นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศได้แก่นิติบุคคลประเภทใด บริษัท นิติบุคคล มีอะไรบ้าง กิจการร่วมค้าใช้กฎหมายใด บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยต้องเสียภาษีในกรณีใด นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศที่ประกอบธุรกิจใน ประเทศไทย นิติบุคคลต่างประเทศ ประกอบกิจการในไทย บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ มีอะไรบ้าง บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย มีอะไรบ้าง นิติบุคคลต่างประเทศ คืออะไร บริษัทต่างประเทศ ตั้งสาขาในไทย ภาษี ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล มีอะไรบ้าง นิติบุคคลที่ต้องเสียภาษีเงินได้

นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ มีอะไรบ้าง

         �����Թ��ԵԺؤ�� �ӹdz�ҡ�Թ����������ѡ�ҹ㹡�äӹdz���դٳ�����ѵ�����շ���˹� �ѧ��� �Թ�����ͧ���������Թ��ԵԺؤ�����Ͱҹ�����Թ��ԵԺؤ�Ź�� �·������������ط�Է��ӹdz��� ���͹䢷���˹� �����ͤ����繸�������ش��ͧ��ҧ㹡�èѴ�������Թ�� �֧���� ��úѭ�ѵԨѴ�������Թ�� �ԵԺؤ�� �ҡ�Թ�����Ͱҹ���� ���ᵡ��ҧ�ѹ �ѧ���

บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล

36,469 views

โดย ผศ.ดร.ยุทธนา ศรีสวัสดิ์ อาจารย์ประจำวิชากฎหมายภาษีอากร

บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล คือ บุคคลประเภทหนึ่งที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายซึ่งไม่ได้เป็น บุคคลธรรมดา (ส่วนมากมักอยู่ในรูปบริษัท หรือห้างหุ้นส่วนจำกัด) แต่กฎหมายให้ถือว่ามีสถานะเป็นเสมือนบุคคลทั่วไปและสามารถทำกิจกรรมหลายอย่างได้เหมือนบุคคลทั่วไป เช่น ทำสัญญาซื้อขายได้ มีเจ้าของทรัพย์สินได้ แต่จะไม่สามารถทำกิจกรรมบางอย่างเหมือนบุคคลธรรมดาได้ เช่น ใช้สิทธิเลือกตั้ง บวชเป็นพระภิกษุ จดทะเบียนสมรส รับบุตรบุญธรรม เป็นต้น

โดยปกติ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลมีรายได้จะมีหน้าที่ต้องเสีย ภาษีเงินได้นิติบุคคล ด้วย ไม่ว่าจะตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยหรือตามกฎหมายต่างประเทศ1

บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตามกฎหมายไทย

บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตามกฎหมายไทยมักอยู่ในรูปแบบ

  • บริษัทจำกัด
  • ห้างหุ้นส่วนจำกัด
  • ห้างหุ้นส่วนสามัญที่จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลแล้ว
  • บริษัทมหาชน

บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตามกฎหมายต่างประเทศ

ถ้าบริษัทหรือนิติบุคคลที่จดทะเบียนในต่างประเทศ เข้ามาทำกิจกรรมบางอย่างในไทยแล้วมีรายได้ก็มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลในประเทศไทย

อื่นๆ ที่ถือว่าเป็นผู้เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล

นอกจากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลจะหมายถึงนิติบุคคลข้างต้นแล้ว กฎหมายยังหมายความรวมถึงกิจการรูปแบบอื่นๆ ที่ไม่ใช่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลด้วย ได้แก่

มูลนิธิและสมาคมที่ยังไม่เป็นองค์กรการกุศลสาธารณะ

มูลนิธิและสมาคม หากยังไม่ได้รับการประกาศให้เป็นองค์กรการกุศลสาธารณะแล้วมีรายได้เกิดขึ้นจะไม่ได้รับยกเว้นภาษี ทำให้มูลนิธิและสมาคมที่ยังไม่เป็นองค์กรการกุศลสาธารณะมีหน้าที่ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลในประเทศไทย

กิจการร่วมค้า (Joint Venture)

กิจการร่วมค้า (Joint Venture) ไม่ว่าจะเป็นการกิจการทางการค้าร่วมกันระหว่างบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนที่เป็นนิติบุคคลด้วยกัน หรือแม้แต่ระหว่างบริษัท/ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลกับบุคคลธรรมดา หากกิจการร่วมค้านั้นมีรายได้ก็มีหน้าที่ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลในประเทศไทย

กิจการทางการค้าหรือหากำไรของรัฐบาลต่างประเทศและองค์การของรัฐบาลต่างประเทศ

ถ้ากิจการทางการค้าหรือหากำไรของรัฐบาลต่างประเทศและองค์การของรัฐบาลต่างประเทศนั้นเข้ามาในไทยแล้วมีรายได้ก็มีหน้าที่ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลในประเทศไทยด้วย

กิจการทางการค้าหรือหากำไรของนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ

กิจการทางการค้าหรือหากำไรของนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศนั้น ถ้าเป็นนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศจะถือเป็นบริษัทหรือหุ้นส่วนนิติบุคคลตามประมวลรัษฎากรซึ่งอยู่ในข่ายต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลทันที แม้ว่าในประเทศที่ตั้งขึ้นนั้นจะไม่มีสถานะเป็นบริษัท ห้างหุ้นส่วน มูลนิธิ หรือสมาคมก็ตาม เช่น กองทุนรวมต่างประเทศ ดังนั้น ถ้านิติบุคคลนั้นเข้ามาในไทยแล้วมีรายได้ก็มีหน้าที่ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลในประเทศไทย

นิติบุคคลที่อธิบดีกำหนดโดยอนุมัติรัฐมนตรี และประกาศในราชกิจจานุเบกษา

  • ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย2

นิติบุคคลที่ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล

เป็นที่น่าสังเกตว่านิติบุคคลไทยบางประเภทก็ยังที่ไม่อยู่ในข่ายต้องเสียภาษี ซึ่งมักจะเป็นนิติบุคคลอื่นตามกฎหมายไทยที่ไม่ใช่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนฯ และไม่ใช่ส่วนราชการโดยตรง เช่น เนติบัณฑิตไทย สภาทนายความ สหกรณ์ สภาอุตสาหกรรม สภาหอการค้าไทย นิติบุคคลอาคารชุด เป็นต้น จะไม่มีสถานะเป็นผู้เสียภาษีที่ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล เพราะแม้จะมีสถานะเป็นนิติบุคคลแต่ก็ไม่ใช่บริษัท ห้างหุ้นส่วน มูลนิธิ สมาคม หรือนิติบุคคลที่ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล

นอกจากนี้หน่วยงานส่วนราชการที่มีสถานะเป็นนิติบุคคลก็ไม่มีสถานะต้องเสียภาษีเงินได้ เช่นกัน เช่น กระทรวง จังหวัด อบต. เป็นต้น

ทั้งนี้นิติบุคคลที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ยังรวมถึงรัฐวิสาหกิจที่เป็น “องค์การของรัฐบาล” เช่น ธนาคารออมสิน ธอส. ธกส. ซึ่งตั้งขึ้นตามกฎหมายพิเศษ (แต่ถ้ารัฐวิสาหกิจนั้นไม่ใช่ “องค์การของรัฐบาล” แต่เป็นบริษัท/ห้างหุ้นส่วน ซึ่งโดยมากจะเป็นรัฐวิสาหกิจที่รัฐมีทุนอยู่เกิน 50% เช่น การบินไทย บขส. TOT ธ.กรุงไทย เป็นต้น แบบนี้ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลเพราะเป็นบริษัท)

ส่วนองค์การมหาชน (ซึ่งมักไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไรเหมือนรัฐวิสาหกิจ) จะไม่อยู่ในข่ายต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล แม้จะระบบการบริหารจะไม่อยู่รูปแบบราชการก็ตาม

            กระนั้นก็ตาม โดยมากแล้วการจัดชั้นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมักจะเป็นระบบชั้นเดียวหรือสองชั้น แต่ในบางประเทศ อาทิ สหรัฐอเมริกา หน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นเรียกว่า เขตพิเศษ ซึ่งเป็นหน่วยการปกครองท้องถิ่นที่ตั้งขึ้นเพื่อให้มีภารกิจเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งอาจเกิดจากการจัดตั้งโดยหน่วยการปกครองท้องถิ่นหน่วยใดหน่วยหนึ่งหรืออาจเกิดจากการจัดตั้งร่วมกันของหลายท้องถิ่น

เงินได้ประเภทที่ 4 คือ เงินได้พึงประเมิน ในรูปของ ดอกเบี้ย และเงินปันผล รวมถึงรายได้ลักษณะเดียวกัน ที่ทำให้ผู้รับเงินมีหน้าที่ต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในวงการภาษีบางครั้งก็เรียกว่า เงินได้ 40(4)1

ทั้งนี้ เงินได้ประเภทที่ 4 ไม่สามารถหักค่าใช้จ่ายได้เลย

อย่างไรก็ดี ถ้าคุณมีคู่สมรสที่จะแยกยื่นภาษีเองอยู่แล้ว คุณสามารถเลือกให้คู่สมรสนำเงินได้ประเภทนี้ของคุณไปยื่นเป็นรายได้ของเขาแทนก็ได้2

เงินได้ประเภทที่ 4 เป็นอะไรได้บ้าง?

1. ดอกเบี้ย

ดอกเบี้ยที่นับเป็นเงินได้ประเภทที่ 4 ได้แก่

  • ดอกเบี้ยพันธบัตร
  • ดอกเบี้ยเงินฝาก
  • ดอกเบี้ยหุ้นกู้
  • ดอกเบี้ยตั๋วเงิน
  • ดอกเบี้ยเงินกู้ยืม
  • ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมที่ต้องถูกหักภาษีไว้ ณ ที่ จ่ายตามกฎหมายว่าด้วยภาษีเงินได้ปิโตรเลียมเฉพาะส่วนที่เหลือจากถูกหักภาษีไว้ ณ ที่จ่าย
  • ผลต่างระหว่างราคาไถ่ถอนกับราคาจำหน่ายตั๋วเงินหรือตราสารหนี้ซึ่งบริษัทเงินทุนเป็นผู้ออกและจำหน่ายครั้งแรกในราคาต่ำกว่าราคาไถ่ถอน (Original Issue Discount bond: OID)
  • เงินได้ทำนองเดียวกับดอกเบี้ย รวมถึงผลประโยชน์จากการให้กู้ยืมหรือสิทธิเรียกร้องในหนี้ทุกชนิด
(ข้อยกเว้น) ดอกเบี้ยที่ไม่ต้องยื่นภาษี

ดอกเบี้ยต่อไปนี้ได้รับยกเว้นไม่ต้องยื่นภาษีก็ได้

  • ดอกเบี้ยสลากออมสิน หรือดอกเบี้ยเงินฝากออมสินของรัฐบาลเฉพาะประเภทฝากเผื่อเรียก เช่น ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารออมสิน3 ดอกเบี้ยเงินฝาก ธ.ก.ส.4 ดอกเบี้ยสลากออมทรัพย์ ธ.ก.ส.5 เป็นต้น
  • ดอกเบี้ยเงินฝากประเภทออมทรัพย์ที่ได้รับจากสหกรณ์ออมทรัพย์6
  • ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารในไทยทั่วไปประเภทออมทรัพย์ที่รวมกันแล้วตลอดปีไม่เกิน ฿20,000 (หากเกิน ฿20,000 ต้องนำดอกเบี้ยนั้นมาคำนวณภาษีทั้งจำนวนตั้งแต่บาทแรกเลย)7 ทั้งนี้ เจ้าของบัญชีเงินฝากออมทรัพย์นี้จะต้องไม่คัดค้านการส่งข้อมูลดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์ของธนาคารให้กรมสรรพากร8
  • ดอกเบี้ยเงินฝากประจำธนาคารในประเทศไทยและจากสหกรณ์ออมทรัพย์ในประเทศเป็นรายเดือนติดต่อกันไม่น้อยกว่า 24 เดือน นับแต่วันที่ฝาก โดยมียอดเงินฝากทุกครั้งเท่ากันแต่ไม่เกิน ฿25,000 ต่อเดือนและรวมทั้งหมดแล้วต้องไม่เกิน ฿600,000 (ในทางปฏิบัติมักเรียกว่า เงินฝากประจำปลอดภาษี)9
  • ดอกเบี้ยเงินฝากประจำธนาคารในไทยสำหรับผู้สูงอายุตั้งแต่อายุ 55 ปี ที่ฝากประจำตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป โดยดอกเบี้ยเงินฝากประจำทุกประเภทรวมกันแล้วตลอดปีไม่เกิน ฿30,000 (หากเกิน ฿30,000 ต้องนำดอกเบี้ยนั้นมาคำนวณภาษีทั้งจำนวนตั้งแต่บาทแรกเลย)10
  • ดอกเบี้ยที่คุณยอมให้หักภาษี ณ ที่จ่าย 15% ไปแล้วและต้องการให้ภาษี ณ ที่จ่ายนั้นเป็นภาษีสุดท้ายไปเลย

2. เงินปันผล

โดยปกติ เงินปันผลหรือส่วนแบ่งกำไรจากบริษัทไทยหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลไทย เป็นเงินได้ที่ต้องยื่นภาษี แต่กฎหมายก็เปิดโอกาสให้คุณเลือกไม่ยื่นภาษีก็ได้ถ้าคุณยอมให้หักภาษี ณ ที่จ่าย 10% ไปเลย และไม่ใช้สิทธิขอคืน เครดิตภาษีเงินปันผล

แม้เงินปันผลจะหักค่าใช้จ่ายไม่ได้แต่ก็สามารถใช้เครดิตภาษีเงินปันผลได้ ซึ่งจะช่วยประหยัดภาษีมากกว่าถ้าบริษัทที่จ่ายเงินปันผลนั้นเสียภาษีในอัตราที่สูงกว่าคุณ เช่น บริษัทเสียภาษีในอัตรา 20% แต่คุณน่าจะเสียภาษีในอัตรา 15%

นอกจากนี้ ยังมีเงินปันผลบางประเภทที่ได้รับยกเว้นภาษี เช่น เงินปันผลจากกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน (BOI) ที่ไม่ต้องนำไปยื่นภาษีด้วย

ทั้งนี้ ถ้าเลือกยื่นเงินปันผลแล้วต้องยื่นเงินปันผลทุกก้อนด้วย ทั้งเงินปันผลหุ้นและเงินปันผลกองทุนรวม11

2.1 เงินปันผลจากกองทุนรวมทั่วไปตาม พ.ร.บ. หลักทรัพย์

เงินปันผลจากกองทุนรวม RMF/LTF หรือกองทุนรวมทั่วไป (รวมถึงกำไรจากการขายกองทุนรวม RMF/LTF) ที่ได้รับตั้งแต่วันที่ 20 สิงหาคม 2562 เป็นต้นมา เป็นเงินได้ที่ต้องเสียภาษีในฐานะเงินได้ประเภทที่ 4 แล้ว ดังนั้น ถ้าเลือกเงินปันผลจากกองทุนรวมนี้ไปยื่นภาษีแล้วต้องยื่นเงินปันผลทุกก้อน รวมทั้งเงินปันผลจากหุ้นด้วย

แต่ถ้าคุณได้รับเงินปันผลจากกองทุนรวมประเภทอื่น เช่น กองทุน RMF/LTF หรือกองทุนรวมทั่วไป ที่ได้รับก่อนวันที่ 20 สิงหาคม 2562 จะถือเป็น เงินได้ประเภทที่ 8

2.2 เงินปันผลรูปแบบอื่น

นอกจากเงินปันผลหรือส่วนแบ่งกำไรจากบริษัทไทยหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลไทย ยังมีเงินปันผลรูปแบบอื่น ได้แก่ เงินปันผลจากบริษัทต่างประเทศ และเงินปันผลจากกองทุนรวมที่ไม่ตั้งขึ้นตาม พ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งปัจจุบันแทบไม่มีเหลือแล้ว

2.3 เงินได้ทางอื่นจากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล

ในบางกรณีแม้จะไม่ได้รับเป็นเงินปันผลหรือส่วนแบ่งกำไรมาตรงๆ แต่ถ้าคุณได้รับเงินหรือผลประโยชน์ในลักษณะต่อไปนี้จากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลก็ให้ถือว่าเป็นเงินได้ประเภทที่ 4 ด้วย

  • เงินโบนัสที่คุณได้รับในฐานะผู้ถือหุ้นหรือหุ้นส่วน
  • เงินลดทุนของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล เฉพาะส่วนที่จ่ายไม่เกินกว่ากำไรและเงินที่กันไว้รวมกัน
  • เงินเพิ่มทุนของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ที่ตั้งจากกำไรที่ได้มาหรือเงินที่กันไว้รวมกัน
  • ผลประโยชน์ที่ได้จากการที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลควบเข้ากันหรือรับช่วงกัน หรือเลิกกัน ซึ่งตีราคาเป็นเงินได้เกินกว่าเงินทุน และไม่ได้รับยกเว้นภาษี
  • ผลประโยชน์ที่ได้จากการโอนการเป็นหุ้นส่วน หรือโอนหุ้น หุ้นกู้ พันธบัตร หรือ ตั๋วเงิน หรือตราสารแสดงสิทธิในหนี้ที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลหรือบุคคลอื่นเป็นผู้ออก เฉพาะส่วนที่ตีราคาเป็นเงินได้เกินกว่าที่ลงทุน (Capital gain)

Cryptocurrency และ Digital Token

ดูเพิ่ม การคำนวณภาษีคริปโท (ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา)

ทั้งคริปโทเคอร์เรนซี่เช่น Bitcoin (BTC), Litecoin (LTC) หรือ Ethereum (ETH) และ โทเคนดิจิทัล ที่เกิดขึ้นจากการระดมทุนผ่านการทำ ICO (Initial Coin Offering) ก็เป็นเงินได้ประเภทที่ 4 ด้วยเช่นกัน12 หากมีกำไรจากการขายหรือได้รับผลประโยชน์หรือส่วนแบ่งกำไรจากการถือครองก็จะต้องเสียภาษีด้วยเช่นกัน โดยจะถูก หักภาษี ณ ที่จ่าย ในอัตรา 15%13

เรื่องที่มักเข้าใจผิดบ่อย

  • การรวมคำนวณภาษี

หลายคนเข้าใจผิดว่าถ้าเป็นเงินได้ประเภทที่ 4 แล้ว ถ้าเลือกนำมารวมคำนวณภาษีแล้วต้องนำมารวมทั้งประเภท แต่ความจริงแล้วคุณสามารถเลือกนำบางตัวที่ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายเป็นภาษีสุดท้ายไปแล้วมาคำนวณได้ เพียงแต่ว่าถ้าเลือกหมวดใดมาคำนวณแล้วต้องนำมารวมคำนวณทั้งหมวดเลย

เช่น ในกรณีที่มีเงินได้จากเงินปันผล และผลตอบแทนจากหุ้นกู้ คุณสามารถเลือกนำเงินปันผลมารวมคำนวณแต่เพียงอย่างเดียว แล้วปล่อยให้ผลตอบแทนจากหุ้นกู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายเป็นภาษีสุดท้ายก็ได้ เพียงแต่ว่าถ้าคุณตัดสินใจเลือกนำเงินปันผลมารวมคำนวณภาษีแล้ว จะต้องนำทั้งเงินปันผลหุ้น และเงินปันผลจากกองทุนรวมที่ได้รับ “ทุกตัว” มารวมคำนวณภาษีด้วยทั้งหมด จะเลือกเฉพาะเงินปันผลหุ้นหรือกองทุนรวมเพียงบางตัวมารวมคำนวณภาษีไม่ได้

  • กรณีที่เงินปันผลหุ้นที่ได้รับ เป็นเงินได้ที่ได้รับการยกเว้นภาษี

เงินปันผลจากหุ้นที่ได้รับนั้นหากเป็นส่วนที่ได้รับยกเว้นภาษี (ไม่ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย 10%) จะเป็นเงินได้ที่ได้รับยกเว้นภาษี ทำให้เงินได้ส่วนนี้ไม่สามารถนำไปใช้เป็นฐานเพื่อคำนวณเพดานสิทธิลดหย่อน SSF/ RMF ได้ เนื่องจากการคำนวณเพดานสิทธิลดหย่อนนี้จะต้องคำนวณจากเงินได้ที่ต้องเสียภาษีเท่านั้น

  • ใครเป็นผู้ถือหุ้น เงินปันผลที่ได้ถือเป็นรายได้ของบุคคลนั้น

โดยปกติใครเป็นผู้ถือหุ้น เงินปันผลที่ได้รับก็ต้องเป็นรายได้ของคนนั้น แต่ในกรณีที่ผู้ถือหุ้นยังอายุไม่บรรลุนิติภาวะ (อายุครบ 20 ปีบริบูรณ์และยังไม่ได้จดทะเบียนสมรส) เงินปันผลกลับไม่นับว่าเป็นรายได้ของเด็ก แต่ให้ถือเป็นเงินได้ของผู้ปกครอง (หรือถือว่าเป็นของพ่อไปเลยถ้าพ่อแม่จดทะเบียนสมรสกันและอยู่ร่วมกันตลอดปีภาษี)

ดังนั้น เด็กจะไม่สามารถใช้สิทธิขอเครดิตภาษีเงินปันผลได้ เพราะเงินปันผลนั้นเป็นของผู้ปกครอง การขอเครดิตภาษีเงินปันผลจึงเป็นสิทธิ์ของผู้ปกครองด้วย14

หากในปีภาษีนี้ คุณเป็นหนึ่งคนที่มีเงินได้ประเภทที่ 4 ไม่ว่าจะเป็น เงินได้ที่มาจากดอกเบี้ย หรือเงินปันผลที่ไม่ได้รับการยกเว้นภาษี (ไม่ต้องยื่นภาษี) คุณจะต้องเอาเงินได้ในส่วนนั้นมาคำนวณภาษีประจำปีด้วย และไม่ต้องกลัวว่าคุณจะปวดหัวและใช้เวลาไปกับการคำนวณภาษีมากกว่าเดิม เพราะคุณสามารถใช้โปรแกรมจาก iTAX เพื่อคำนวณภาษี และวางแผนภาษี พร้อมหา ตัวช่วยลดหย่อนภาษี ได้เช่นเคย

อ้างอิง

  1. ^

    มาตรา 40(4) ประมวลรัษฎากร

  2. ^

    ข้อ 2.2 หน้า 2-3 คำชี้แจงกรมสรรพากร เรื่อง แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจากสามีและภริยา (ฉบับที่ 2), www.rd.go.th

  3. ^

    มาตรา 42(8)(ก) ประมวลรัษฎากร

  4. ^

    มาตรา 42(17) ประมวลรัษฎากร, ข้อ 2(69) กฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509), ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร (ฉบับที่ 137)

    นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศได้แก่นิติบุคคลประเภทใด

    กิจการทางการค้าหรือหากำไรของนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศนั้น ถ้าเป็นนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศจะถือเป็นบริษัทหรือหุ้นส่วนนิติบุคคลตามประมวลรัษฎากรซึ่งอยู่ในข่ายต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลทันที แม้ว่าในประเทศที่ตั้งขึ้นนั้นจะไม่มีสถานะเป็นบริษัท ห้างหุ้นส่วน มูลนิธิ หรือสมาคมก็ตาม เช่น กองทุน ...

    บริษัท นิติบุคคล มีอะไรบ้าง

    นิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ นั้นมีบัญญัติเอาไว้หลายประเภท เช่น ห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด มูลนิธิ สมาคม เป็นต้น ศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ : ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

    กิจการร่วมค้าใช้กฎหมายใด

    1. กิจการร่วมค้าตามมาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร ได้แก่ กิจการที่ดำเนินการร่วมกันเป็นทางค้าหรือหากำไร ระหว่างบริษัทกับบริษัท บริษัทกับห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลกับห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล หรือระหว่างบริษัทและหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลกับบุคคลธรรมดา คณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือนิติบุคคลอื่น ...

    บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยต้องเสียภาษีในกรณีใด

    1) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย ง. ห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน ในกรณีที่บริษัทห้างห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยมีสาขาไม่ว่าจะอยู่ในหรือนอก ประเทศไทย จะต้องนำกำไรสุทธิของสาขามารวมกำไรสุทธิของสำนักงานใหญ่เพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลใน ประเทศไทย

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง