วิชา โครง งาน ก ศ น

หนงั สือเรียนสาระทักษะการเรียนรู รายวชิ าเลือก โครงงานเพอ่ื พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู รหัส ทร 02006 หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สําหรบั คนไทยในตา งประเทศ ศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั กลมุ เปาหมายพเิ ศษ สาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สํานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เอกสารทางวชิ าการลําดบั ท่ี 23/2554

หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลือก โครงงานเพื่อพัฒนาทกั ษะการเรยี นรู รหสั ทร 02006 หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สาํ หรบั คนไทยในตา งประเทศ ศนู ยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั กลมุ เปา หมายพเิ ศษ สาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อธั ยาศยั สํานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ เอกสารทางวชิ าการลาํ ดับที่ 23/2554 ช่ือหนงั สอื หนงั สือเรียนสาระทักษะการเรียนรู รายวชิ าเลือก โครงงานเพอ่ื พัฒนาทกั ษะการเรียนรู รหัส ทช 02006 หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สาํ หรับคนไทยในตา งประเทศ

ISBN : พิมพค รงั้ ท่ี : 1/2554 ปท่ีพมิ พ : 2554 จาํ นวนพิมพ : 100 เลม เอกสารทางวิชาการลาํ ดับที่ 23/2554 จัดพิมพและเผยแพร : ศนู ยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั กลมุ เปาหมายพิเศษ สํานักงานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สาํ นักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร โทร. 0 2281 7217 - 8, 0 2628 5329, 0 26285331 โทรสาร 0 2628 5330 เว็ปไซต : /www.nfe.go.th/0101-v3/frontend/ โครงสรางรายวชิ าเลือก รหสั ทร 02006 โครงงานเพอ่ื พฒั นาทักษะการเรยี นรู

สาระทกั ษะการเรยี นรู ระดบั ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนตน และมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จาํ นวน 3 หนว ยกติ (120 ชวั่ โมง) สาระสาํ คญั มคี วามรู ความเขาใจ เกี่ยวกับความหมาย แนวคดิ และ หลกั การของโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการเรียนรู ประเภทของ โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรยี นรู ทักษะทีจ่ ําเปน ในการทํา โครงงานเพือ่ พัฒนาทักษะการเรยี นรู การเตรยี มการและ กระบวนการจดั ทาํ โครงงานเพอื่ พัฒนาทกั ษะการ และการสะทอน ความคดิ เหน็ ตอ โครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการเรียนรูตอการเรียนรู ดวยตนเอง ผลการเรยี นท่ีคาดหวงั 1. เพ่ือใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ ความหมาย แนวคิดและหลกั การของโครงงานเพื่อพัฒนาทกั ษะการเรียนรู 2. เพื่อใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ เก่ียวกับการ จําแนกประเภทของโครงงานเพื่อพฒั นาทักษะการเรียนรู 3. เพื่อใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ และมีทักษะในการ ทําโครงงานเพอ่ื พัฒนาทกั ษะการเรียนรู 4. เพ่ือใหผ ูเรยี นมีความรู ความเขาใจ สามารถเตรียมการ และดําเนินการจัดทําโครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการเรยี นรูไ ด 5. เพื่อใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ มีเจตคติที่ดี และ สามารถสะทอ นความคิดเหน็ ตอโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการเรียนรู

ขอบขา ยเนอ้ื หา 1. ความหมาย แนวคิดและหลักการของโครงงานเพอื่ พฒั นาทักษะการเรียนรู 2. ประเภทของโครงงานเพ่ือพฒั นาทกั ษะการเรียนรู 3. ทกั ษะท่ีจาํ เปน ในการทําโครงงานเพ่ือพฒั นาทกั ษะการ เรยี นรู 4. การเตรียมการและกระบวนการจดั ทําโครงงานเพือ่ พฒั นาทักษะการเรยี นรู 5. การสะทอนความคดิ เห็นตอโครงงานเพ่ือพฒั นาทกั ษะ การเรียนรู

คาํ นาํ ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกลุมเปาหมายพิเศษ ไดดําเนินการจัดทํา หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื ก รหสั ทร 02006 โครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการเรียนรู เพ่ือใชในการเรียนการสอน ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สําหรับคนไทยในตางประเทศ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาผูเรียนใหมีคุณธรรม จริยธรรม มี สติปญ ญาและศักยภาพในการประกอบอาชีพ การศึกษาตอ และสามารถดํารงชีวิตอยูไดอยางมีความสุข โดยผเู รยี นสามารถศึกษาคน ควาดวยตนเอง และปฏิบัติกิจกรรมเพ่ือทดสอบความรู ความเขาใจในสาระ เนือ้ หาน้ี รวมทงั้ หาความรจู ากแหลงเรยี นรหู รอื สื่ออ่ืน ๆ เพมิ่ เติมได ในการดําเนินการจัดทําหนังสือเรียนเลมน้ี ไดรับความรวมมือที่ดีจากผูทรงคุณวุฒิและ ผูเก่ียวของท่ีรวมคนควาและเรียบเรียงเนื้อหาสาระจากส่ือตางๆ เพ่ือใหไดสื่อท่ีสอดคลองกับหลักสูตร และเปนประโยชนตอผูเรียนที่อยูนอกระบบอยางแทจริง ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยกลุมเปาหมายพิเศษ ขอขอบคุณคณะที่ปรึกษา คณะเรียบเรียง ตลอดจนผูจัดทําทุกทานท่ีให ความรวมมอื ดวยดีไว ณ โอกาสน้ี ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกลุมเปาหมายพิเศษ หวังวาหนังสือ เลมน้จี ะเปน ประโยชนตอ ผเู รยี นและการจัดการเรียนการสอน หากมีขอเสนอแนะประการใดจะขอนอม รับไวดวยความขอบคุณย่ิง ศนู ยก ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั กลมุ เปา หมายพเิ ศษ 2554 หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการ เรยี นรู (ทร 02006)

สารบญั หนา คํานํา คาํ แนะนาํ การใชห นงั สือเรยี น โครงสรา งหลกั สตู ร บทท่ี 1 ความหมาย แนวคดิ และหลกั การของโครงงานเพอื่ พัฒนา ทกั ษะการเรยี นร.ู ...........................................................................................................................1 เร่ืองท่ี 1 ความหมายของโครงงานเพอ่ื พัฒนาทักษะการเรยี นรู......................................................1 เรื่องที่ 2 แนวคิดของโครงงานเพอ่ื พัฒนาทกั ษะกาเรียนรู……………………………………… 2 เร่ืองที่ 3 หลักกการของโครงงานเพื่อพัฒนาทกั ษะการเรียนรู………………………………….. 5 กจิ กรรมทา ยบท บทท่ี1………………………….………………………………………………7 บทท่ี 2 ประเภทของโครงงานเพอื่ พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู……………………………………………… 9 เร่ืองที่ 1 ประเภทโครงงาน……………………………………………………………………..9 กจิ กรรมทา ยบท บทที่ 2………………………..………………………………………………12 บทที่ 3 ทักษะท่จี าํ เปนในการทําโครงงานเพ่อื พัฒนาทักษะการเรยี นร.ู .....................................................14 เร่ืองที่ 1 ทักษะดา นการจัดการขอ มลู สารสนเทศ.........................................................................14 เรื่องที่ 2 ทักษะการคิดแบบอยา งเปน ระบบ…………………………………………………….17 เรื่องที่ 3 ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร………………………………………………….20 เร่ืองที่ 4 ทักษะการนาํ เสนอ…………………………………………………………………….24 เร่ืองท่ี 5 ทักษะการพัฒนาตอยอดความรู……………………………………………………….25 กจิ กรรมทายบท บทท่ี 3…………………………………………………………………………..28 บทท่ี 4 การเตรียมการและกระบวนการจัดทาํ โครงงานเพื่อพฒั นาทกั ษะการเรียนรู.................................36 เรื่องท่ี 1 การพจิ ารณาเลือกโครงงาน..........................................................................................36 เรื่องที่ 2 การวางแผนทําโครงงานและขั้นตอนกระบวนการทาํ โครงงาน...................................37 กจิ กรรมทายบท บทท่ี 4………………………………………………………………………..41 บทที่ 5 การสะทอนความคิดเห็นตอโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรยี นรู. ...............................................44 เรื่องที่ 1 แนวคิดเรอ่ื งการสะทอนความคิด……………………………….…………………….44 เรื่องท่ี 2 ความสําคญั ของการสะทอนความคิด…………………....……………………………45 กจิ กรรมทายบท บทที่ 5……………………………………………………………………….46 บรรณานกุ รม

คาํ แนะนาํ การใชห นงั สอื เรยี น หนังสอื เรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวชิ าเลือก โครงงาน เพอ่ื พฒั นาทักษะการเรียนรรู หัส ทร 02006 (3 หนว ยกติ ) ตาม หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 สําหรบั คนไทยในตางประเทศ ประกอบดว ยสาระสําคัญ ดงั น้ี สว นท่ี 1 คําช้แี จงกอ นเรยี นรูรายวิชา สว นที่ 2 เนื้อหาสาระและกจิ กรรมทา ยบท สว นท่ี 1 คําช้ีแจงกอ นเรียนรรู ายวชิ า ผูเรียนตองศึกษารายละเอียดในคํานําและคําแนะนําการใช หนังสอื แบบ เพ่ือสรางความเขา ใจและเพ่ือใหบรรลุตามมาตรฐานการ เรียนรูของรายวิชา ซ่ึงการเรียนรูเน้ือหาและการปฏิบัติกิจกรรมทาย บท ควรปฏิบัตดิ ังน้ี 1. หารือครูประจํากลุม / ครูผูสอน เพื่อรวมกันวางแผนการ เรยี น (ใชเวลาเรียน 80 ชั่วโมง) 2. ศึกษาเนื้อหาจากหนังสือแบบเรียน หากมีขอสงสัยเรื่องใด สามารถศึกษาคนควาเพ่ิมเติมไดจากสื่อตาง ๆ หรือหารือครูประจํา กลมุ / ครูผสู อน เพ่อื ขอคําอธบิ ายเพ่มิ เตมิ 3. ทาํ กจิ กรรมทายบทเรยี นตามท่กี ําหนด 4. เขาสอบวัดผลการเรยี นรูปลายภาคเรียน 5. สรางความเขาใจเกี่ยวกับการประเมินผลรายวิชา ซึ่งมี คะแนนเตม็ 100 คะแนน หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการ เรยี นรู (ทร 02006)

โดยแบงสัดสวนคะแนนเปนระหวางภาคเรียน 60 คะแนน และปลาย ภาคเรียน 40 คะแนน ดงั น้ี 5.1 คะแนนระหวา งภาคเรียน 60 คะแนน แบงสว น คะแนนตามกิจกรรม ไดแ ก 1) ทาํ กจิ กรรมทา ยบทเรยี น 20 คะแนน โดยทํา กิจกรรมทา ยบทใหครบถวน 2)ทาํ บนั ทึกการเรยี นรู 20 คะแนน โดยสรุปยอ เน้ือหาหรอื วิเคราะหเ นื้อหาจากการศกึ ษาหนังสอื แบบเรียนรายวชิ าน้ี เพื่อแสดงใหเ ห็นกระบวนการเรยี นรู ประโยชน และการนาํ ความรูไ ป ใช โดยทาํ ตามที่ครกู ําหนด และจัดทําเปนรูปแบบเอกสารความรู ดังนี้ - ปก (รายละเอียดเก่ียวกับตัวผูเรียน: ช่ือ-นามสกุล รหัสประจําตัว ระดับการศึกษา ศกร.กศน. ของผูเรียน และศูนย การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยกลุมเปา หมายพิเศษ) - สวนบันทึกการเรียนรู (เน้ือหาประกอบดวย : หัวขอ/เรื่องท่ีศึกษา และจุดประสงคท่ีศึกษา และข้ันตอนการศึกษา โดยระบุวา มวี ธิ รี วบรวมขอมลู อยา งไร นําขอ มูลมาใชอ ยางไร) - สวนสรุปเน้ือหา (สรุปสาระความรูสําคัญตาม เนอื้ หาทไี่ ดบันทึกการเรยี นร)ู -2- หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการ เรยี นรู (ทร 02006)

- ประโยชนท่เี กดิ กับตวั ผูเ รยี น (บอกความรูท่ีรับและ นํามาพัฒนาตนเอง/การนําไปประยุกตใชในรายวิชาอ่ืน ๆ หรือใน ชวี ิตประจําวัน) 3)ทํารายงานหรือโครงงาน 20 คะแนน โดยจัดทํา เ น้ื อ ห า เ ป น ร า ย ง า น ห รื อ โ ค ร ง ง า น ต า ม ท่ี ค รู กํ า ห น ด รู ป แ บ บ เอกสารรายงาน หรือโครงงาน ดังนี้ 3.1) ก า ร ทํ า ร า ย ง า น ห รื อ โ ค ร ง ง า น ต า ม ที่ ค รู มอบหมาย ใหดําเนินการตามรูปแบบกระบวนการทํารายงาน หรือ โครงงาน ตามรปู แบบเอกสาร ดงั น้ี - ปก (เรื่องท่ีรายงาน รายละเอียดเก่ียวกับตัว ผูเรียน : ช่ือ-นามสกุล รหัสประจําตัว ระดับการศึกษา ศกร.กศน. ของผูเรียน และศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กลมุ เปาหมายพเิ ศษ) - คํานํา - สารบญั - สวนเน้ือหา (หัวขอ หลัก หัวขอยอ ย) - สว นเอกสารอา งองิ 3.2) การทําโครงงาน ตามท่ีครูมอบหมาย และ ดําเนินการตามกระบวนการทํารายงาน โดยจัดทําตามรูปแบบ เอกสารดงั นี้ - ปก (ช่ือโครงงาน รายละเอียดเก่ียวกับตัว ผูเรียน : ชื่อ-นามสกุล รหัสประจําตัว ระดับการศึกษา ศกร.กศน. ขอ หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอื่ พฒั นาทกั ษะการ เรยี นรู (ทร 02006)

ผูเรียน และศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กลุมเปาหมายพิเศษ) - หลกั การและเหตุผล - วัตถุประสงค - เปา หมาย - ขอบเขตของการศึกษา - วิธดี าํ เนินงานและรายละเอียดของแผน - ระยะเวลาดาํ เนินงาน - งบประมาณ - ผลที่คาดวา จะไดร บั 5.2 คะแนนปลายภาคเรียน 40 คะแนน ผูเรียนตอง เขาสอบวัดความรูปลายภาคเรียนโดยใชเครื่องมือ (ขอสอบแบบ ปรนัย หรอื อตั นยั ) ของศูนยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั กลุมเปาหมายพเิ ศษ -3- หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการ เรยี นรู (ทร 02006)

สวนท่ี 2 เนือ้ หาสาระและกิจกรรมทา ยบท ผเู รียนตอ งวางแผนการเรียน ใหส อดคลองกับระยะเวลาของ รายวิชา และตองศึกษาเน้ือหาสาระตามที่กําหนดในรายวิชาให ละเอียดครบถวน เพ่ือใหเปนไปตามมาตรฐานการเรียนรูของ รายวิชา ซงึ่ ในรายวิชาน้ไี ดแ บงเนื้อหาออกเปน 4 บท ดงั นี้ บทท่ี 1 ความหมาย แนวคิดและหลกั การของโครงงานเพ่อื พัฒนา ทกั ษะการเรียนรู บทท่ี 2 ประเภทของโครงงานเพอ่ื พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู บทท่ี 3 ทักษะท่ีจําเปนในการทําโครงงานเพอ่ื พฒั นาทักษะการ เรยี นรู บทท่ี 4 การเตรยี มการและกระบวนการจัดทําโครงงานเพื่อพฒั นา ทักษะการเรยี นรู บทท่ี 5 การสะทอ นความคดิ เห็นตอ โครงงานเพือ่ พฒั นาทักษะการ เรียนรู สวนกิจกรรมทายบทเรียน เม่ือผูเรียนไดศึกษาเน้ือหาแตละ บท/ตอนแลว ตองทํากจิ กรรมทายบทเรียน ตามท่ีกําหนดใหครบถวน เพ่อื สะสมเปนคะแนนระหวางภาคเรยี น (20 คะแนน) หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอื่ พฒั นาทกั ษะการ เรยี นรู (ทร 02006)

บทท่ี 1 ความหมาย แนวคดิ และหลกั การของโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการเรยี นรู สาระสาํ คญั ก า ร จั ด ทํ า โ ค ร ง ง า น เ พ่ื อ พั ฒ น า ทั ก ษ ะ ก า ร เ รี ย น รู ผู ที่ จ ะ ดําเนินการจัดทําโครงงานจะตองรูและเขาใจถึงความหมาย แนวคิด และหลักการของโครงงานเพ่ือจะไดนําความรูและความเขาใจไป ดําเนินการจัดทําโครงงานได ทั้งน้ีเพราะการจัดทําโครงงานเพื่อ พัฒนาทักษะการเรียนรูเปนเครื่องมือแสวงหาความรูดวยตนเองใน ลักษณะที่ผูเรียนมีอิสระในการเลือกวิธีหรือเน้ือหาสาระตามศักยภาพ และส่ิงแวดลอม รวมทั้งยังเปนการสรางโอกาสใหผูเรียนไดฝกทักษะ ที่จะไปขยายผลการเรียนรูดวยตนเองตอไปในภายภาคหนาไดอยาง กวางขวาง ผลการเรยี นท่ีคาดหวัง เพื่อใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ ความหมาย แนวคิดและ หลักการของโครงงานเพ่อื พัฒนาทักษะการเรยี นรู ขอบขา ยเนอื้ หา เรือ่ งท่ี 1 ความหมายของโครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการเรียนรู เรอ่ื งที่ 2 แนวคดิ ของโครงงานเพอ่ื พัฒนาทกั ษะการเรียนรู เร่ืองที่ 3 หลกั การของโครงงานเพ่ือพัฒนาทกั ษะการเรียนรู หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นา 1 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

เรอื่ งท่ี 1 ความหมายของโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการ เรยี นรู มผี รู ูไดใหค วามหมายของคําวา โครงงานไวในหลายมุมมอง ซึ่ง ไดประมวลมาใหผ ูเ รียนไดศ ึกษา ดังนี้ “โครงงาน” หมายถึง วิธีการเรียนวิธีหนึ่งท่ีผูเรียนมุงทํางาน เพื่อใหเกิดความรู ควบคูกับการทํางานใหบรรลุเปาหมาย มิใชมุง ทํางานเพ่ือใหบรรลเุ ปา หมายอยางเดียว ผูทําโครงงานจะตองกําหนด ภาระงานใด ภาระงานหนงึ่ ข้ึนมาทาํ แลว ใชภาระงานนั้นทําภาระงาน อีกอยางหนึ่งที่เรียกวาภาระงานการศึกษาเรียนรู เปนกระบวนการ ควบคูกันระหวางการทํางานและการเรียนรู สรางความรูข้ึนเพื่อนํา ความรูไปใชปรับปรุงการทํางานใหบรรลุเปาหมาย ในระหวางท่ี ทํางานใหบรรลุเปาหมายก็ทํางานเพ่ือการศึกษาเรียนรูอีกควบคูกัน ไปตลอด” (จาํ นง หนนู ลิ . 2546:13 ) “โครงงาน” คือ การศึกษาคนควาหาความรูหรือหาคําตอบใน ขอสงสัยเรื่องใดเร่ืองหน่ึง อยางลึกซ้ึง ดวยวิธีการที่หลากหลาย เกิดภาระงานในการศึกษาคนควาดวยความสนใจของผูเรียนเอง มี คุณคากวาการทํางานใหบรรลุเปาหมายที่เรียกวาการทําโครงการ หรือการทํารายงานธรรมดาที่มีผูกําหนดหัวขอขึ้นใหไปทํา” (จํานง หนูนิล. 2546:14 ) “โครงงาน” หมายถึง กิจกรรมท่ีเปดโอกาสใหผูเรียนไดศึกษา คนควาและลงมือปฏิบัติดวยตนเองตามความสามารถ ความถนัด และ ค ว า ม ส น ใ จ โ ด ย อ า ศั ย ก ร ะ บ ว น ก า ร ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร ห รื อ หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอื่ พฒั นา 2 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

กระบวนการอื่นไปใชในการศึกษาหาคําตอบ โดยมีครูผูสอนคอย กระตุนแนะนําและใหคําปรึกษาแกผูเรียนอยางใกลชิด ต้ังแตการ เลือกหัวขอท่ีจะศึกษา คนควา ดําเนินการวางแผน กําหนดข้ันตอน ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น แ ล ะ การนําเสนอผลงาน ซึ่งอาจทําเปน รายบุคคลหรือเปน กลมุ ” (วโิ รจน ศรีโภคา และคณะ. 2544:9 ) “โครงงาน” คือ งานวจิ ยั เลก็ ๆ สาํ หรับผเู รียน เปน การแกปญ หา หรือขอสงสัย หาคําตอบโดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร หาก เนอื้ หาหรอื ขอสงสัยเปนไปตามกลุมสาระการเรียนรใู ด จะเรยี กวา โครงงานในกลุม สาระนนั้ ๆ (www. tet2. org/index.) “โครงงาน” คือ การศึกษาคนควา เก่ียวกับสิง่ ใดส่งิ หนึ่ง หรือ หลาย ๆ สงิ่ ที่อยากรูคาํ ตอบใหล กึ ซ้ึง หรือเรียนรูในเร่อื งนนั้ ๆ ใหมาก ขึ้น โดยใชก ระบวนการ วธิ ีการท่ีศกึ ษาอยางมีระบบ เปนขั้นตอน มี การวางแผนในการศกึ ษาอยางละเอียด ปฏบิ ตั งิ านตามแผนทวี่ างไว จนไดขอสรปุ หรอื ผลสรุปทีเ่ ปนคําตอบในเร่ืองนนั้ ๆ (www. thaigoodview.) “โครงงาน” คือ การเรียนรูที่เกิดจากความสนใจของผูเรียนท่ี ตองการศึกษาคนควาเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือหลาย ๆ สิ่งท่ีสงสัย และตอ งการคําตอบใหลึกซ้ึงชัดเจน หรือตองการเรียนรูในเรื่องน้ัน ๆ ใหมากขึ้นกวาเดิมโดยใชความรูหลาย ๆ ดานและทักษะกระบวนการ ท่ีตอเน่ือง มีการวางแผนในการศึกษาและรับผิดชอบปฏิบัติตามแผน จนไดขอสรุปหรือผลการศึกษา หรือคําตอบเกี่ยวกับเรื่องน้ัน ๆ อยาง เปนระบบ เรื่องท่ีจะทําโครงงานควรเปนเรื่องที่ผูเรียนสนใจและ สอดคลองตามสาระการเรียนรูตามรายวิชาน้ัน (สํานักงานสงเสริม หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นา 3 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย.แนวทางการจัดการ เรียนรู หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 .นนทบุรี : บริษัทไทย พับบลิคเอ็ดดูเคชั่น จํากัด, 2553.) ตามมุมมองในทัศนะตาง ๆ ที่รวบรวมมาใหผูเรียนไดศึกษา จะ เห็นไดวา โครงงานเปนวิธีแสวงหาซึ่งความรูดวยตนเองอีกหนทาง หนงึ่ ซ่งึ มีคณุ คาแตกตางไปจากการเรียนรูดวยวิธีอ่ืน ๆ อยูบาง โดยมี ขอเดนตรงท่ีเปนการแสวงหาความรูที่ตองสัมผัสดวยตนเอง อยางไร ก็ตามผเู รียนควรสรุปความหมายของคําวาโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะ การเรยี นรูท เ่ี ปนความเขา ใจของตัวทา นเอง เรอื่ งที่ 2 แนวคดิ ของโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการเรยี นรู การเรียนรูแบบโครงงานเปนการเรียนรูที่ใหความสําคัญตอ ผเู รียนในการเลอื กเรยี นสง่ิ ตาง ๆ ดว ยตนเอง ทั้งเนื้อหา วิธีการ โดยมี ค รู เ ป น ผู ค อ ย อํ า น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก ช ว ย เ ห ลื อ ใ ห ผู เ รี ย น ไ ด ป ร ะ ส บ ความสําเร็จในการเรียน ทั้งในแงของความรูดานวิชาการและความรู ที่ใชในการดําเนินชีวิตและการทํางานในอนาคต เปนผูที่มีความ สมดุลทั้งดานจติ ใจ รา งกาย ปญญา อารมณ และสงั คม การจัดกิจกรรมการเรียนรูใหผูเรียนไดเรียนเร่ืองการจัดทํา โครงงานน้ัน นอกจากจะมีคุณคาทางดานการฝกใหผูเรียนมีความรู ความชํานาญและมีความม่ันใจในการนําเอาวิทยาศาสตรไปใชใน หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นา 4 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

การแกปญหา หรือคนควาหาความรูตาง ๆ ดวยตนเองแลว ยังให คุณคา อ่นื ๆ คือ 1) รูจ ักตอบปญ หาโดยใชก ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร ไมเ ปน คนท่หี ลงเชื่องมงายไรเ หตผุ ล 2) ไดศกึ ษาคนควา หาความรูใ นเรอื่ งที่ตนสนใจไดอ ยา งลึกซ้ึง กวาการจัดกิจกรรมการเรยี นรู ของครู 3) ทาํ ใหผูเรียนไดแสดงออกถงึ ความสามารถพิเศษของตนเอง 4) ทําใหผูเรยี นเกดิ ความสนใจเรียนในกลุม สาระการเรยี นรูน ัน้ ๆ มากยงิ่ ขนึ้ 5) ผเู รียนไดใ ชเ วลาวา งใหเ ปน ประโยชน การเรียนรูโดยใชโครงงาน สามารถชวยใหผ เู รยี นไดฝกทกั ษะ สําคญั ๆ ดังน้ี 1) สมั พันธภาพระหวางบคุ คล (Interpersonal skill) 2) การแกป ญหาและความขัดแยง (Conflict resolution) 3) ความสามารถในการถกเถยี ง เจรจา เพื่อนําไปสกู าร ตัดสนิ ใจ (Consensus on decision) 4) เทคนิคการติดตอสื่อสารระหวางบุคคลท่ีมีประสิทธิภาพ (Effective interpersonal Communication techniques) 5) การจดั การและการบริหารเวลา (Time management) 6) เตรียมผูเรียนเพ่ือจะออกไปทาํ งานรว มกับผูอ ่ืน 6.1) ทกั ษะในแงความรเู ก่ียวกับความสามารถในการควบคุม จิตใจและควบคุมตนเอง (Discipline knowledge) หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นา 5 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

6.2) ทักษะเก่ยี วกับกระบวนการกลุม (Group-process skill) 7) ชวยใหผูเรียนไดมีความรูมากข้ึน มีมุมมองหลากหลาย (Multi perspective) อันจะนําไปสูความสามารถทางสติปญญา การ รับรู ความเขาใจ การจดจํา และความสามารถในการทํางานรวมกับ ผอู ่ืนไดดยี ่ิงขึน้ 8) เพิ่มความสามารถในการเขาใจสง่ิ ตาง ๆ ไดด ีขนึ้ อนั นําไปสู ความสามารถในการคดิ วิเคราะหแ ละทักษะการส่ือสาร (Critical thinking and Communication skill) (Freeman, 1995) 9) ชวยสนับสนุนการพัฒนาทักษะการทํางานเปนทีมจากการ เรยี นรจู ากประสบการณ (Experiential learning) (Kolb, 1984) 10) การเรยี นแบบโครงงานชวยใหเ กดิ การเรยี นรแู บบรวมมือ กนั (Cooperative learning) ในกลมุ ของผเู รยี น ซึ่งผเู รียนแตล ะคน จะแลกเปล่ียนความรูซ่งึ กันและกนั ในการเรยี น โดยอาศยั กระบวนการกลุม (group dynamic) แนวคดิ สาํ คญั การเรียนรูแบบโครงงานเปน การเรยี นรูทเ่ี ชื่อมโยงหลักการ พฒั นาการคิดของบลมู (Blom) ท้ัง 6 ข้ัน คือ ความรูความจํา (Knowledge) ความเขาใจ (Comprehension) การนําไปใช (Application) การวิเคราะห (Analysis) การสังเคราะห (Synthesis) การประเมินคา (Evaluation) และยังเปน กระบวนการ เรยี นรู ตง้ั แตการวางแผนการเรยี นรู การออกแบบการเรียนรู การ หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอื่ พฒั นา 6 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

สรางสรรคป ระยุกตใชผ ลผลติ และการประเมนิ ผลงานโดยผูสอนมี บทบาทเปนผูจัดการเรียนรู แคทซและชารด (Katz and Chard , 1994) กลาวถึงการสอน แบบโครงงานวา วิธีการสอนน้ีมีจุดมุงหมายที่จะพัฒนาผูเรียนทั้งชีวิต และจิตใจ (Mind) ซ่ึงชีวิตจิตใจในท่ีน้ีหมายรวมถึง ความรู ทักษะ อารมณ จริยธรรม และความรสู กึ ถงึ สนุ ทรียศาสตรและไดเสนอวาการ จัดการเรยี นการสอนโดยใชการสอนแบบโครงงานวาควรมีเปาหมาย หลกั 5 ประการ คอื 1) เปาหมายทางสติปญญาและเปาหมายทางจิตใจของผูเรียน (Intellectual Goals and the Life of the Mind) คือการจัดการเรียน การสอนแบบเตรียมความพรอม มุงใหผูเรียนมีปฏิสัมพันธกับ ส่ิงแวดลอมอยางหลากหลาย และการมีปฏิสัมพันธกับส่ิงตาง ๆ รอบตัว ผูเรียนควรจะไดเขาใจประสบการณและสิ่งแวดลอมรอบ ตัวอยางลึกซ้ึง ดังน้ันเปาหมายหลักของการเรียนระดับนี้จึงเปนการ มุงใหผูเรียนพัฒนาความรู ความเขาใจโลกท่ีอยูรอบ ๆ ตัวเขา และ ปลกู ฝงคุณลักษณะการอยากรอู ยากเรยี นใหกบั ผูเรียน 2) ความสมดุลของกิจกรรม (Balance of Activities) การสอน แบบโครงงานจะทําใหผูเรียน ไดปฏิบัติกิจกรรมท่ีเหมาะสมทั้ง กิจกรรมทางวิชาการ ใชกิจกรรมเปนสื่อทําใหเกิดการเรียนรู เปด โอกาสใหผ ูเรยี นไดท าํ กจิ กรรม คนหาความรู เปนการเรียนรูผานการ เลนและการมปี ฏิสัมพนั ธกบั สง่ิ แวดลอมตาง ๆ ท่อี ยรู อบตวั 3) สถานศึกษาคือสวนหนึ่งของชีวิต (School as Life) การ เรียนการสอนในสถานศึกษาตองเปนสวนหนึ่งในชีวิตของผูเรียน หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอื่ พฒั นา 7 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

ไมใชแยกออกจากชีวิตประจําวันโดยทั่วไป กิจกรรมในสถานศึกษา จึงควรเปนกิจกรรมที่เก่ียวของกับการดําเนินชีวิตปกติ การมี ปฏสิ ัมพนั ธก ับสิง่ แวดลอมและผูคนรอบ ๆ ตวั ผูเรยี น 4) ศกร.เปนชุมชนหนึ่งของผูเรียน (Community Ethos in the Class) ทุกคนมีลักษณะเฉพาะตัว การสอนแบบโครงงานเปดโอกาส ใหผูเรียนแตละคนไดแสดงออกถึงคุณลักษณะ ความรู ความเขาใจ ความเช่ือของเขา ในการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบนี้จึงเกิดการ แลกเปล่ียน การมีปฏิสัมพันธกันอยางลึกซึ้ง ผูเรียนไดเรียนรูความ แตกตา งของตนกบั เพือ่ น ๆ 5) การจดั กิจกรรมการเรียนรูเปนสิ่งท่ีทาทายครู (Teaching as a Challenge) ในการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบโครงงาน ครูไมใช ผูถายทอดความรูใหกับผูเรียน แตเปนผูคอยกระตุน ช้ีแนะ และให ความสะดวกในการเรียนรูของผูเรียน โครงงานบางโครงงานครู เรียนรูไปพรอม ๆ กับผูเรียน ครูรวมกันคิดหาวิธีแกปญหา ลงมือ ปฏิบัติไปดวยกัน ถือเปน การเรยี นรูร วมกนั เรอ่ื งท่ี 3 หลักการของโครงงานเพอื่ พฒั นาทกั ษะการเรยี นรู ผูเรียนจะมีความเขาใจและสามารถนําโครงงานไปใชในการ แสวงหาความรูไดอยางดี ดังนั้นผูเรียนควรมีโลกทัศนตอโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรูท่ีกวางขวาง ซึ่งจําเปนตองทําความ เขาใจหลักการของโครงงาน ซ่ึงไดประมวลหลักการเฉพาะที่สําคัญ มาใหศกึ ษาดังนี้ หลกั การของการทําโครงงานเพือ่ พัฒนาทกั ษะการเรียนรู หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอื่ พฒั นา 8 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

1) เนนการแสวงหาความรูดว ยตนเอง 2) ผเู รยี นเปนผวู างแผนในการศกึ ษาคน ควาเอง 3) ผูเ รียนลงมือปฏิบัตดิ วยตนเอง 4) ผูเ รียนเปน ผูนําเสนอโครงงานดวยตนเอง 5) ผเู รยี นรวมกําหนดแนวทางวัดผลและประเมนิ ผล จุดมุง หมายของการทาํ โครงงาน (www. thaigoodview.) 1) เพื่อใหผ ูเรียนไดศ ึกษาขอ มลู จากแหลง ความรูต าง ๆ ดวย ตนเอง 2) เพ่อื ใหผ ูเรียนไดแสดงความคดิ รเิ ริ่มสรา งสรรค 3) เพ่ือใหผูเรียนเกิดคุณลักษณะท่ีพึงประสงค เชน รูจัก ทํางานรวมกบั บคุ คลอ่นื มีความเชื่อม่นั ในตนเอง มีความรบั ผดิ ชอบฯ 4) เพื่อใหผูเรียนใชความรูและประสบการณเลือกทํา โครงงานตามความสนใจ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และแกไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 หมวด 4 มาตรา 22 กลาววา “การ จัดการศึกษายึดหลักวา ใหผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและ พัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการ จัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนา ตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ” และมาตรา 24 กลาววา “การจัดกระบวนการ เรยี นรูใหสถานศกึ ษาและหนวยงานท่ีเกี่ยวของ ดําเนินการดังตอไปน้ี ... (7) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรรมใหสอดคลองกับความสนใจและ ความถนัดของผูเรียน... (11) ฝกทักษะกระบวนการคิดและการ หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นา 9 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

จัดการ การเผชิญสถานการณและการประยุกตความรูมาใชเพื่อ ปองกันและแกไขปญหา... (15) จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจาก ประสบการณจริง ฝกการปฏิบัติใหทําได คิดเปนทําเปน รักการอาน และเกิดการใฝรูอยางตอเนื่อง... (23) จัดการเรียนการสอนโดย ผสมผสานสาระความรูดานตาง ๆ อยางไดสัดสวน สมดุลกัน รวมท้ัง ปลูกฝงคุณธรรมคานิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงคไวใน ทุกวิชา ...(33) จัดการเรียนรูใหเกิดข้ึนได ทุกเวลา ทุกสถานที่ มี การประสานความรวมมือกับบิดามารดา ผูปกครองและบุคคลใน ชุมชนทุกฝาย เพอื่ รวมการพัฒนาผูเรียนตามศกั ยภาพ” “โ ค ร ง ง า น เ ป น กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ที่ ใ ช เ พ่ื อ พั ฒ น า ความสามารถของผูเรียน อีกท้ังยังเปนกิจกรรมที่ตอบสนองตอ กระบวนการเรียนรทู ีเ่ นนผูเรยี นเปน สาํ คญั จงึ มีความจําเปนอยางยิ่งที่ ค รู ต อ ง นํ า ไ ป ใ ช ใ น ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู เ พื่ อ พั ฒ น า ความสามารถของผูเรียนในทุกสาระการเรียนรู ซึ่งผูเรียนตองมี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร เ ลื อ ก ส ร ร ใ ห ถู ก ต อ ง แ ล ะ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ร ะ ดั บ การศึกษาของตนเอง รวมถึงความสามารถในการนําความรูที่เกิดจาก การเสาะแสวงหาไปประยุกตใ ชในชวี ิตจริงได จงึ นับวาเปนการปฏิรูป ผูเรียนใหรูจักแสวงหาความรูดวยตนเองจากสื่อท่ีหลากหลายอยาง ตอ เนือ่ งและยงั่ ยืน” ยุทธ ไกยวรรณ (2546 : 11) กลาววา หลักการของการเรียน วิชาโครงงานเนนและเปดโอกาสใหผูเรียนคิดเอง วางแผนการ ทํางานเอง ลงมือปฏิบัติงานดวยตนเอง นําเสนอโครงงาน และรวม กําหนด แนวทางการวัดผลดวย โดยมีครูเปนผูอํานวยความสะดวก หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอื่ พฒั นา 1 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006) 0

และช้ีแนะแนวทางการทํางาน รวมกันแกปญหากับผูเรียนระหวาง การทําโครงงาน การจัดการเรียนรูการทําโครงงานควรอยูบนพื้นฐานความเช่ือ และหลักการปฏิรูปการเรียนรู คือ เชื่อมั่นในศักยภาพการเรียนรูของ ผู เ รี ย น ภ า ย ใ ต ห ลั ก ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู ที่ ยึ ด ผู เ รี ย น เ ป น สํ า คั ญ แ ล ะ สอดคลองกับสภาพความเปนจริงในทองถ่ิน (บูรชัย ศิริมหาสารคร. 2549 : 19) คือ 1) ผูเรียนไดเลือกเรื่อง ประเด็น ปญหาท่ีตองการจะศึกษาดวย ตนเอง 2) ผู เ รี ย น ไ ด เ ลื อ ก แ ล ะ ห า วิ ธี ก า ร ต ล อ ด จ น แ ห ล ง ข อ มู ล ท่ี หลากหลายดว ยตนเอง 3) ผเู รยี นลงมือปฏบิ ัติและเรยี นรูดว ยตนเอง 4) ผูเรียนไดบูรณาการทักษะ ประสบการณ ความรู ส่ิงแวดลอม ตามสภาพจรงิ 5) ผเู รียนเปน ผสู รปุ และสรางองคค วามรดู ว ยตนเอง 6) ผูเรยี นไดแ ลกเปล่ยี นเรียนรูก ับผอู ื่น 7) ผเู รยี นไดน ําความรไู ปใชจ ริง (สํานกั งาน กศน.ภาคเหนือ. 2552 : 125) หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอื่ พฒั นา 1 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006) 1

กจิ กรรมทา ยบท บทท่ี 1 ใบงานที่ 1 เรอื่ ง ความหมาย แนวคดิ และหลกั การของ โครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการ คาํ ชแ้ี จง ใหผ ูเ รยี นตอบคาํ ถามใหสมบรู ณ ขอ ที่ 1 “โครงงาน” คือ. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ในขอสงสยั เรือ่ งใดเร่อื งหนง่ึ อยาง ลกึ ซงึ้ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . เกิดภาระงาน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ที่เรียกวา การทาํ โครงการหรอื การทํารายงาน ธรรมดา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ........... ขอ ที่ 2 ใหผ ูเรียนบอกทักษะทส่ี ําคัญ ๆ จากการเรียนรูโ ดยการ ทาํ โครงงาน มาอยางนอ ย 4 ทักษะ 2.1. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ................................................. ................................... หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นา 1 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006) 2

2.2. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ................................................. .................................... 2.3. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ................................................. .................................... 2.4. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ................................................. .................................... 2.5. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ................................................. .................................... ขอท่ี 3 คุณคาทีผ่ ูเรยี นไดรบั จากการจัดทาํ โครงงาน เชน คณุ คา ทางดานการฝกใหม คี วามรู ความชํานาญและความม่ันใจใน การนาํ เอาวิทยาศาสตรมาใชใ นการแกป ญหาหรอื คน ควาหาความรู ดวยตนเอง แลว ผูเ รยี นคดิ วาไดรับคณุ คาอยางอ่ืนอะไรอีกบาง จง ตอบมาอยา งนอ ย 3 ขอ 3.1. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นา 1 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006) 3

................................................. .................................... 3.2. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ................................................. ..................................... 3.3. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ................................................. ..................................... 3.4. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ................................................. ...................................... ขอท่ี 4 การสอนแบบโครงงาน แคทซและชารด กลา ววา เปน วิธีการสอนท่ีมีจุดมุงหมายในการพัฒนาเด็กท้ังชีวิตและจิตใจ (Mind) คําวา “ชีวิตจิตใจ” ในท่ีน้ีหมายรวมถึง อะไรบา ง. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ........................................... ................................................. ...................... หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นา 1 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006) 4

................................................. ...................... ................................................. ...................... ................................................. ...................... ................................................. ...................... ................................................. ...................... ................................................. ...................... ขอท่ี 5 ใหผเู รยี นบอกหลักการของการจัดทําโครงงานเพ่ือ พัฒนาทักษะการเรียนรู มาอยา งนอย 3 ขอ 5.1. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ................................................. ................................... ................................................. ...................... 5.2. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอื่ พฒั นา 1 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006) 5

................................................. ................................... ................................................. ...................... 5.3. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ................................................. .................................... ................................................ ....................... 5.4. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ................................................. .................................... ................................................. ...................... หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอื่ พฒั นา 1 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006) 6

บทที่ 2 ประเภทของโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการเรยี นรู สาระสาํ คญั การจดั ทาํ โครงงานเพ่อื พฒั นาทักษะการเรียนรู นอกจากผูเรียน จะตองรูและเขาใจถึงความหมาย แนวคิดและหลักการของโครงงาน แลว ผูเรียนยังจะตองรู เขาใจและมีทักษะในการจําแนกรูปแบบของ โครงงาน ซงึ่ เปนประโยชนในการจัดทําโครงงานไดอยางมีเปาหมาย ชัดเจนและนําไปสูความสําเร็จ คือ เกิดการเรียนรูและคนพบองค ความรูด วยตนเอง ผลการเรยี นท่คี าดหวงั เพ่ือใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับการจําแนก ประเภทของโครงงานเพอื่ พัฒนาทกั ษะ การเรียนรู ขอบขา ยเนอื้ หา เรอ่ื งท่ี 1 ประเภทของโครงงาน การจําแนกประเภทของโครงงานอาจแบง ไดห ลายลักษณะ เชน 1. จําแนกตามกิจกรรมการเรียนของผูเรียน ซึ่งแบงเปน 2 ประเภท ไดแก หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะ 9 การเรยี นรู (ทร 02006)

1.1 โครงงานตามสาระการเรียนรู เปนการกําหนดโครงงานที่ บูรณาการระหวางสาระ การเรียนรูและทักษะการแสวงหา ความรเู พ่อื สรา งองคความรูใหม ๆ ดว ยตนเอง 1.2 โครงงานตามความสนใจ เปนการกําหนดโครงงานตาม ความถนัด ความสนใจ ความตองการ ของผูเ รียน 2. จาํ แนกตามวัตถุประสงคข องโครงงาน ซ่งึ แบง เปน 4 ประเภท ไดแ ก 2.1 โครงงานทเ่ี ปนการสาํ รวจ รวบรวมขอ มูล 2.2 โครงงานทีเ่ ปน การศกึ ษาคนควา ทดลอง 2.3 โครงงานท่ีเปน การศึกษาทฤษฎี หลกั การ หรือแนวคดิ ใหม ๆ ในการพัฒนาผลงาน 2.4 โครงงานทเ่ี ปนการสรางประดิษฐ คิดคน โดยมรี ายละเอยี ดในแตละประเภทของ ดงั น้ี 1.โครงงานท่ีเปนการสํารวจ รวบรวมขอมูล เปนโครงงานท่ีมี วัตถปุ ระสงคในการรวบรวมขอมลู เรือ่ งใดเร่ืองหน่ึง แลวนําขอมูลนั้นมาจําแนกเปนหมวดหมู ในรูปแบบ ทเ่ี หมาะสม ขอ มลู ท่ีไดจ ะนาํ ไปปรบั ปรงุ พฒั นาผลงาน สงเสริมผลผลิต ใหมีคุณภาพดียิ่งขึ้น ขอมูลดังกลาว อาจมีผูจัดทําข้ึนแลว แตมีการ เปลยี่ นแปลง จึงตอ งมีการจัดทําใหมเพ่ือใหมีความทันสมัย สอดคลอง กับความตองการของผูศึกษาโครงงาน โดยใชวิธีการเก็บขอมูลดวย แบบสอบถาม แบบสมั ภาษณ แบบบันทึก เชน การสํารวจแหลงเรียนรู หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะ 10 การเรยี นรู (ทร 02006)

ในชุมชน การสํารวจงานบริการและสถานประกอบการในทองถ่ิน เปนตน ในการทําโครงงานประเภทสํารวจรวบรวมขอมูลไมจาํ เปนตองมี ตวั แปรเขามาเก่ียวของ ผูเรียนเพียงแตสํารวจรวบรวมขอมูลที่ไดแลว และนําขอมูลท่ีไดมาจัดใหเปนหมวดหมูพรอมนําเสนอ ก็ถือวาเปน การสํารวจรวบรวมขอมลู 2.โครงงานที่เปนการศึกษาคนควา ทดลอง เปนโครงงานที่มี วัตถุประสงค เพื่อการศึกษาเรื่องใดเร่ืองหน่ึงโดยเฉพาะ โดยศึกษา หลักการและออกแบบการคนควา ในรูปแบบการทดลองเพ่ือยืนยัน หลักการ ทฤษฎี เพ่ือศึกษาหาแนวทางในการเพ่ิมคุณคา และการใช ประโยชนใหมากขน้ึ เชน การปลูกพืชโดยไมใชสารเคมี การทําขนม อบชนิดตาง ๆ โดยใชวัสดุในทองถิ่น การควบคุมการเจริญเติบโต ของตนไมป ระเภทเถา การศกึ ษาสตู รเคร่ืองดื่มที่ผลิตจากธญั พชื ในการทาํ โครงงานประเภทการศกึ ษาคนควา ทดลอง จําเปน ตองมีการจดั การกับตัวแปรทจ่ี ะมผี ลตอการทดลอง มี 3 ชนดิ คือ 2.1 ตัวแปรตน หรือตัวแปรอิสระ หมายถงึ เหตุของการทดลอง นนั้ ๆ 2.2 ตัวแปรตาม ซง่ึ จะเปนผลทเ่ี กิดจากการเปลย่ี นแปลงของ ตัวแปรตน หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอื่ พฒั นาทกั ษะ 11 การเรยี นรู (ทร 02006)

2.3 ตัวแปรแทรกซอน (Extraneous Variables) เปนตัวแปร อื่น ๆ ท่อี าจมผี ลตอตัวแปรตาม โดยผวู ิจยั ไมตองการใหเกิด เหตกุ ารณน ้ันขึ้น 3.โครงงานท่เี ปนการศึกษาทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดใหม ๆ เปนโครงงานที่มีวัตถุประสงคเพ่ือเสนอความรู หรือหลักการใหม ๆ เกี่ยวกับเรื่องใดเร่ืองหน่ึงที่ยังไมมีใครเคยคิด หรือคิดขัดแยง หรือ ขยายจากของเดิมที่มีอยู จากเน้ือหาวิชาการ หลักการ ทฤษฎีตาง ๆ นํามาปรับปรุง พัฒนาใหสอดคลองมีความชัดเจน มีผลงานที่เปน รูปธรรม ซึ่งตองผานการพิสูจนอยางมีหลักการและเช่ือถือได เชน การใชสมุนไพรในการปราบศัตรูพืช การใชพลังงานแสงอาทิตยใน การถนอมอาหารและปรุงอาหาร เกษตรแบบผสมผสาน เทคนิคการ แกโ จทยป ญ หา การทําโครงงานประเภทนี้ ผูทําโครงงานจะตองมีความรูใน เร่ืองนั้น ๆ เปนอยางดี จะสามารถอธิบายไดอยางมีเหตุผลและ นาเช่อื ถือ จงึ ไมเหมาะท่ีจะทาํ ในระดับผูเรียนมากนัก 4.โครงงานที่เปนการสรางประดิษฐ คิดคน เปนโครงงานที่มี วัตถุประสงค คือ การนําความรูทฤษฎี หลักการ มาประยุกตใชโดย ประดิษฐเ ปนเครอื่ งมือเคร่ืองใช เพอื่ ประโยชนต าง ๆ หรืออาจเปนการ สรางสรรคส่ิงประดิษฐข้ึนมาใหม หรือปรับปรุงของเดิมใหดีข้ึนใช ประโยชนไดมากยิ่งข้ึน เชน การประดิษฐเคร่ืองควบคุมการรดนํ้า การประดิษฐเคร่ืองรับวิทยุ การประดิษฐของชํารวย การออกแบบ เสอ้ื ผา หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะ 12 การเรยี นรู (ทร 02006)

จากสาระสําคัญของการจัดประเภทโครงงาน ผูเรียนจะเห็นได วาโครงงานอาจจําแนกประเภทไดหลายแนวคิด เชน จําแนกตาม กิจกรรมการเรียนรูของการจัดทําโครงงานเปน 2 ประเภท คือ 1) โครงงานตามสาระการเรียนรู 2) โครงงานตามความสนใจ และ จาํ แนกตามวตั ถปุ ระสงคใ นการจัดทําโครงงานเปน 4 ประเภท คือ 1) โครงงานท่ีเปนการสํารวจ รวบรวมขอมูล หรือโครงงานประเภท สํารวจ 2) โครงงานที่เปนการศึกษาคนควา ทดลอง หรือโครงงาน ประเภททดลอง 3) โครงงานที่เปนการศึกษาทฤษฎี หลักการ หรือ แนวคิดใหม ๆ หรือโครงงานประเภทพัฒนา 4) โครงงานที่เปนการ สรา ง ประดษิ ฐ คดิ คน หรือโครงงานประเภทประดษิ ฐ การเรยี นรเู รื่องประเภทของโครงงานจะเปน ประโยชนตอผูเรียน ในการตดั สนิ ใจออกแบบโครงงานใหสนองตอวัตถุประสงคท่ีตองการ จะศกึ ษาไดอ ยา งเหมาะสม หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะ 13 การเรยี นรู (ทร 02006)

กจิ กรรมทา ยบท บทที่ 2 ใบงานที่ 2 เรอ่ื ง ประเภทของโครงงานเพื่อพัฒนาทกั ษะการ คาํ ชแี้ จง ใหผ เู รยี นตอบคาํ ถามใหส มบรู ณ ขอที่ 1 การจาํ แนกประเภทโครงงานตามกจิ กรรมการเรียนรู แบงออกเปนก่ีประเภท อะไรบาง ............................................. ................................................ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ................................................. ................................................ ................................................. ................. ขอ ท่ี 2 การจําแนกประเภท โครงงาน ตามวัตถุประสงคของ โครงงาน แบง ออกเปนกี่ประเภท อะไรบา ง ............................................. ................................................ หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะ 14 การเรยี นรู (ทร 02006)

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ................................................. ................................................ ................................................. ................. ขอท่ี 3 โครงงานประเภทใดไมจ าํ เปน ตอ งกําหนดตัวแปรในการ ทําโครงงานน้ัน พรอมอธิบายเหตุผลประกอบ ............................................. ................................................ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ................................................. ................................................ ................................................. ................................................ .................. ................................................. ................................................ ............................................... ขอท่ี 4 ตัวแปรทใ่ี ชในการศกึ ษาคนควาทดลองมีกี่ชนดิ อะไรบา ง หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะ 15 การเรยี นรู (ทร 02006)

............................................. ................................................ ................................................. ................................................ .................... ................................................. ................................................ ............................................... ................................................. ................................................ ............................................... ................................................. ................................................ ............................................... ................................................. ....................... ................................................. ................................................ ............................................... ขอ ที่ 5 การทําโครงงานประเภทใดท่ไี มเ หมาะสําหรบั ผูเ รียน มากนกั เพราะเหตุใด หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอื่ พฒั นาทกั ษะ 16 การเรยี นรู (ทร 02006)

............................................. ................................................ ................................................. ................................................ .................... ................................................. ................................................ ............................................... ................................................. ....................... ................................................. ................................................ ............................................... หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะ 17 การเรยี นรู (ทร 02006)

บทท่ี 3 ทกั ษะทจี่ าํ เปน ในการทาํ โครงงานเพอื่ พฒั นาทกั ษะการ เรยี นรู สาระสําคญั ความสามารถท่จี ะนํานวตั กรรมการจัดทําโครงงานไปเปน เครอื่ งมอื แสวงหาความรูในทางปฏบิ ตั ิ ไดนัน้ ผูเ รยี นจาํ เปนตองมี ทักษะเฉพาะทางในบางประการ การเรียนรูทกั ษะเหลา นัน้ จงึ เปน สงิ่ จาํ เปน สําหรับผเู รยี น ผลการเรยี นท่คี าดหวัง เพื่อใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ และมีทักษะในการทํา โครงงานเพอ่ื พัฒนาทักษะการเรียนรู ขอบขา ยเนอื้ หา ทกั ษะที่จําเปน ในการทําโครงงานเพ่อื พฒั นาทกั ษะการเรียนรู เรือ่ งท่ี 1 ทกั ษะดา นการจดั การขอ มลู สารสนเทศ เร่ืองที่ 2 ทักษะการคิดอยางเปนระบบ เรอ่ื งที่ 3 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร เร่ืองที่ 4 ทักษะการนําเสนอ เรอ่ื งท่ี 5 ทกั ษะการพัฒนาตอยอดความรู เรอื่ งท่ี 1 ทกั ษะดา นการจดั การขอ มูลสารสนเทศ หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอื่ พฒั นา 14 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

“ ขอมูล (Data)” หมายถงึ กลุม ตัวอักขระท่ีเม่ือนํามารวมกันแลว มีความหมายอยางใดอยางหน่ึงและมีความสําคัญควรคาแกการ จัดเกบ็ เพือ่ นาํ ไปใชในโอกาสตอ ๆ ไป ขอมูลมักเปนขอความท่ีอธิบาย ถึง ส่ิงใดส่ิงหน่ึง อาจเปนตัวอักษร ตัวเลข หรือสัญลักษณใด ๆ ท่ี สามารถนําไปประมวลผลดวยคอมพิวเตอรไ ด (www. itdestination.) “ ขอ มลู (Data) “ หมายถงึ ขา วสาร เอกสาร ขอเท็จจรงิ เกย่ี วกบั บุคคล ส่ิงของหรือเหตุการณในรูปแบบของตัวเลข ภาพ ตัวอักษร และสัญลักษณตาง ๆ เชนคะแนนสอบวิชาภาษาไทย ราคาสินคา จํานวนผูเรียนในโรงเรียน (www. thaigoodview.) “ขอมูล” หมายถึง ขอเท็จจริงตาง ๆ ท่ีมีอยูในธรรมชาติ เปน กลุมสัญลักษณแทนปริมาณ หรือการกระทําตาง ๆ ท่ียังไมผานการ วิเคราะห หรือการประมวลผล ขอมูลอยูในรูปของตัวเลข ตัวหนังสือ รปู ภาพ แผนภมู ิ เปนตน (www. internationalschool.) “สารสนเทศ (Information)” หมายถึง ขอมูลตาง ๆ ที่ไดผาน การเปล่ียนแปลงหรือมีการประมวลผลหรือวิเคราะหสรุปผลดวย วิธีการตาง ๆ แลวเก็บรวบรวมไว เพ่ือนํามาใชประโยชนตามตองการ การประมวลผล (Data Processing) เปนการนําขอมูลจากแหลงตาง ๆที่เก็บรวบรวมไวมาผานกระบวนการตาง ๆเพ่ือแปรสภาพขอมูลให เปน ระบบและอยูในรปู แบบท่ีตองการ (www. thaigoodview.) “สารสนเทศ” หมายถึง ขอมูลท่ีผานการเปลี่ยนแปลง หรือจัด กระทําเพ่ือผลของการเพ่ิมความรู ความเขาใจของผูใช ลักษณะของ หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นา 15 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

สารสนเทศ จะเปน การรวบรวมขอมูลหลาย ๆ อยางที่เก่ียวของกันเพื่อ จุดมุงหมายอยา งใดอยา งหน่ึง (internationalschool. eduzones.) “แหลงขอมูล” หมายถึง สถานท่ีหรือแหลงที่เกิดขอมูล แหลงขอมูลจะแตกตางกันไปตามขอมูลท่ีตองการ เชน บานเปน แหลงขอมูลท่ีเกี่ยวกับผูเรียน โดยบันทึกขอมูลไวในทะเบียนบาน หองสมุดเปนแหลงขอมูลเกี่ยวกับความรูตาง ๆ ขอมูลบางอยางเรา อาจจะนํามาจากแหลงขอมูลหลายแหลงได เชนราคาของเลนชนิด เดียวกัน เราอาจจะหาขอมูลจากแหลงขอมูลซ่ึงไดแกรานคาหลาย ๆ รานได และขอมูลหรือราคาที่ไดอาจจะแตกตางกันไป หนังสือพิมพ เปนแหลงขอมลู ทมี่ ที ั้งขอความ ตัวเลข รูปภาพ การเลอื กใชข อ มลู (www. 202. 143. 159. 117) การเลือกใชขอมูลในการตัดสินใจ เปนส่ิงท่ีมีประโยชนมาก เพราะในการดํารงชีวิตของคนเรามักเกี่ยวของกับเหตุการณตาง ๆ มากมาย จึงจําเปนตองอาศัยการตัดสินใจอยางมีระบบระเบียบ มีหลัก มีเกณฑและมีเหตุผล โดยนําปจจัยตาง ๆ มาพิจารณากอนที่จะ ตัดสินใจ เพื่อใหทางเลือกที่ดีที่สุด ซึ่ ง ต อ ง อ า ศั ย ท้ั ง ค ว า ม รู ประสบการณ ขอมูล ขาวสารตาง ๆ เปนสวนประกอบ เพ่ือไมใหเกิด ความผดิ พลาดหรอื โอกาสที่จะผิดพลาดมีนอ ยทส่ี ดุ การจดั ทาํ ขอ มลู ใหเ ปน สารสนเทศ (www. krutong.) การจัดทําขอมูลใหเปนสารสนเทศท่ีจะเปนประโยชนตอการใช งาน จําเปนตองอาศัยเทคโนโลยี เขามาชวยในการดําเนินการ เริ่ม หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นา 16 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

ตั้งแตการรวบรวม และตรวจสอบขอมูล การดําเนินการประมวลผล ขอมูลใหกลายเปนสารสนเทศ และการดูแลรักษาสารสนเทศเพ่ือการ ใชง าน ดงั ตอไปน้ี ก. การรวบรวมและตรวจสอบขอมลู 1) การเก็บรวบรวมขอมูล เปนเรื่องของการเก็บรวบรวม ขอมูลซึ่งมีจํานวนมาก และตองเก็บใหไดอยางทันเวลา เชน ขอมูล การลงทะเบียนเรียน ขอมูลประวัติบุคลากร ปจจุบันมีเทคโนโลยีชวย ในการจัดเก็บอยูเปนจํานวนมาก เชน การปอนขอมูลเขาเคร่ือง คอมพิวเตอร การอานขอมูลจากรหัสแทง การตรวจใบลงทะเบียนที่มี การฝนดินสอดําในตําแหนงตาง ๆ เปนวิธีการเก็บรวบรวมขอมูล เชนกัน 2) การตรวจสอบขอมูล เมื่อมีการเก็บรวบรวมขอมูลแลว จําเปนตองมกี ารตรวจสอบขอมูล เพ่ือความถูกตอง ขอมูลท่ีเก็บเขาใน ร ะ บ บ ต อ ง มี ค ว า ม เ ชื่ อ ถื อ ไ ด ห า ก พ บ ที่ ผิ ด พ ล า ด ต อ ง แ ก ไ ข การตรวจสอบขอมูลมีหลายวิธี เชน การใชผูปอนขอมูลสองคนปอน ขอ มลู ชดุ เดยี วกันเขา คอมพิวเตอรแลว เปรยี บเทยี บกนั ข. การประมวลผลขอมลู แบง ออกเปน 3 ประเภท คอื 1) การประมวลผลดวยมือ วิธีน้เี หมาะกบั ขอ มลู จาํ นวนไมม าก และไมซ ับซอน อปุ กรณในการคํานวณไดแ ก เครือ่ งคิดเลข ลูกคดิ หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอื่ พฒั นา 17 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

2) การประมวลผลดวยเคร่ืองจักร วิธีนี้เหมาะกับขอมูล จํานวนปานกลาง และไมจําเปนตองใชผลในการคํานวณทันทีทันใด เพราะตองอาศัย เครือ่ งจักร และแรงงานคน 3) การประมวลผลดวยคอมพิวเตอร วิธีน้ีเหมาะกับงานที่มี จํานวนมาก ไมสามารถใชแรงงานคนได และงานมีการคํานวณที่ ยุงยาก ซับซอน การคํานวณดวยเครื่องคอมพิวเตอร จะใหผลลัพธที่ ถูกตอ ง แมนยาํ และรวดเร็ว ลาํ ดบั ขน้ั ตอนในการประมวลผลขอมลู มดี งั น้ี 1) การจัดแบงกลุมขอมูล ขอมูลที่เก็บจะตองมีการแบงแยก กลุม เพ่ือเตรียมไวสําหรับการใชงาน การแบงแยกกลุมมีวิธีการท่ี ชัดเจน เชน ขอมลู ในโรงเรียนมีการแบง เปนแฟมประวัตินักเรียน และ แฟมลงทะเบียน สมุดโทรศัพทหนาเหลืองมีการแบงหมวดสินคาและ บริการ เพื่อความสะดวกในการคน หา 2) การจดั เรียงขอ มลู เม่อื จัดแบงกลุมเปนแฟมแลว ควรมีการ จัดเรียงขอมูลตามลําดับ ตัวเลข หรือตัวอักษร เพ่ือใหเรียกใชงานได งายประหยัดเวลา ตัวอยางการจัดเรียงขอมูล เชน การจัดเรียงบัตร ขอมูลผูแตงหนังสือในตูบัตรรายการของหองสมุดตามลําดับตัวอักษร การจดั เรยี งชอ่ื คนในสมุดรายนามผใู ชโ ทรศัพท ทาํ ใหค นหาไดงาย 3) การสรุปผล บางครั้งขอมูลท่ีจัดเก็บมีเปนจํานวนมาก จําเปนตองมีการสรุปผลหรือสรางรายงานยอ เพื่อนําไปใชประโยชน ขอมูลที่สรุปไดน้ีอาจส่ือความหมายไดดีกวา เชน สถิติจํานวน นักเรียนแยกตามระดับแตล ะระดบั การศกึ ษา หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นา 18 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

4) การคํานวณ ขอมูลที่เก็บมีเปนจํานวนมาก ขอมูลบางสวน เปนขอมูลตัวเลขที่สามารถนําไปคํานวณเพ่ือหาผลลัพธบางอยางได ดงั นั้นการสรางสารสนเทศจากขอมูลจึงอาศัยการคํานวณขอมูลท่ีเก็บ ไวดว ย ค. การจดั เกบ็ และดแู ลรกั ษาขอมลู ประกอบดว ย 1) การเกบ็ รกั ษาขอ มลู การเก็บรกั ษาขอ มูล หมายถงึ การนําขอมูลมาบันทึกเก็บไว ในสอื่ บนั ทึกตา ง ๆ เชน แผน บนั ทึกขอมลู นอกจากนี้ยังรวมถงึ การ ดแู ล และการทาํ สาํ เนาขอมลู เพื่อใหใชงานตอไปในอนาคตได 2) การคน หาขอมลู ขอ มลู ทจ่ี ดั เก็บไวมีจดุ ประสงคท่ีจะเรยี กใชงานไดตอไป การ คน หาขอมลู จะตองคนไดถ กู ตองแมนยํา รวดเร็ว จงึ มีการนาํ คอมพวิ เตอรเขามามีสว นชว ยในการทํางาน ทาํ ใหการเรียกคน กระทําไดง า ยและทันเวลา 3) การทาํ สาํ เนาขอ มลู การทําสําเนาเพ่ือที่จะนาํ ขอ มลู เก็บรักษาไว หรอื นาํ ไป แจกจายในภายหลัง จึงควรจัดเกบ็ ขอมลู ใหงายตอการทําสาํ เนา หรอื นําไปใชอีกครั้งไดโ ดยงาย 4) การสอื่ สาร ขอมูลตองกระจายหรือสงตอไปยังผูใชงานท่ีหางไกลไดงาย การสอ่ื สารขอมลู จึงเปน เรอื่ งสําคัญและมีบทบาทท่ีสําคัญยิ่งท่ีจะทําให การสง ขา วสารไปยังผใู ชทําไดรวดเรว็ และทนั เวลา หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นา 19 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

ปจจุบันผูบริหารตองสามารถปฏิบัติงานใหรวดเร็ว เพื่อ ตอบสนองตอการแขงขันตลอดจนการผลักดันของสังคมท่ีมีการใช ระบบสื่อสารขอมูลที่ทันสมัย การแขงขันในเชิงธุรกิจจึงมากข้ึน ตามลาํ ดับ มกี ารใชเทคนิคทางคอมพวิ เตอรมาวิเคราะห แยกแยะ และ จัดสรรขอมูลใหเ ปน สารสนเทศ เพ่ือการตดั สินใจ ค ว า ม ก า ว ห น า ท า ง เ ท ค โ น โ ล ยี ทํ า ใ ห ค อ ม พิ ว เ ต อ ร มี ความสามารถมากขึ้น มีขนาดเล็กลง และราคาถูกลง การนํา ค อ ม พิ ว เ ต อ ร ม า ใ ช ง า น จึ ง แ พ ร ห ล า ย อ ย ง ร ว ด เ ร็ ว ตลอดจน ระบบสื่อสารกาวหนายิ่งขึ้น ซึ่งเปนผลทําใหระบบขอมูลขององคการ ท่ีใชเ ทคโนโลยีเหลา นม้ี ปี ระสิทธภิ าพมากข้ึน แ น ว ท า ง ก า ร ดํ า เ นิ น ก า ร ใ ห ไ ด ร ะ บ บ ส า ร ส น เ ท ศ เ พ่ื อ ก า ร จัดการจะเร่ิมจากการวิเคราะหความตองการ การวิเคราะหนี้จะไดจา การสอบถาม ซ่ึงจะทําใหทราบวาควรจะจัดโครงสรางขอมูลนั้นไวใน ระบบหรอื ไม ถาจัดเกบ็ จะประกอบดวยขอมูลอะไร มีรายละเอียดอะไร ตอบสนองการใชง านไดอ ยางไร ลกั ษณะของสารสนเทศทดี่ ตี อ งประกอบไปดว ยรายละเอยี ด ดงั นี้ 1) ความเที่ยงตรง (Accuracy) หมายถึง ปราศจากความเอน เอียง สารสนเทศที่ดีตองบอกลักษณะความเปนจริงท่ีเกิดขึ้น ไมช้ีนํา ไปทางใดทางหนึง่ 2) ตรงตามความตองการของผูใช (Relevancy) หมายถึง มี เนื้อหาตรงกบั เรอ่ื งท่ีตอ งการใชข องผใู ชแ ตละคน หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอื่ พฒั นา 20 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

3) ทันตอเวลา (Timeliness) หมายถึง สามารถนําสารสนเทศที่ ตองการไปใชไดทันตอเหตุการณท่ีเกิดขึ้น การจัดเตรียมสารสนเทศ ใหทันตอเวลาท่ีตองการใช มี 2 ลักษณะ คือ การจัดทําสารสนเทศ ลว งหนาตามกาํ หนดเวลาท่ีเหตุการณจะเกิดในอนาคต และการจัดทํา สารสนเทศอยางรวดเร็วเพื่อนําไปใชใ นเหตุการณท ก่ี ําลังเกดิ ขึน้ เรอื่ งที่ 2 ทักษะการคดิ อยา งเปน ระบบ ผูเรียนทุกคนตองมีประสบการณในการคิดเรื่องใด ๆ มาบาง แลว แตมีขอสังเกตวาบางคนอาจจะไมเคยตอบตนเองวา ความคิดคือ อะไ ร ซ่ึ ง ร าชบั ณฑิ ตสถ าน ไ ดใ หคว าม หมา ยข อง คํ าว า ” คิด ” หมายความวา ทําใหปรากฏเปนรูปหรือประกอบใหเปนรูปหรือเปน เรื่องข้ึนในใจ ใครครวญ ไตรตรอง คาดคะเน คํานวณ มุง จงใจ ต้ังใจ” ซึ่งสรุปไดวาการคิดเปนหนาที่หนึ่งของจิต ในขณะท่ีขอมูล ทางการแพทยคนพบวามนุษยใชสมองในการคิด และสมองซีกซาย คิดในเร่ืองของการมีเหตุผล และสมองซีกขวาคิดในเรื่องท่ีเปน อารมณความรูสึก การทําความเขาใจเกี่ยวกับการคิดมีขอบขายของ การเรียนรูเร่ืองความคิดไวโดยจัด มิติของการคิด (Dimension of Thinking) ไวเปนมติ ิตาง ๆ (เสนห จยุ โต) ไดแก 1. มิติเน้ือหาท่ีใชในการคิด ซึ่งประกอบดวยสาระเก่ียวกับ ขอมูลเก่ียวกับตนเอง ขอมูลเกี่ยวกับสังคมและสิ่งแวดลอม และขอมูล วิชาการ วิชาชพี 2. มิติดานคุณสมบัติที่เอ้ืออํานวยตอการคิด ซึ่งประกอบดวย สาระเกี่ยวกับคุณลักษณะของความเปนคนใจกวางและเปนธรรม หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นา 21 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

กระตือรือรนใฝเรียนใฝรู ชางวิเคราะหและบูรณาการ มุงม่ันสู ความสําเรจ็ และมีมนุษยสัมพันธ นา รักนา คบ 3. มิติดานทักษะการคดิ ซึง่ ประกอบดวยสาระเก่ียวกับ ทักษะสื่อ ความหมาย (การฟง การอาน การจดจํา การบรรยาย การทําให กระจาง การพูด การเขียน) และทักษะที่เปนแกน (การสังเกต การสํารวจ การซักคําถาม การจําแนกแยกแยะ การเปรียบเทียบ การเชื่อมโยง และการสรุปรวบยอด) 4. มิติดานลักษณะการคิด ซ่ึงประกอบดวยสาระเกี่ยวกับ คิด คลอง คิดหลากหลาย คิดละเอียด คิดอยางมีเหตุผล คิดไกล และ คดิ ถูกทาง 5. มิติดานกระบวนการคิด ซึ่งประกอบดวยสาระเกี่ยวกับ การ คดิ “10 ชนิด” ไดแก 5.1 การคิดแบบวจิ ารณญาณ (Critical Thinking) 5.2 การคิดแบบรเิ ริ่ม (Initiative Thinking) 5.3 การคดิ แบบสรางสรรค (Creative Thinking) 5.4 การคิดแบบกลยุทธ (Strategic Thinking) 5.5 การคิดแบบอยางเปนระบบ (System Thinking) 5.6 การคิดแบบบรู ณาการ (Integrative Thinking) 5.7 การคิดแบบเชิงเปรยี บเทียบ (Comparative Thinking) 5.8 การคิดเชงิ ประยุกตใ ช (Application Thinking) 5.9 การคิดเชิงสังเคราะห (Synthesis Thinking) 5.10 การคิดแบบแผนที่ (Mind Map Thinking) หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอื่ พฒั นา 22 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

6. มิติดานการควบคุมและประเมินความคิดของตน ซ่ึง ประกอบดวยสาระเก่ียวกับ ประสิทธิผลของการบริหารมีวิธีการที่ดีขึ้น ปรับปรุงระบบงานดีขึ้น การพัฒนาสรางนวัตกรรมใหม สรางความ ไดเปรยี บในการแขง ขัน ศรินธร วิทยะสิรินันท ไดกลาววา ทักษะการคิด หมายถึง ความสามารถในการคิดในลักษณะตาง ๆ ซึ่งเปนองคประกอบของ กระบวนการคิดท่ีสลับซับซอน ทักษะการคิดอาจจัดเปนประเภทใหญ ๆ ได 2 ประเภท คือ 1. ทักษะพ้ืนฐาน (basic skills) หมายถึง ทักษะการคิดท่ีเปน พ้ืนฐานเบ้ืองตนตอการคิดในระดับท่ีสูงข้ึนหรือซับซอน ซ่ึงสวนใหญ จะเปนทักษะการสื่อความหมายท่ีบุคคลทุกคนจําเปนตองใชในการ สื่อสารความคิดของตน ไดแก ทั ก ษ ะ ก า ร ส่ื อ ค ว า ม ห ม า ย (communication skills) และทักษะการคิดท่ีเปนแกนหรือทักษะการ คิดทวั่ ไป (core or general thinking skills) 1.1 ทักษะการส่ือความหมาย ไดแก การฟง (listening) การ อาน (reading) การ รับรู (perceiving) การ จด จํา (memorizing) การจํา (remembering) การคงส่ิงที่เรียนไปแลวไว ไดภายหลังการเรียนนั้น (retention) การบอกความรูไดจากตัวเลือก ท่ีกําหนดให (recognizing) การบอกความรูออกมาดวยตนเอง (recalling) การใชขอมูล (using information) การบรรยาย ( describing) ก า ร อ ธิ บ า ย ( explaining) ก า ร ทํ า ใ ห ก ร ะ จ า ง หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นา 23 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

(clarifying) การพูด (speaking) การเขียน (writing) และการ แสดงออกถึงความสามารถของตน 1.2 ทักษะการคิดที่เปนแกนหรือทักษะการคิดท่ัวไป หมายถึง ทักษะการคิดท่ีจําเปนตองใชอยูเสมอในการดํารงชีวิต ประจําวันและเปนพ้ืนฐานของการคิดข้ันสูงที่มีความสลับซับซอนซ่ึง คนเราจําเปนตองใชในการเรียนรูเนื้อหาวิชาการตาง ๆ ตลอดจนใช ในการดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ ไดแก การสังเกต (observing) การสํารวจ (exploring) การต้ังคําถาม (questioning) การเก็บ รวบรวมขอมูล (information gathering) การระบุ (identifying) การ จําแนกแยกแยะ (discriminating) การจัดลําดับ (ordering) การ เปรียบเทียบ (comparing) การจัดหมวดหมู (classifying) การสรุป อางอิง (inferring) การแปล (translating) การตีความ (interpreting) การเช่ือมโยง (connecting) การขยายความ (elaborating) การให เหตุผล (reasoning) และการสรุปยอ (summarizing) 2. ทักษะการคิดขั้นสูง หรือทักษะการคิดท่ีซับซอน (higher order or more complexed thinking skills) หมายถึง ทักษะการคิด ทม่ี ีข้นั ตอนหลายช้ันและตองอาศัยทักษะการสื่อความหมายและทักษะ การคิดท่ีเปนแกนหลายๆ ทักษะในแตละข้ัน ทักษะการคิดขั้นสูงจึงจะ พัฒนาไดเมื่อเด็กไดพัฒนาทักษะการคิดพื้นฐานจนมีความชํานาญ พอสมควรแลว ไดแก การสรุปความ (drawing conclusion) การ ใหคําจํากัดความ (defining) การวิเคราะห (analyzing) การ ผสมผสานขอมูล (integrating) การจัดระบบความคิด (organizing) หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นา 24 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

การสรางองคความรูใหม (constructing) การกําหนดโครงสราง ความรู (structuring) การแกไขปรับปรุงโครงสรางความรูเสียใหม (restructuring) การคน หาแบบแผน (finding patterns) การหาความ เช่ือพ้ืนฐาน (finding underlying assumption) การคิดคะเน / การ พยากรณ (predicting) การต้ังสมมุติฐาน (formulating hypothesis) การทดสอบสมมุติฐาน (testing hypothesis) การตั้งเกณฑ (establishing criteria) การพิสูจนความจริง (verifying) และการ ประยุกตใชความรู (applying) การคดิ อยางเปนระบบ (System Thinking) ทกั ษะการคิดนับเปนศักยภาพท่ีสําคัญสําหรับผูเรียนท่ีจะตองใช ในการวางแผน ดําเนินงาน และนําผลการจัดทําโครงงานไปใช อยางไรก็ตามขอเสนอแนะวา ทักษะการคิดทั้งหลายผูเรียนควรให ความสนใจพัฒนาฝกฝนทักษะการคิดเพราะเปนเครื่องมือสําคัญท่ีจะ ติดตัวและนําไปใชไดตลอดกาลอยางไมมีขีดจํากัด และเปนพิเศษ สําหรับทักษะการคิดแบบอยางเปนระบบ (System Thinking) เปน ลักษณะการคิดท่ีตองมีสวนประกอบสองสวนท้ังการคิดเชิงวิเคราะห (Analytical Thinking) และการคิดเชิงตรรกะ (Logical Thinking) ซ่ึงตองเปนกระบวนการคิดที่มีปฏิสัมพันธกัน โดยกอใหเกิดพลังอยาง ใดอยา งหนึ่งหรือหลายอยาง สาํ หรับการคิดเชิงวิเคราะห (Analytical Thinking) มีเทคนิคใน การพัฒนาตนเองดวย การฝกแยกแยะประเด็น ฝกเทคนิคการ คิดในการนาํ แนวคิดทฤษฎีท่ีไดเ รียนรูมาประยุกตใชกบั โครงงาน ที่ หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นา 25 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

จะทําและใชเทคนิค STAS Model มาชวยในการคิดวิเคราะห ไดแก Situation Theory Analysis Suggestion สวนเทคนิคการคิดเชิง ตรรกะ (Logical Thinking) เปนการฝกทักษะการคิดแบบ ค ว า ม สั ม พั น ธ เ ชิ ง เ ห ตุ ผ ล ท้ั ง ค ว า ม สั ม พั น ธ ใ น แ น ว ด่ิ ง แ ล ะ ความสัมพนั ธในแนวนอน เรอื่ งท่ี 3 ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร การทาํ โครงงานผูเรยี นจําเปน ตองมีทักษะ ซง่ึ อาจแบง ออกได เปน 2 กลุมไดแ ก 1. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข้ันพ้ืนฐาน มี 8 ทักษะ ไดแก การสังเกต การลงความเห็นจากขอมูล การจําแนกประเภท การวัดการใชตัวเลข การพยากรณ การหาความสัมพันธระหวาง สเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา การจัดกระทําและสื่อความหมาย ขอ มลู 2. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข้ันสูง มี 5 ทักษะ ไดแก การกําหนดและควบคุมตัวแปร การตั้งสมมุติฐาน การกําหนดนิยาม เชิงปฏิบัติการ การทดลอง การตีความหมายขอมูลและการลงขอสรุป ทักษะท้ัง 5 นี้เปนเรื่องใหมและมีความสําคัญในการทําวิจัย ผูเรียน จาํ เปน ตองทาํ ความเขาใจใหชัดเจนกอน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข้ันพ้ืนฐาน มี 8 ทักษะ ไดแ ก หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นา 26 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง