กิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ มีอะไรบ้าง

มาตรฐานการรายงานทางการเงินไทยกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ, Financial Reporting Standards Non-publicly Accountable Entities

Abstract

การวิจัยเรื่อง ปัญหาการปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินไทยสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะของผู้ทำบัญชีในกรุงเทพมหานครในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัญหาของผู้ทำบัญชีในกรุงเทพมหานครที่ต้องปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินไทยสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ ในด้านการรับรู้รายการ การแสดงรายการ และการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน และเปรียบเทียบความแตกต่างระดับปัญหาของผู้ทำบัญชีในกรุงเทพมหานครที่ต้องปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินไทยสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะในด้านการรับรู้รายการ การแสดงรายการ การเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน โดยใช้แบบสอบถามและการสัมภาษณ์เชิงลึก เป็นเครื่องมือในการวิจัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้ทำบัญชีในกรุงเทพมหานครที่ขึ้นทะเบียนกับกองกำกับบัญชีธุรกิจ กระทรวงพาณิชย์ จำนวน 400 ราย ที่ต้องปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินไทยสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ การวิเคราะห์ผลการศึกษาใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistic) เพื่ออธิบายผลการศึกษา ได้แก่ การแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สำหรับการทดสอบสมมติฐานใช้การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Analysis) โดยการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยด้วยสถิติt-Test การทดสอบความแปรปรวนทางเดียวด้วยสถิติ One-Way ANOVA (F-Test) ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05ผลการวิจัยพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 31-35 ปี จบการศึกษาระดับปริญญาตรี เป็นผู้จัดการฝ่ายบัญชี มีอายุการทำงานระหว่าง 5-10 ปี เข้าอบรมพัฒนาความรู้ด้านบัญชี 3-5 ครั้งส่วนใหญ่ทำธุรกิจการผลิต และ ธุรกิจบริการ ใช้มาตรฐานการบัญชี NPAEs สำหรับข้อมูลด้านปัญหาการปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะพบว่า ปัญหาด้านการรับรู้รายการและการวัดมูลค่ารายได้มีผลต่อปัญหาการปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินไทยมากที่สุด รองลงมาคือการรับรู้รายการและการวัดมูลค่าสินทรัพย์หมุนเวียน การนำเสนอและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินตามลำดับผลการวิจัยด้วยสถิติเชิงวิเคราะห์พบว่า ลักษณะส่วนบุคคลแตกต่างกันมีระดับปัญหาการปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินไทยสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ ในด้านการรับรู้รายการและการวัดมูลค่าของสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน หนี้สิน ประมาณการหนี้สิน และหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น รายได้การนำเสนอและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินแตกต่างกัน

PRACTICAL PROBLEMS IN COMPLIANCE TO THAI FINANCIAL REPORTING STANDARDS FOR NON-PUBLICLY ACCOUNTABLE ENTITIES (TFRS FOR NPAEs) OF ACCOUNTANTS IN BANGKOK

The research aimed to study the Practical Problems in Compliance to Thai Financial Reporting Standards for Non-Publicly Accountable Entities (TFRS for NPAEs) of Accountants in Bangkok. The purposes were to investigate the problems of accountants that had to comply on TFRS for NPAEs in recognition criteria, presentation, and disclosure of financial statement and to compare the difference of problems level of accountants in Bangkok Metropolitan. A questionnaire and in-depth interview were used as the tools for collecting data from 400 sample registered accountants who comply with TFRS for NPAEs. The collected data was analyzed in terms of frequency, percentage, mean, standard deviation. For hypothesis testing was analyzed by using t-test, One-Way ANOVA (F-test) with .05 level of significant. The results were as follow:- Most respondents were female, the age between 31-35 years old, and mostly at bachelor degree level and accounting manager. They were mostly had 5-10 years of working experience, participating knowledge of accounting development training programs for 3-5 times, mostly were manufacturing and service business, and using NPAEs (little GAAP). The problems of compliance to TFRS for NPAEs were found that recognition criteria and income valuation were at the highest level and followed by current assets valuation and presentation and disclosure of financial statements. The difference of demographic factor had difference the problem level of compliance to TFRS for NPAEs in recognition criteria and current assets valuation, non-current assets valuation, recognition and valuation of liability, recognition and valuation of income, presentation and disclosure of financial statements.

Downloads

Download data is not yet available.

Downloads

  • PDF

How to Cite

กิตติมโนรม ป. (2015). ปัญหาการปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินไทยสำหรับกิจการที่ไม่มี ส่วนได้เสียสาธารณะของผู้ทำบัญชีในกรุงเทพมหานคร. Journal of Business Administration The Association of Private Higher Education Institutions of Thailand, 4(1), 46–53. Retrieved from //so02.tci-thaijo.org/index.php/apheitvu/article/view/95122

More Citation Formats

  • ACM
  • ACS
  • APA
  • ABNT
  • Chicago
  • Harvard
  • IEEE
  • MLA
  • Turabian
  • Vancouver

Download Citation

  • Endnote/Zotero/Mendeley (RIS)
  • BibTeX

Issue

Vol. 4 No. 1 (2015): January - June (มกราคม - มิถุนายน 2558)

Section

Research Articles

License

บทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการบริหารธุรกิจ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยต้องเป็นบทความที่ไม่เคยได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาตีพิมพ์ในวารสารอื่นๆ การละเมิดลิขสิทธิ์เป็นความรับผิดชอบของผู้ส่งบทความโดยตรง

ข้อใดคือกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ

คำนิยาม กิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (Non-Publicly Accountable Entities) หมายถึงกิจการที่ไม่ใช่กิจการดังต่อไปนี้ (1) กิจการที่มีตราสารทุนหรือตราสารหนี้ของกิจการซึ่งมีการซื้อขายในตลาดสาธารณะ ไม่ว่าจะเป็นตลาดหลักทรัพย์ในประเทศหรือต่างประเทศหรือการซื้อขายนอกตลาด

ข้อใดคือกิจการที่มีส่วนได้เสียสาธารณะ

1) กิจการที่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (Publicly Accountable Entities: PAEs) เช่น บริษัทมหาชน บริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ กิจการที่ดำเนินธุรกิจหลักในการดูแลทรัพย์สินของกลุ่มบุคคลภายนอกในวงกว้าง เช่น สถาบันการเงิน บริษัทหลักทรัพย์ เป็นต้น ซึ่งกิจการเหล่านี้ต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดของมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่จัดขึ้น ...

งบการเงินฉบับสมบูรณ์ของกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะประกอบด้วยอะไรบ้าง

งบการเงินที่สมบูรณ์ประกอบด้วย.
งบแสดงฐานะการเงิน ซึ่งนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินของกิจการ ณ วันสิ้นงวด.
2.งบกำไรขาดทุน แสดงถึงผลการดำเนินงานของกิจการสำหรับงวด.
3.งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของ แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงในรายการที่เป็นองค์ประกอบต่างๆ ของเจ้าของในระหว่างงวด.

กิจการที่ไม่มีส่งนได้เสียเป็นกิจการขนาดใด

มาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะจึงมีวัตถุประสงค์ในการผ่อนผันให้กิจการดังกล่าวสามารถใช้วิธีการบัญชีที่ไม่ก่อให้เกิดต้นทุนในการจัดทำงบการเงินสูงจนเกินไป เนื่องบจากลักษณะที่สำคัญของกิจการเหล่านี้คือขนาดของการดำเนินงานที่เล็ก กว่า 70% มีรายได้ต่ำกว่า 10 ล้านบาทต่อปี ทำให้การกำหนดมาตรฐานการ ...

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง