ประเพณีของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู

�����ѵ���Թ��������Ѫ��ŷ�� 1 �֧�Ѫ��ŷ�� 4 ���� 4 ����ࢵ�ؾ�ó ��� ����� ������ ��Ф��� ��� �����ع� �����������Өҡ������Ӥѭ㹻���� 5 ��� ���

- ��������Ӻҧ�С� �ѡ���֧����Ҩ���� �ǧ��ù�¡
- ��������ӻ���ѡ �ѡ���Ӻŷ���Һ ࢵ��к���
- �����������Ҿ���� �ѡ���Ӻźҧ��� ࢵ��ҧ�ͧ
- ����������Ҫ���� �ѡ���ӺŴ�Ǵ֧�� ࢵ��ط�ʧ����
- ���������ྪú��� �ѡ���Ӻŷ���� ࢵ���ͧྪú���

เพราะชาวฮินดูทุกวรรณะย้อมมีขนบธรรมเนียมประเพณีเฉพาะที่ต้องประพฤติตามที่กำหนดไว้สำหรับวรรณะของตน  และกฎประเพณีส่วนรวม  ที่ต้องปฏิบัติสำหรับทุกชั้นวรรณะ  โดยแบ่งออกเป็น  4  หมวด  ดังนี้

      1. กฎสำหรับวรรณะ

ศาสนาฮินดูมีกฎสำหรับวรรณะให้ปฏิบัติอย่างเคร่งครัดหลายเรื่อง  เช่น

1)  กฎเกี่ยวกับการแต่งงาน  จะแต่งงานนอกวรรณะของตนไม่ได้  แต่ผู้ชายพราหมณ์จะแต่งงานกับผู้หญิงวรรณะอื่นได้  เรียกว่า  อนุโลม  ส่วนผู้หญิงเป็นพราหมณ์จะแต่งงานกับผู้ชายวรรณะอื่นไม่ได้  เรียกว่าปฏิโลม

2)  กฎเกี่ยวกับอาหารการกิน  มีข้อกำหนดว่าสิ่งใดกินได้  สิ่งได้กินไม่ได้  และ  ข้อกำหนดว่าบุคคลวรรณะใดปรุงอาหารให้คนวรรณะใดกินไม่ได้  เช่น  วรรณะพราหมณ์ไม่กินอาหารที่คนวรรณะอื่นทำ  เป็นต้น

3)  กฎเกี่ยวกับการประกอบอาชีพ  ต้องประกอบอาชีพที่กำหนดไว้สำหรับคนในวรรณะนั้นๆเท่านั้น

4)  กฎเกี่ยวกับสถานที่อยู่อาศัย  ในสมัยโบราณมีกฎห้ามชาวฮินดูมีถิ่นฐานบ้านเรือนนอกเขตประเทศอินเดียว  และห้ามเดินเรือในทะเล  แต่ปัจจุบันไม่ถือแล้ว

2. พิธีประจำบ้าน

พิธีนี้เป็นพิธีที่กำหนดไว้ในคัมภีร์มานวธรรมศาสตร์  หรือมนูศาสตร์เรียกว่า  พิธีสังสการ  เป็นพิธีกรรมที่คนในวรรณะกษัตริย์  วรรณะพราหมณ์และวรรณะไวศยะจะต้องทำโดยมีพราหมณ์หรือนักบวชเป็นผู้ทำพิธี  จำนวน  12  ประการ  คือ

1)  ครรภาธาน  เป็นพิธีที่จัดขึ้นเมื่อทราบว่าตั้งครรภ์  ถัดจากวันวิวาห์

2)  ปุงสวัน  เป็นพิธีปฏิบัติต่อเด็กในครรภ์ที่เข้าใจว่าเป็นเพศชาย

3)  สีมันโตนยัน  เป็นพิธีตัดผมหญิงมีครรภ์  เมื่อตั้งครรภ์ได้  4, 6  หรือ  8  เดือน

4)  ชาตกรรม  พิธีคลอดบุตร

5)  นามกรรม  พิธีตั้งชื่อเด็ก  ในวันที่  12  หรือ  14  ถัดจากวันคลอด

6)  นิษกรมณ  พิธีนำเด็กออกไปดูแสงอาทิตย์ยามเข้า  เมื่ออายุ  4  เดือน

7)  อันนปราศัน  พิธีป้อนข้าวเด็ก  เมื่ออายุได้  7  เดือนหรือ  8  เดือน

8)  จูฑากรรม  พิธีโกนผมไว้จุก  เมื่ออายุ  3  ขวบ

9)  เกศานตกรรม  พิธีตัดผม  ถ้าเป็นวรรณะพราหมณ์ตัดเมื่ออายุ  16  ปีถ้าวรรณะกษัตริย์ตัดเมื่ออายุ  22  ปี  ถ้าวรรณะแพทย์ตัดเมื่ออายุ  24  ปี

10)  อุปานยัน  พิธีเข้ารับการศึกษา  พวกวรรณะพราหมณ์  กษัตริย์  แพทย์  จะต้องทำพิธีเข้ารับการศึกษา  และเมื่ออาจารย์ในสำนักนั้นๆ  รับเด็กไว้แล้วก็จะสวมสายธุรำ  หรือ  ยัชโญปวัต  ผู้ที่ได้สวมสายนี้แล้วก็เรียกว่า  ทวิชหรือทิชาชาติ  ได้แก้  เกิด  2  ครั้ง  คือครั้งแรกเกิดจากครรภ์มารดา  และครั้งที่  2  เกิดจากการสวมสายยัชโญปวีต  ส่วนพวกศูทรและจัณฑาลเป็นเอกชาติ  คือ  เกิดครั้งเดียวไม่อาจเป็นทวิชาติได้

11)  สมาวรรตน์  พิธีกลับบ้าน  จัดขึ้นเมื่อหนุ่มสำเร็จการศึกษาและเตรียมตัวกลับบ้าน

12)  วิวาหะ  พิธีแต่งงาน

พิธีสังสการทั้ง  12  ประการ  ถ้าเป็นผู้หญิงห้ามทำพิธีอุปานยันอย่างเดียว  นอกนั้นทำได้หมด  และห้ามสวดคัมภีร์พระเวท  เพราะเป็นคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ที่สงวนเฉพาะผู้ชาย  และคนบางวรรณะเท่านั้น

ในปัจจุบันนี้ชาวฮินดูผู้เป็นทวิชาติคงปฏิบัติคงปฏิบัติอยู่  4  พิธีเท่านั้น  คือ  พิธีนามกรรม  พิธีอันน  ปราศัน  พิธีอุปานยัน  และพิธีวิวาหะ  ที่เหลือนอกนั้นไม่ใคร่ปฏิบัติกันแล้ว  ยกเว้นผู้ที่เคร่งครัดจริงๆ  เท่านั้น

  1. 3. พิธีศราทธ์

พิธีศราทธ์เป็นพิธีทำบุญอุทิศให้มารดาบิดา  หรือบรรพบุรุษผู้ล่วงลับไปแล้วในเดือน  10  ตั้งแต่วันแรม  15  ค่ำ  การทำบุญอุทิศนี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า  บิณฑะ

  1. พิธีบูชาเทวดา

ชาวฮินดูมีเทพเจ้าที่เคารพมากมายหลายองค์  ผู้ที่เกิดในวรรณะสูงสมัยก่อนได้บูชาพระศิวะและพระวิษณุ  เป็นต้น  เวลาต่อมาเกิดลัทธิอวตารขึ้น  มีการบูชาพระกฤษณะและพระรามขึ้นอีก  แต่บุคคลในวรรณะต่ำมักถูกกีดกันมิให้ร่วมบูชาเทพเจ้าของบุคคลในวรรณะสูงดังนั้น  บุคคลในวรรณะต่ำจึงต้องสร้างเทพเจ้าของตนเองขึ้น  เช่น  เจ้าแม่กาลี  เทพลิง  เทพงู  เทพเต่า  รุกขเทพ  เทพช้าง  เป็นต้น  การทำพิธีในการบูชาพอจะกำหนดได้  ดังนี้

1)  สวดมนต์ภาวนา  สนานกาย  ชำระและสังเวยเทวดาทุกวัน  สำหรับผู้เคร่งครัดในศาสนาต้องทำเป็นกิจวัตร  ส่วนพวกที่ได้รับการศึกษาแผนใหม่มักไม่ค่อยปฏิบัติกัน

2)  พิธีสมโภช  ถือศีล  และวันศักดิ์สิทธิ์  เช่น  ลักษมีบูชา  วันบูชาเจ้าแม่ลักษมี  สรัสวดีบูชา  วันบูชาเจ้าแม่สรัสวดี  ทุรคาบูชา  วันบูชาเจ้าแม่ทุรคา  เป็นต้น  ซึ่งอาจแตกต่างกันออกไปในแต่ละนิกายและท้องถิ่น

3)  การไปนมัสการบำเพ็ญกุศลตามเทวาลัยต่างๆ  เพื่อแสดงความเคารพเทพเจ้าที่ตนนับถือ

 

อ้างอิง

//sites.google.com/site/phechmvk/sasna-phrahmn-hindu

//allknowledges.tripod.com/brahmin.html

//www.whatami.net/tri/rel13.html

//ne//www.m-culture.go.th/ilovethaiculture/index.php/

//www.m-culture.go.th/ilovethaiculture/index.php/

//www.watsamrong.com/tamma2.htm

 

 

 

Share this:

  • Twitter
  • Facebook

Like this:

ถูกใจ กำลังโหลด...

พิธีกรรมประจำบ้าน 12 ประการของศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู คือพิธีการใด

เฉลยข้อ 2. เหตุผล ข้อ 2 พิธีสังสการ เป็นพิธีกรรมประจำบ้าน มี12 ประการ เช่น พิธีตั้งครรภ์คลอดบุตรตั้งชื่อบุตร ฯลฯ

หลักธรรมสำคัญของศาสนาพราหมณ์ฮินดูมีอะไรบ้าง

1) หลักธรรม 10 ประการ เรียกว่า ฮินดูธรรม ได้แก่ (1) ธฤติ ได้แก่ ความมั่นคง ความกล้าหาญ คือเพียรพยายามจนสำเร็จ ประโยชน์ตามที่ประสงค์ (2) กษมา ได้แก่ ความอดทน หรืออดกลั้น คือมีความพากเพียรพยายาม (3) ทมะ ได้แก่ การระงับใจ การข่มจิตใจ คือไม่ปล่อยใจให้หวั่นไหว

ประเพณีใดของไทยที่ได้รับอิทธิพลมาจากศาสนาพราหมณ์ฮินดู

ประเพณีในพระราชพิธี 12 เดือนของไทย ได้รับอิทธิพลจากศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ทั้งทางอินเดียเหนือ และอินเดียใต้ เช่นพระราชพิธีลงสรงโสกันต์ (พิธีตัดผมเด็ก) พิธีศราทธ์ (พิธีทำบุญอุทิศให้กับบรรพบุรุษที่ล่วงลับไป) ได้รับอิทธิพลจากพิธีสันสการ (พิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์) ซึ่งเขียนไว้ในคัมภีร์มนูธรรมศาสตร์ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู อินเดีย ...

พิธีศราทธ์ของศาสนาพราหมณ์ ฮินดู คือ อะไร *

เป็นพิธีทำบุญอุทิศให้มำรดำบิดำ หรือบรรพบุรุษผู้ล่วงลับไปแล้ว ในเดือน 10 ตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ ถึงวันแรม 15 ค่ำ กำรทำบุญอุทิศนี้เรียกอีกอย่ำง หนึ่งว่ำ “บิณฑะ” 2. พิธีศราทธ์ //sophonwit9383.wordpress.comภำคเรียนที่-2-57/ศำสนำ-พรำหมณ์-ฮินดู/446-2.

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง