เซฟไฟล์ photoshop ให้แก้ไขได้

ทุกครั้งที่คุณส่งไฟล์งานอาร์ตเวิร์คไปยังโรงพิมพ์ ไฟล์งานจำเป็นต้องถูกบันทึกไว้ในรูปแบบ PDF-X1a ซึ่งเป็นรูปแบบไฟล์มาตรฐานในอุตสาหกรรมงานพิมพ์ ก่อนที่จะบันทึกคุณต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่าคุณได้ตั้งค่าระยะตัดตก (Bleed) และ ระยะปลอดภัย (Margins) อย่างถูกต้องเรียบร้อยแล้ว และห้ามลืมเปลี่ยนสีโหมดเป็น CMYK นะคะ

หลังจากที่คุณได้ทำการตรวจสอบไฟล์ว่าทุกอย่างถูกต้องเรียบร้อยแล้ว คุณสามารถทำตามขั้นตอนด้านล่างเพื่อบันทึกไฟล์งานอาร์ตเวิร์คของคุณในรูปแบบที่ถูกต้องได้เลย

ในโปรแกรม Photoshop ให้ไปที่เมนูด้านบนและคลิก File > Save As:


ในการบันทึกรูปแบบไฟล์งานบนโปรแกรม Photoshop ให้เลือก PDF จากนั้นคลิก Save เลย:


หากมีป๊อปอัพขึ้นมากับข้อความด้านล่างให้เลือก OK ค่ะ


ขั้นตอนต่อไปจะมีหน้าต่างป๊อปอัปใหม่ปรากฏขึ้นพร้อมตัวเลือกสำหรับการบันทึกไฟล์งานเป็น PDF เพื่อให้งานพิมพ์มีคุณภาพสูง เลือก [High Quality Print] ใน Adobe PDF Preset และเลือกใช้ค่ามาตรฐาน PDF/X-1a:2001 ในขั้นตอนสุดท้ายเลือก Save PDF



*โปรแกรม Photoshop บางรุ่นอาจมีค่ามาตรฐานเป็น PDF / X-A1: 2001*


**การตั้งค่าอื่น ๆ สามารถทำได้ใน แท็บ อื่น ๆ  ของหน้าต่างป๊อปอัพ แต่ไม่จำเป็นสำหรับการสั่งพิมพ์กับ Gogoprint**

            นามสกุลใหม่แต่โคตรดิบระห่ำจุดนรก เหมาะสำหรับภาพถ่ายจริงๆ ชื่อมันก็แปลตามตรงว่า "ดิบ" หมายถึงไม่มี การบีบอัดข้อมูลภาพใดๆเลยทั้งสิ้น รายละเอียดจึงยังครบถ้วน แต่ขนาดไฟล์ก็อลังการสุดๆเช่นกัน ปัจจุบันหาโปรแกรมมาเปิด ไฟล์ชนิดนี้ยากอยู่ เพราะส่วนใหญ่จะแถมโปรแกรมมากับกล้องดิจิตอลที่สามารถบันทึกไฟล์ในรูปแบบ RAW ได้เท่านั้น

        เมื่อสร้างหรือตกแต่งภาพเสร็จแล้ว เราจะต้องบันทึกไฟล์ด้วยเพื่อเก็บการเปลี่ยนแปลงที่ทำกับภาพ โดยเลือกบันทึกไฟล์ได้หลายรูปแบบขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการนำไปใช้งานสำหรับไฟล์ประเภทแรกที่ควรบันทึกคือ รูปแบบ PSD ของ Photoshop เองเพื่อเก็บเป็นต้นฉบับไว้สำหรับนำมาแก้ไขในภายหลังจากนั้นจึงสั่งบันทึกไฟล์เป็นประเภทอื่น เช่น GIF หรือ JPG เพื่อให้เหมาะสำหรับการนำไปใช้งานในแต่ละกรณี
บันทึกไฟล์ Photoshop (.PSD)
การแก้ไขไฟล์ภาพโดยการสร้างกราฟิก เพิ่มการตัดต่อ หรือเปลี่ยนแปลงลักษณะของไฟล์ภาพที่มีผลกับโครงสร้างเดิมของภาพ เมื่อเลือกคำสั่ง File > Save จะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ Save As ขึ้นมา โดยจะเลือกรูปแบบของไฟล์เป็น Photoshop (*.PSD, *.PDD) เป็นค่าพื้นฐานดังนี้
** คุณสมบัติของไฟล์ PSD จะเก็บรายละเอียดการทำงานต่าง ๆ เช่น เลเยอร์, ฟอนต์ และเส้นพาธ ไว้ได้อย่างครบถ้วนช่วยให้การนำไฟล์ภาพกลับมาแก้ไขทำได้ง่าย ในขณะที่ไฟล์ประเภทอื่นจะเก็บข้อมูลเหล่านี้ไม่ได้ หรือได้เพียงบางส่วน


บันทึกไฟล์ทับของเดิม
        การเปิดไฟล์ภาพมาตกแต่งสี, แสงเงา หรือกำหนดค่าเอฟเฟ็กต์ให้กับภาพ แต่ไม่ได้ใช้คำสั่งเกี่ยวกับการสร้างเลเยอร์ (เลเยอร์ คือ ชั้นที่จัดวางรูปภาพ) หรือสร้างกราฟิกอื่น ๆ เพิ่มเติมในภาพ เมื่อเลือกคำสั่ง File > Save โปรแกรมจะให้บันทึกทับชื่อไฟล์เดิม รูปแบบเดิม (จะไม่มีไดอะล็อกบ๊อกซ์ Save As เปิดขึ้นมา หากไม่ต้องการให้ทับไฟล์เดิม ต้องคลิกเลือกคำสั่ง File > Save As เอง)
บันทึกเป็นไฟล์รูปแบบอื่น ๆ
        นอกจากการบันทึกเป็นไฟล์ .psd และบันทึกลงในรูปแบบของไฟล์ต้นฉบันเดิมแล้ว ยังบันทึกไฟล์ภาพเก็บไว้ในรูปแบบอื่น ๆ ได้ตามต้องการ โดยคลิกเลือกคำสั่ง File > Save As แล้วเลือกรูปแบบของไฟล์ในช่อง Format ซึ่งจะมีรูปแบบไฟล์ให้เลือกหลายแบบดังภาพ

บันทึกไปใช้กับเว็บเพจ หรืออุปกรณ์อื่น
        รูปภาพที่นำไปใช้กับเว็บเพจ จะต่างจากรูปภาพที่นำไปใช้กับงานด้านอื่น ๆ คือ ชนิดของภาพที่จะนำไปใช้บนเว็บเพจนั้น ต้องเป็น GIF, JPG หรือ PNG เท่านั้น และควรให้ไฟล์มีขนาดเล็ก ขนาดภาพต้องพอดี ไม่ใหญ่จนเกินไป เมื่อผู้ชมเปิดเข้าไปในเว็บไซต์จะได้โหลดภาพได้เร็วยิ่งขึ้น โปรแกรมจึงมีคำสั่งสำหรับบันทึกรูปภาพไปใช้ในเว็บเพจโดยเฉพาะ คือ Save for Web & Devices โดยคำสั่งนี้จะให้กำหนดค่าออปชั่นการบันทึกภาพประเภทต่าง ๆ พร้อมกับดูภาพตัวอย่าง ขนาดของไฟล์ และระยะเวลาในการดาวน์โหลดเปรียบเทียบกันได้อีกด้วย ดังนี้

  1. เลือกคำสั่ง File > Save for Web & Devices
  2. กำหนดออปชั่นต่าง ๆ ในการแปลงไฟล์ แล้วดูภาพ ขนาด และเวลาในการดาวน์โหลดเปรียบเทียบกันในไดอะล็อกบ็อกซ์ Save for Web & Devices ดังภาพหน้า
  3. เลือกภาพจากกรอบตัวอย่างที่ต้องการใช้งาน
  4. คลิกปุ่ม Save เพื่อบันทึกภาพ
  5. บนไดอะล็อกบ๊อกซ์ Save Optimized As เลือกตำแหน่งโฟลเดอร์ที่จะจัดเก็บในช่อง Save in
  6. กำหนดชื่อไฟล์ภาพในช่อง File name
  7. คลิกปุ่ม Save

กำหนดออปชั่นต่าง ๆ ในการแปลงไฟล์ แล้วดูภาพ ขนาด และเวลาในการดาวน์โหลดเปรียบเทียบกันในไดอะล็อกบ็อกซ์ Save for Web & Devices ดังภาพหน้า

  • เลือกภาพจากกรอบตัวอย่างที่ต้องการใช้งาน

  • คลิกปุ่ม Save เพื่อบันทึกภาพ

  • บนไดอะล็อกบ๊อกซ์ Save Optimized As เลือกตำแหน่งโฟลเดอร์ที่จะจัดเก็บในช่อง Save in

  • กำหนดชื่อไฟล์ภาพในช่อง File name

  • คลิกปุ่ม Save

  • ไฟล์ภาพที่ใช้ใน Photoshop
    Photoshop  สามารถรองรับการทำงานกับไฟล์ภาพได้หลายชนิด ดังนี้
         . GIF  เป็นการบันทึกรูปภาพที่จะสามารถบีบอัดข้อมูลให้มีขนาดเล็ก ส่วนมากจะนำไปบันทึกเป็นไฟล์ภาพเคลื่อนไหว
         . PNG  ใช้บันทึกรูปภาพประเภทเวกเตอร์ จะมีคุณสมบัติคล้ายกับไฟล์ GIF ซึ่งสามารถบีบอัดข้อมูลให้มีขนาดเล็ก บันทึกส่วนที่โปร่งใสและสามารถเลือกระดับสีให้แสดงถึง 16.7ล้านสี
         . Tiff  เป็นการบันทึกไฟล์ภาพซึ่งสามารถบีบอัดข้อมูลทำให้คุณภาพของสีภาพเหมือนต้นฉบับ แต่ไฟล์ภาพนั้นจะมีขนาดใหญ่ ในกรณีที่บันทึกเป็นไฟล์สกุล TIFF  สามารถนำไปใช้ร่วมกับ PageMaker  เพื่อสร้างสื่อสิ่งพิมพ์ต่อไป
         . BMP  เป็นรูปแบบของไฟล์มาตรฐานที่ใช้ในระบบปฏิบัติการ Windows และ Dos  ซึ่งสามารถที่จะจัดเรียงสีดำไปหาสีขาว  (1 ไบต์ต่อ 1 pixel)  และจะสามารถเลือกระดับสีสูงถึง 24 บิต หรือ 16.7 ล้านสี
         . EPS  เป็นรูปของไฟล์ที่สามารถบรรจุภาพแบบเวกเตอร์และบิตแม็บสนับสนุนการนำรูปภาพ ไปเป็นภาพประกอบใน Illustrator หรือนำไปใช้ร่วมกับโปรแกรมจัดหน้าเอกสาร ในกรณีที่นำภาพแบบเวกเตอร์มาเปิดใน Photoshopจะถูกแปลงเป็น Bitmap ทันที
          . PDF  เป็นรูปแบบของไฟล์ที่ใช้เป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์หรือนำเสนอข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต ข้อดีของไฟล์ PDF  คือ รักษารูปแบบหน้ากระดาษ ตัวอักษร รูปภาพให้เหมือนกับต้นฉบับและนิยมนำไฟล์ PDF บันทึกไฟล์งานก่อนส่งโรงพิมพ์ส่วนโปรแกรมที่ใช้อ่านไฟล์ PDF คือ  Adobe Acrobat  Reader
          . JPEG  เป็นไฟล์ที่สามารถบีบอัดข้อมูลที่เป็นไฟล์รูปภาพประเภท Bitmap  หรือ ภาพถ่ายและสามารถกำหนดการแสดงภาพบนเว็บจากหยาบไปหาความละเอียดที่เรียกว่า Progressive ซึ่งเราสามารถปรับค่าออปชันของรูปแบบไฟล์ JPEG ได้ (ส่วนมากไฟล์ภาพเป็น *.jpeg เกือบทั้งหมด
         . PSD  เป็นไฟล์มาตรฐานที่สร้างขึ้นด้วยโปรแกรม Photoshop สามารถเปิดไฟล์ที่สร้างขึ้นด้วยเวอร์ชันก่อนหน้านี้ได้ด้วย โดยไฟล์ .PSD จะไมสามารถเปิดใช้งานได จากโปรแกรมอื่น ๆ
         . BMP  เป็นไฟล์มาตรฐานของระบบปฏิบัติการโปรแกรม Windows
         . TIFF  เป็นไฟล์ที่สามารถใช้ได้ทั้งเครื่อง PC และ Macintosh ซึ่งส่วนใหญ่ใช้งาน
    โปรแกรมเกี่ยวกับสิ่งพิมพ์  เช่น โปรแกรม Page Maker
         .GIF  เป็นไฟล์ที่ใช้กันมากในการสร้างเว็บไซต์ เพราะไฟล์มีขนาดไมใหญ่ ง่ายต่อการบีบอัดข้อมูลทั้งไฟล์ประเภทนี้ส่วนใหญ่จะสามารถเคลื่อนไหวไดสร้างขึ้นจาก โปรแกรมกราฟก และแอนิเมชั่น เช่น โปรแกรม Image Ready
         .JPEG  เป็นที่นิยมใช้งานกันอย่างแพรหลาย เพราะมีขนาดเล็ก ง่ายต่อการบีบอัด
    สามารถสร้างขึ้นไดจากโปรแกรมกราฟิกทั่ว ๆ ไป
         . PCT  เป็นไฟล์ที่ใช้ในบนเครื่อง Macintosh เท่านั้นและมีขนาดของไฟล์ค่อนข้างใหญ่มาก
         . RAW  เป็นไฟล์ที่สามารถยืดหยุ่นได้เป็นอย่างดี ถาหากมีการเปลี่ยนแปลงการทำงานในระหว่าง Application หรือ ต่างเครื่องคอมพิวเตอร์
         . PNG  เป็นไฟล์ที่พัฒนาต่อจาก Gif ซึ่งข้อดี คือ  จะเกิดความสูญเสียน้อยมากหากมีการบีบอัดข้อมูล  ทำให้มีความเหมาะสมในการโอนถ่ายข้อมูลบนระบบเครือข่าย Internet

    Toplist

    โพสต์ล่าสุด

    แท็ก

    แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง