ระยะเวลารอคอย 90 วัน มีโรคอะไรบ้าง

เหตุฉุกเฉินเกิดขึ้นได้เสมอแม้ว่าจะเป็นเรื่องที่เราอยากให้เกิดขึ้นก็ตามและถึงแม้เราจะทำประกันไว้แล้วแต่ไม่ได้หมายความว่าความเสี่ยงจะลดลง ประกันเพียงแค่ช่วยรองรับพร้อมทั้งดูแลกรณีเกิดเหตุไม่คาดฝันขึ้นกับเรา

กรณีเสียชีวิตในช่วงระยะเวลารอคอย
ถ้าหากผู้ซื้อประกันเสียชีวิตในช่วงระหว่างเวลารอคอยด้วยโรคที่ระบุไว้ในกรมธรรม์ บริษัทประกันอาจพิจารณาประวัติการรักษาโรคเพื่อชดเชยผลประโยชน์ให้ แต่หากตรวจสอบแล้วพบว่าผู้ทำประกันเสียชีวิตจากโรคที่ตรวจพบหรือเป็นมาก่อนทำประกัน บริษัทจะไม่ชดเชยให้แต่จะคืนเบี้ยประกันทั้งหมดที่เคยจ่ายให้แทน อย่างไรก็ตาม มีบางกรณีที่บริษัทประกันกำหนดให้สามารถใช้สิทธิรักษาบางประเภทในช่วงระยะเวลาประกันได้ เงื่อนไขขึ้นอยู่กับกรมธรรม์ที่เราเลือกซื้อ

ทั้งนี้ บริษัทประกันจำเป็นต้องกำหนดช่วงเวลารอคอยขึ้นมาเพื่อไม่ให้เกิดกรณีตั้งใจปิดบัง หรือต้องการโกงเงินประกัน เพราะมีเคสที่รู้อยู่แล้วว่าตัวเองเป็นโรค แต่ตั้งใจมาซื้อประกันโดยปกปิดประวัติการรักษาเพื่อรอเบิกเงินค่ารักษาจากกรมธรรม์นั่นเอง

ทำความเข้าใจกับ ระยะเวลารอคอย (Waiting Period) ที่พบได้บ่อยในสัญญากรมธรรม์ประกันสุขภาพและประกันชีวิต และข้อควรระวังเกี่ยวกับระยะเวลารอคอยที่ควรเข้าใจ

ระยะเวลารอคอย คือ ระยะเวลาที่ไม่คุ้มครองที่ผู้เอาประกันจะไม่สามารถเรียกร้องค่าสินไหมได้จนกว่าจะครบจำนวนวัน อย่างเช่น 14 วัน หรือ 30 วัน ถึงแม้ว่าผู้เอาประกันจะเจ็บป่วยด้วยตามเงื่อนไขที่ถูกกำหนดเอาไว้ในประกัน (ยังเคลมไม่ได้)

โดยเงื่อนไข ระยะเวลารอคอย (Waiting Period) คือ สิ่งที่มีไว้เพื่อป้องกันความเสี่ยงที่บริษัทประกันจะได้รับในเหตุการณ์ลักษณะที่ ผู้ทำประกันรู้ตัวว่าป่วยอยู่แล้ว แต่ทำประกันเพื่อหวังค่ารักษาจากบริษัทประกัน (ซึ่งค่อนข้างผิดหลักของการประกันความเสี่ยง)

จะเห็นว่าถ้าหากอธิบายแบบง่ายๆ ระยะเวลารอคอย คือ ระยะเวลาที่บริษัทใช้รอดูว่าคุณป่วยอยู่แล้วตั้งแต่ก่อนทำประกันหรือไม่ ทำให้คุณจะไม่สามารถเคลมประกันได้ในช่วงเวลาดังกล่าวได้

นอกจาก ระยะเวลารอคอย คือ สิ่งที่บอกว่าคุณจะเคลมประกันไม่ได้ในช่วงระยะเวลากี่วัน ระยะเวลารอคอยยังเป็นสิ่งที่อาจมีผลต่อการยกเลิกสัญญาประกันภัย ระยะเวลาการทำประกัน หรือการต่ออายุกรมธรรม์ (ทุกอย่างจะระบุอยู่ในกรมธรรม์)

ระยะเวลารอคอย คือกี่วัน

อย่างไรก็ตาม ระยะเวลารอคอยประกัน แต่ละประเภทอาจมีระยะเวลาที่ไม่เท่ากัน โดยระยะเวลารอคอย (Waiting Period) จะขึ้นอยู่กับโรค ระยะเวลาฟักตัวของโรค และระยะเวลาแสดงอาการของโรค

ตัวอย่างเช่น ประกันโควิด 19 ส่วนใหญ่จะมีระยะเวลารอคอย 14 วัน ตามระยะเวลาฟักตัวของไวรัสโคโรน่าหรือไวรัสโควิด 19 (COVID-19)

ประกันสุขภาพทั่วไป ประกันสุขภาพเหมาจ่าย และประกันชดเชยรายได้ มักจะมีระยะเวลารอคอยอยู่ที่ 30 วัน (นับตั้งแต่วันที่กรมธรรม์มีผลบังคับ)

ระยะเวลารอคอยประกันโรคร้ายแรง ของโรคเรื้อรังที่ต้องใช้เวลาในการรักษาและมีค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลสูง อย่างเช่น โรคหัวใจ หรือโรคมะเร็ง จะมีระยะเวลารอคอย 90 วัน (นับตั้งแต่วันที่กรมธรรม์มีผลบังคับ) นอกจากนี้ในส่วนของรายละเอียดว่าแต่ละโรคมีระยะเวลารอคอยกี่วันจะขึ้นอยู่กับเงื่อนไขของบริษัทประกันนั้นๆ ซึ่งจะระบุอยู่ในเล่มกรมธรรม์ โดยอาจมีระยะเวลารอคอยประมาณ 30-120 วัน

หมายเหตุ: ถ้าหากพบว่าในกรมธรรม์ไม่ระบุเอาไว้อย่างชัดเจนว่ามีระยะเวลารอคอยกี่วัน (แต่บอกแค่ว่ามีระยะเวลารอคอย) ควรสอบถามจากเจ้าหน้าที่ของบริษัทประกันให้ชัดเจนว่าในแต่ละกรีณีมีระยะเวลารอคอยกี่วัน

กรณีเสียชีวิตระหว่างระยะเวลารอคอย

สำหรับประกันโรคร้ายแรงที่คุ้มครองการเสียชีวิตในช่วงระหว่างระยะเวลารอคอยด้วยโรคที่คุ้มครอง บริษัทประกันจะตรวจสอบประวัติการรักษาโรค การจ่ายชดเชยให้ผู้รับผลประโยชน์จะขึ้นอยู่กับว่าผู้เสียชีวิตเคยตรวจพบว่าเป็นผู้ป่วยโรคร้ายแรงดังกล่าวมาก่อนหรือไม่

ถ้าหากตรวจสอบแล้วพบว่าไม่เคยตรวจพบว่าผู้เอาประกันเป็นผู้ป่วยโรคร้ายแรงมาก่อน บริษัทประกันจะจ่ายจำนวนเงินเอาประกันภัยให้กับผู้รับประโยชน์

ถ้าหากตรวจสอบแล้วพบว่าเคยมีประวัติการรักษาหรือตรวจพบโรคร้ายแรงมาก่อนการทำประกัน จะไม่มีการจ่ายผลประโยชน์ให้ผู้รับผลประโยชน์ แต่บริษัทประกันจะคืนเบี้ยประกัน ที่เคยจ่ายทั้งหมด

คำถามที่พบบ่อย

คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับ ระยะเวลารอคอย (Waiting Period) ของประกันชีวิตและประกันสุขภาพที่หลายคนสงสัย

ระยะเวลารอคอย คือกี่วัน?

ระยะเวลาของการรอคอยขึ้นอยู่กับประเภทของการประกันภัย ว่าเกี่ยวข้องกับโรคอะไร

ประกันโควิด 19 มีระยะเวลารอคอยกี่วัน?

โดยทั่วไปมีระยะเวลารอคอย 14 วัน แต่ในบางบริษัทประกันอาจมีระยะเวลารอคอยถึง 30 วัน

เคลมประกันระหว่างช่วงระยะเวลารอคอยได้ไหม?

ไม่สามารถถเคลมประกันในช่วงระยะเวลารอคอยได้

You Might Also Like

  • ประกันชีวิต คืออะไร? ประกันชีวิตมีกี่แบบ มีอะไรบ้าง

    กรกฎาคม 18, 2019

  • ประกันชีวิตประเภทกลุ่ม คือ อะไร? (Group Life Insurance)

    กรกฎาคม 21, 2019

  • ประกันบํานาญ คือ อะไร? มารู้จักกับ ประกันชีวิตแบบบำนาญ

    สิงหาคม 7, 2019

  • ประกันภัย COVID-19 กับคำถามที่พบบ่อย

    พฤษภาคม 22, 2020

Life Insuranceกรมธรรม์กรมธรรม์ประกันชีวิตประกันชีวิต บำนาญประกันชีวิตประเภทสามัญประกันชีวิตสามัญประกันชีวิตแบบบํานาญประกันบํานาญ

          ระยะเวลารอคอย (Waiting period) ในประกันสุขภาพต่าง ๆ เป็นสิ่งสำคัญที่เราควรจะต้องศึกษาให้ดีพอ ๆ กับแผนความคุ้มครองในประกัน เพราะถึงแม้จะให้ความครอบคลุมแค่ไหน แต่เมื่อเจอกับระยะเวลารอคอย ซึ่งหมายถึงช่วงเวลาที่เราจะไม่ได้รับความคุ้มครองเข้าไป แล้วเราเกิดป่วยในช่วงนี้ขึ้นมา มีหวังได้กุมขมับไปตาม ๆ กัน โรคร้ายเป็นสิ่งที่เราควบคุมไม่ได้และไม่อยากจะให้เกิด เมื่อเกิดแล้วก็อยากจะได้ความคุ้มครองให้อุ่นใจ ขณะเดียวกันบริษัทประกันเองก็ต้องการความเป็นธรรม ในการตรวจสอบประวัติลูกค้าให้แน่ใจ จึงต้องตั้งระยะเวลารอคอยนี้ขึ้นมา ดังนั้นสิ่งที่ผู้ซื้อประกันอย่างเราทำได้ ก็คือต้องศึกษาเงื่อนไขกรมธรรม์ให้ดี ๆ ก่อนตัดสินใจ

ระยะรอคอยมะเร็งกี่วัน

สำหรับประกันมะเร็งและประกันโรคร้ายแรง จะมีระยะเวลารอคอยประมาณ 90 วัน เช่น โรคหัวใจ โรคมะเร็ง และโรคหลอดเลือดสมอง เป็นต้น

โรคร้ายแรงระยะรอคอยกี่วัน

ระยะเวลารอคอย หรือ ระยะเวลาที่ไม่คุ้มครอง ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรค ระยะเวลาฟักตัว หรือระยะเวลาในการแสดงอาการของโรค สำหรับประกันสุขภาพโรคทั่วไป มักจะมีระยะเวลารอคอย 30 วันนับตั้งแต่วันที่กรมธรรม์มีผลบังคับ หากเป็นโรคเรื้อรังที่ใช้เวลาในการรักษาและค่ารักษาสูง ประกันโรคร้ายแรงจะมีระยะเวลารอคอย 90 วันนับตั้งแต่วันที่ ...

ระยะเวลารอคอย หมายถึงข้อใด

ระยะเวลารอคอย คือช่วงเวลาที่ประกันไม่คุ้มครอง แม้ผู้เอาประกันจะป่วยเป็นโรคที่กำหนดไว้ในกรรมธรรม์ก็ไม่สามารถเคลมในช่วงดังกล่าวได้ บริษัทประกันมีระยะเวลารอคอย เพื่อป้องกันกรณีผู้เอาประกันเป็นโรคก่อนซื้อประกันค่ะ

ระยะเวลารอคอย ประกันสุขภาพ คืออะไร

ระยะเวลารอคอยคำนี้มักพบในประกันสุขภาพ และประกันโรคร้ายแรง อธิบายให้เข้าใจง่ายๆ ว่า คือ ระยะเวลาที่ประกันยังไม่เริ่มความคุ้มครอง ถึงแม้จะเจ็บป่วยโรคที่กำหนดไว้ในกรมธรรม์ก็จะไม่สามารถเคลมในช่วงเวลาดังกล่าวได้ สรุปได้ง่ายๆ ว่า บริษัทประกันรอ” ดูว่าคุณ “ป่วย” เป็นโรค “ก่อนทำประกัน” หรือไม่นั่นเอง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง