เสียงก้อง เกี่ยวข้องกับสมบัติด้านใดของเสียง


�Ԫ� �Է����ʵ�� ���ԡ�� (���� � 46217) �дѺ �Ѹ���֡�һշ�� 6
����ͧ ���§ �ӹǹ 10 ���
�� �. ���ԪҴ ������� �ç���¹ �ѹ�������
����� ���͡ ���� ����ӵͺ���١��ͧ����ش
��ͷ�� 1)
���§������Ѻ�ѧ�� ����Ǣ�ͧ�Ѻ����ͧ�
   �����ѧ
   �дѺ���§
   �س�Ҿ���§
   �ء��ͷ��������
��ͷ�� 2)
�дѺ����������§ ��鹡Ѻ����
   ����������§
   �дѺ����������§
   �������
   �����Ԩٴ
��ͷ�� 3)
�����繡���á�ʹ�ͧ���§
   �ӷ͹
   �յ��
   �ͻ�����
   ���蹡��ᷡ
��ͷ�� 4)
�����º���§����աѺ���§�ҵðҹ �����ª��ͧ����ͧ�
   �ӷ͹
   �Ե��
   ���蹹��
   ���§��ͧ
��ͷ�� 5)
���§��ͧ ����Ǣ�ͧ�Ѻ���ѵԴ�ҹ㴢ͧ���§
   ����з�͹
   ����ѡ��
   ���������ູ
   ����á�ʹ
��ͷ�� 6)
�ӷ͹��������Դ���������ѡ��� ���ʹ�����Դ ���դ�����Ǥ�������
   ����˹�觢ͧ���������ʹ
   ��ҡѺ���������ʹ
   �ͧ��Ңͧ���������ʹ
   �����Ңͧ���������ʹ
��ͷ�� 7)
���˹����§�ѧ�ͧ���駵Դ�ѹ���ʹ�ӷ͹ ����ҧ�ѹ����
   ����˹�觢ͧ������Ǥ���
   ��ҡѺ������Ǥ���
   �ͧ��Ңͧ������Ǥ���
   �����Ңͧ������Ǥ���
��ͷ�� 8)
��ҡ���ó�ͻ��������Ǣ�ͧ�Ѻ����ͧ�
   �����ѧ
   �дѺ���§
   �س�Ҿ���§
   �ء��ͷ��������
��ͷ�� 9)
�дѺ����������§���դ���ҡ���͹�͹��鹡Ѻ����
   ����������§
   ���ѧ�ͧ���觡��Դ���§
   ������ҧ�ҡ���觡��Դ���§
   �ء��ͷ��������
��ͷ�� 10)
���§�յ�������Թ�����§�ѧ ��Ѻ�ѹ�繨ѧ��� �ء�����Թҷ� �դ����������
   1 ���Ե�
   2 ���Ե�
   15 ���Ե�
   30 ���Ե�

สมบัติของคลื่นเสียง

       เสียงเป็นคลื่นตามยาว มีสมบัติร่วมของคลื่นทั้ง 4 ประการคือ การสะท้อน การแทรกสอด การหักเห และการเลี้ยวเบน

การสะท้อน

–       เสียงจะสะท้อนได้ดีถ้าผิวสะท้อนแข็งและเรียบ

–       เสียงจะสะท้อนได้ดีถ้าแผ่นสะท้อนมีขนาดไม่น้อยกว่าความยาวคลื่นเสียง

–       เสียงก้อง ( echo ) ปกติคนเราจะได้ยินเสียงติดประสาทหูนานประมาณ 1/10 วินาที ถ้าเราปล่อยคลื่นเสียงออกไปเราจะได้ยินเสียงครั้งแรก ต่อมาเวลาผ่านไปไม่น้อยกว่า 1/10 วินาที คลื่นเสียงสะท้อนกลับมาเราจะได้ยินเสียงแยกออกเป็น 2 ครั้ง เราเรียกว่า เสียงก้อง

การประยุกต์ใช้การสะท้อนของเสียง

เรานำความรู้เกี่ยวกับอัตราเร็วเสียงการสะท้อนของเสียงมาใช้ประโยชน์ในการคำนวณหาระยะทาง

ได้จากสมการ

                  s = vt         โดย s = ระยะทาง,    

v = อัตราเร็วเสียง

                  v = fλ               f = ความถี่ของคลื่นเสียง,  λ = ความยาวคลื่นเสียง

 ตัวอย่างที่ 1  แหล่งกำเนิดคลื่นเสียงสั่นด้วยความถี่ 284 Hz ขณะนั้นอากาศมีอุณหภูมิ 298 เคลวิน ความยาวคลื่นขณะนั้นมีค่าเท่าใด

วิธีทำ     จากโจทย์กำหนดให้   f = 284 Hz

                        t = 298 – 273 = 25 C°

      หาอัตราเร็วของคลื่นเสียงที่อุณหภูมิ 25 C°

      จาก       Vt = 331 + 0.6t

      ดังนั้นจะได้   Vt = 331 + 0.6(25)

                      = 346  m/s

      หาความยาวของคลื่นเสียงได้จาก

                  v = fλ

      ดังนั้นจะได้   λ = v/f

                      = 346/284    = 1.2 m

การหักเหของเสียง

      หมายถึง  เสียงที่เดินทางจากตัวกลางหนึ่ง  ผ่านรอยต่อของตัวกลางเพื่อเข้าไปยังตัวกลางที่สองแล้วเกิดเปลี่ยนทิศของการเดินทาง   ทำให้อัตราเร็วและความยาวคลื่นเสียงเปลี่ยนไป  แต่ความถี่ยังคงที่เหมือนเดิม  ถ้ามุมหักเหโตกว่า  90  องศา  ทิศทางการเคลื่อนที่จะกลับเข้าสู่ตัวกลางเดิม  คือ  เกิดการสะท้อนกลับหมด  เนื่องจากเสียงเป็นคลื่นชนิดหนึ่ง  ดังนั้นจึงมีการหักเหเมื่อผ่านตัวกลางต่างชนิด  เช่น  เสียงตะโกนในอากาศเคลื่อนที่ในอัตราเร็วอันหนึ่ง  เมื่อเสียงนี้ผ่านลงในบ่อน้ำจะเปลี่ยนอัตราเร็วเป็นเร็วขึ้น  ดังนั้น  เมื่อเสียงเคลื่อนที่จากตัวกลางที่มีความเร็วน้อย  คือ  อากาศเข้าสู่ตัวกลางที่มีความเร็วมากกว่า  คือ  ในน้ำ  เสียงจะหักเหออกจากเส้นตั้งฉากและถ้าเสียงเคลื่อนที่ออกจากตัวกลางที่มีความเร็วมากกว่า  ไปสู่ตัวกลางที่มีความเร็วน้อยกว่า  เสียงจะหักเหเข้าหาเส้นตั้งฉาก  และอัตราเร็วของเสียงขึ้นกับความหนาแน่นของตัวกลางด้วย  คือ  ตัวกลางที่มีความหนาแน่นน้อย  อัตราเร็วของเสียงจะช้ากว่าตัวกลางที่มีความหนาแน่นมาก

      หลักการนี้ใช้อธิบายเกี่ยวกับการเห็นฟ้าแลบ  แต่ไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้องได้  เพราะเมื่อเกิดฟ้าแลบเกิดเสียง  แต่อากาศใกล้พื้นดินอุณหภูมิสูงกว่าอากาศเบื้องบน  การเคลื่อนที่ของเสียงเคลื่อนที่ได้ในอัตราที่ต่างกัน  คือ  เคลื่อนที่ในอากาศที่มีอุณหภูมิสูงได้เร็วกว่าในอากาศที่มีอุณหภูมิต่ำ  ดังนั้น  การเคลื่อนที่ของเสียงจึงเบนขึ้นทีละน้อย ๆ จนข้ามหัวเราไป  จึงทำให้ไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้อง

การเลี้ยวเบนของเสียง

      หมายถึง  การเดินทางของคลื่นเสียงที่สามารถอ้อมไปด้านหลังของตัวกีดขวางได้  การเลี้ยวเบนมักเกิดพร้อมกับการสะท้อนของเสียง  เสียงที่เลี้ยวเบนจะได้ยินค่อยกว่าเดิมเพราะพลังงานของเสียงลดลง

 

การแทรกสอดของคลื่นเสียง

      ถ้าคลื่นเสียงจากแหล่งกำเนิดคลื่นเสียง 2 แหล่ง มีเฟสตรงกัน เคลื่อนที่มาพบกันจะมีเงื่อนไขการแทรกสอดดังนี้

      เมื่อเสริมกัน (แอมพลิจูดสูงขึ้นหรือได้ยินเสียงดัง) จะมีสมการปฏิบัพ (Antinode) ดังนี้

                                S1P – S2P = nλ        ( n = 0,1,2,3,…… )

      หรือ                            dsinθ = nλ        ( n = 0,1,2,3,…… )

      หรือ                        

           n = 0,1,2,3,…… )

      เมื่อหักล้างกัน (แอมพลิจูดต่ำลงหรือได้ยินเสียงค่อย) จะมีสมการบัพ (node) ดังนี้

              

                  ( n = 1,2,3……. )

                           ( n = 1,2,3……. )

                                  ( n = 1,2,3……. )

                                             

          

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง