัญญาอย่างน้อย ๒ ฉบับ แล้วให้ผทาสัญญาแต่ละฝ่ ายถือไว้ ู้ เป็ นหลักฐานคนละฉบับ ๖. เก็บแบบฟอร์ มสัญญาไว้จนกว่าจะสิ้ นสุ ดพันธะตามกฎหมาย โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๒๘๖
  25. 25. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนบทที่ ๙ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ง. ง. ค. ก. ค. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ค. ง. ค. ก. ง. เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ข. ข. ก. ค. ก. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ก. ข. ก. ค. ข. การกรอกแบบฟอร์ม ควรอ่านแบบฟอร์ มให้เข้าใจก่อนกรอกข้อมูล กรอก ข้อมูลตามความเป็ นจริ งให้ครบถ้วนด้วยตนเอง เขียนด้วยลายมือที่อ่าน ง่ายชัดเจน และตรวจความถูกต้องก่อนลงมือชื่อ ตรวจกับเฉลยเสร็ จแล้ว ได้คะแนนเต็มเลยสิ เก่งมาก คะ เกณฑ์ การตัดสิ น ระดับ 0 – 4 คะแนน ระดับคุณภาพ ต้องปรับปรุ ง ระดับ 5 – 6 คะแนน พอใช้ ระดับ 7 – 8 คะแนน ดี ระดับ 9 – 10 คะแนน ดีมาก โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั สรุ ปผลการประเมิน ่  ผ่าน  ไม่ผาน คะแนนทีได้ ่ ระดับคุณภาพ ……… ………. หน้ า ๒๘๗

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง