กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ สินสถาพร บัวหลวง

Q:

กรณีที่ต้องการตรวจสอบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ บัวหลวงทรัพย์มั่งคั่ง ธนาคารกรุงเทพมีวิธีการตรวจสอบอย่างไร

A:

กรณีที่ต้องการตรวจสอบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ บัวหลวงทรัพย์มั่งคั่ง ธนาคารกรุงเทพ ว่ามีหรือไม่ มีวิธีการตรวจสอบอย่างไร

การตรวจสอบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ บัวหลวงทรัพย์มั่งคั่ง ธนาคารกรุงเทพ ว่ามีหรือไม่ มีวิธีการตรวจสอบดังนี้

Help >> Bank & Fund Format

จะโชว์รายละเอียดชื่อกองทุนสำรองเลี้ยงชีพที่ต้องการตรวจสอบค่ะ



พระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพฉบับใหม่ อนุญาตให้ 1 กองทุนสามารถมีได้หลายนโยบายการลงทุน เพื่อสนับสนุนให้มีการจัดทำ Employee’s Choice การจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเดิมส่วนใหญ่ 1 กองทุนจะมี นโยบายการลงทุนเพียง 1 นโยบาย ซึ่งคณะกรรมการกองทุนจะเป็นผู้ทำหน้าที่กำหนดนโยบายการลงทุนให้กับสมาชิก โดยส่วนใหญ่จะมีลักษณะของการเป็นนโยบายการลงทุนที่มีความเสี่ยงค่อนข้างต่ำลงทุนในตราสารทางการเงินที่มีความมั่นคงสูง แม้ว่ากองทุนจะมีสมาชิกที่มีความหลากหลายทั้งในด้านเพศ วัย และความสามารถในการรับความเสี่ยงก็ตาม

ทั้งนี้เพื่อความสะดวกและง่ายต่อการบริหารหรือติดตามดูแล รวมทั้งลดความเสี่ยงของคณะกรรมการกองทุนจากการถูกสมาชิกต่อว่าหากผลการดำเนินงานของกองทุนไม่เป็นไปตามที่คาดหวัง สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ในฐานะที่เป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่กำกับดูแลได้มองเห็นปัญหาในเรื่องนี้ จึงได้ส่งเสริมให้มีการจัดตั้ง Employee’s Choice เพื่อให้มี นโยบายการลงทุนที่เหมาะสมกับสมาชิก ซึ่งก่อนหน้านี้กองทุนที่ต้องจัดให้มีหลายนโยบายก็สามารถดำเนินการได้ โดยจดทะเบียนจัดตั้งเป็นกองทุนแต่ละนโยบายขึ้นมาหลายๆ กอง อย่างไรก็ตามกฏหมายใหม่เอื้อให้กองทุนที่จดทะเบียน 1 กองทุน สามารถมีนโยบายการลงทุนหลายนโยบายได้ ที่เรียกว่า Master Fund ซึ่งทำให้เกิดความคล่องตัวมากขึ้น ในการจัดตั้งและเปลี่ยนแปลงนโยบายการลงทุน

Employee’s Choice ช่วยให้สมาชิกสามารถเลือก นโยบายการลงทุนตามที่ต้องการได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องให้คณะกรรมการกองทุนเป็นผู้พิจารณาเลือกนโยบายการลงทุนที่คิดว่าเหมาะสมให้แก่สมาชิกเหมือนแต่ก่อน

บลจ.บัวหลวงขอเสนอ 12 นโยบายการลงทุนภายใต้กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ สินสถาพร ซึ่งจดทะเบียนแล้ว โดยกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ สินสถาพร เป็นกองทุนที่ได้รับรางวัลกองทุนสำรองเลี้ยงชีพดีเด่น ประเภทกองทุนร่วม ปี พ.ศ.2555 และ พ.ศ.2558 จากกระทรวงการคลัง ความแตกต่างของนโยบายการลงทุนจะช่วยให้สมาชิกที่เลือกลงทุนแบบ Employee’s Choice สามารถเลือกลงทุนได้ครอบคลุมและเหมาะสมกับความต้องการ

ที่มา : //www.bblam.co.th/products/provident-funds/investment-plans

รู้จักกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

จัดตั้งขึ้นด้วยความสมัครใจ จากทั้งนายจ้างและลูกจ้าง

มีสถานะเป็นนิติบุคคล โดยจดทะเบียนกับสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

เพื่อ “เพิ่มเงินออม” ทั้งนี้องค์ประกอบของเงินกองทุนมาจากเงินสะสมของสมาชิก และเงินสมทบจากนายจ้าง

กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ จัดตั้งขึ้นเพื่อ

หลักประกันที่มั่นคงแก่ลูกจ้างและครอบครัว ในกรณีที่ลูกจ้าง ออกจากงาน เกษียณอายุ หรือเสียชีวิต

ส่งเสริมความสัมพันธ์ที่ดีในองค์กร เงินสมทบจากนายจ้างเหมือนเป็นสวัสดิการที่มีให้แก่ลูกจ้าง ซึ่งเป็นการเพิ่มแรงจูงใจในการทำงาน

เงินกองทุนเพิ่มขึ้นจากความ “ร่วมใจ” ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง

กองทุนสำรองเลี้ยงชีพที่ได้รับการจดทะเบียนแล้ว จะมีสถานะของกองทุนแยกเป็นนิติบุคคลต่างหาก จากนั้นเมื่อกองทุนเริ่มดำเนินการ เงินเดือนของพนักงานจำนวนหนึ่งจะถูกหักสะสม และนายจ้างจะจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุน ซึ่งเงินในกองทุนเป็นของสมาชิกทุกคน การจัดการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพอยู่ภายใต้การดูแลอย่างเข้มงวดของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) การนำเงินกองทุนไปลงทุนต่างๆ นั้นจะเป็นไปตามที่กฏหมายระบุไว้ภายใต้พระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพและพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

ลูกจ้างจ่ายเงินสะสมเข้ากองทุนทุกครั้งที่มีการจ่ายค่าจ้าง และนายจ้างจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนตามที่กำหนดในช้อบังคับกองทุน ซึ่งต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 2 แต่ไม่เกินร้อยละ 15 ของค่าจ้าง

ผลประโยชน์ที่ได้จากการนำเงินของกองทุนไปลงทุน

“ ลดหย่อนภาษี” ประโยชน์ต่อนายจ้างและลูกจ้าง

นายจ้าง

เงินสมทบของนายจ้างถือเป็นค่าใช้จ่ายเพื่อลดภาษีเงินได้นิติบุคคลได้สูงสุดร้อยละ 15 ของค่าใช้จ่ายรวมในส่วนที่เป็น เงินเดือนพนักงาน

ลูกจ้าง

ลดหย่อนภาษีจากการออมเงินผ่านกองทุนสำรองเลี้ยงชีพตามที่กฏหมายกำหนด (ไม่เกิน ร้อยละ 15 ของเงินได้ และสูงสุดไม่เกินปีละ 500,000 บาท) ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับจำนวนเงินสะสมเข้ากองทุนในแต่ละปี และสามารถรับเงินคืนได้เมื่อลาออกจากบริษัทหรือกองทุน ซึ่งจะได้รับสิทธิยกเว้นภาษีตามหลักเกณฑ์ที่กฏหมายกำหนดไว้

รัฐสนับสนุนให้คุณ “เลือกได้ด้วยตัวคุณเอง”

พระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพฉบับใหม่ อนุญาตให้ 1 กองทุนสามารถมีได้หลายนโยบายการลงทุน เพื่อสนับสนุนให้มีการจัดทำ Employee’s Choice การจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเดิมส่วนใหญ่ 1 กองทุนจะมี นโยบายการลงทุนเพียง 1 นโยบาย ซึ่งคณะกรรมการกองทุนจะเป็นผู้ทำหน้าที่กำหนดนโยบายการลงทุนให้กับสมาชิก โดยส่วนใหญ่จะมีลักษณะของการเป็นนโยบายการลงทุนที่มีความเสี่ยงค่อนข้างต่ำลงทุนในตราสารทางการเงินที่มีความมั่นคงสูง แม้ว่ากองทุนจะมีสมาชิกที่มีความหลากหลายทั้งในด้านเพศ วัย และความสามารถในการรับความเสี่ยงก็ตาม

ทั้งนี้เพื่อความสะดวกและง่ายต่อการบริหารหรือติดตามดูแล รวมทั้งลดความเสี่ยงของคณะกรรมการกองทุนจากการถูกสมาชิกต่อว่าหากผลการดำเนินงานของกองทุนไม่เป็นไปตามที่คาดหวัง สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ในฐานะที่เป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่กำกับดูแลได้มองเห็นปัญหาในเรื่องนี้ จึงได้ส่งเสริมให้มีการจัดตั้ง Employee’s Choice เพื่อให้มี นโยบายการลงทุนที่เหมาะสมกับสมาชิก ซึ่งก่อนหน้านี้กองทุนที่ต้องจัดให้มีหลายนโยบายก็สามารถดำเนินการได้ โดยจดทะเบียนจัดตั้งเป็นกองทุนแต่ละนโยบายขึ้นมาหลายๆ กอง อย่างไรก็ตามกฏหมายใหม่เอื้อให้กองทุนที่จดทะเบียน 1 กองทุน สามารถมีนโยบายการลงทุนหลายนโยบายได้ ที่เรียกว่า Master Fund ซึ่งทำให้เกิดความคล่องตัวมากขึ้น ในการจัดตั้งและเปลี่ยนแปลงนโยบายการลงทุน

Employee’s Choice ช่วยให้สมาชิกสามารถเลือก นโยบายการลงทุนตามที่ต้องการได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องให้คณะกรรมการกองทุนเป็นผู้พิจารณาเลือกนโยบายการลงทุนที่คิดว่าเหมาะสมให้แก่สมาชิกเหมือนแต่ก่อน

บลจ.บัวหลวงขอเสนอ 16 นโยบายการลงทุนภายใต้กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ สินสถาพร ซึ่งจดทะเบียนแล้ว โดยกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ สินสถาพร เป็นกองทุนที่ได้รับรางวัลกองทุนสำรองเลี้ยงชีพดีเด่น ประเภทกองทุนร่วม ปี พ.ศ.2555 และ พ.ศ.2558 จากกระทรวงการคลัง ความแตกต่างของนโยบายการลงทุนจะช่วยให้สมาชิกที่เลือกลงทุนแบบ Employee’s Choice สามารถเลือกลงทุนได้ครอบคลุมและเหมาะสมกับความต้องการ

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง