การทดสอบสมรรถภาพทางกาย 8 อย่างมีอะไรบ้าง

�� ��� ���óѯ�� ���Ѫ��ó�

  • �آ�Ҿ�����
  • 15 ����Ҿѹ�� 2564
  • ��ҹ 171,407 ����

�ҹ���ҧ������آ�Ҿ
���ᾷ���ʵ�������Ҫ��Һ�� ����Է�������Դ�

              ���ö�Ҿ�ҧ����·��� � 仹�鹨дբ�鹵����������������Ҩ��֧�ش�٧�ش��������Ŵŧ������������ҡ��� �ѧ��鹡�����آ�Ҿ������觷��觺͡�����繾�鹰ҹ�ͧ��������ö�Ҿ�ҧ��·���  �蹡ѹ������ö�Ҿ�ҧ�������觷���ʴ��֧��������ö�ͧ��ҧ���㹡�÷��л�Сͺ�Ԩ������ҧ � �����ҧ�ջ���Է���Ҿ�ҡ������§�

���ö�Ҿ�ҧ��·����  (General Physical  fitness)

          ����ҵðҹ��÷��ͺ��������ó�ҧ��ҹ��ҧ��� ���ṡ��÷��ͺ�͡�� 7 ������ ���

          1. �������� (Speed)  ��� ��������ö�ͧ��ҧ���㹡������͹���ҡ���˹����ѧ�ա���˹��  ������������㹡������͹������������Ǣ�ͧ��觵�ͧ���������������·���ش

          2. ��ѧ��������� (Muscle Power) ���  ��������ö㹡�÷ӧҹ�ͧ�������������� (����״���˴��Ǣͧ���������) 㹡���͡�ç�٧�ش ��觡�з���������ҷ����� �������Դ������������� ˹�觤��� �� �׹���ⴴ��

          3. �������ç�ͧ���������  (Muscle Strength) ��� ��������ö㹡�÷ӧҹ�ͧ��������������㹡���͡�ç�٧�ش �¡�������ͷ��˴�����§�������������ӡѴ���� �� ���¡���˹ѡ  �繵�

          4. ����ʹ���ͧ��������� (Muscle  endurance) ���  ��������ö�ͧ���������㹡�÷ӧҹ���ա��˴������� � ���͵�͵�ҹ�Ѻ�ç��ҹ�ҹ��Ҵ�ҹ��ҧ��ҹ

          5. �������ͧ��� (Agility)  ��� ��������ö�ͧ��ҧ���㹡������͹�����������͹�������������ҷ����鹷���ش ���ա�äǺ���㹡������¹��ȷҧ�ͧ�������͹�������¤����Ǵ���������͹

          6. ������͹��� (Flexibility)  ���  ��������ö㹡������͹��ǵ�ʹ��ǧ�ͧ�������͹��Ǣͧ��͵��

          7. ����ʹ�������  (General endurance)  ��� ��������ö㹡�÷ӧҹ�ͧ�к���ҧ �  ���ҧ��·��ӧҹ��ҹ����ջ���Է���Ҿ �� �к�����������¹���ʹ�繵�

          ��駹������ѧ����ö�Ѵ ��ѹ����˹ѧ �����ѹ��Ъվ�����������ͤ�µ�Ǩ�礤������ç��ҧ����������ҧ��������ö�Ҿ�������ʹ令�Ѻ

                                             ���¤������ö�Ҵըҡ �ҹ���ҧ������آ�Ҿ

5บบทดสอบสมรรถภาพทางกาย มาตรฐานนานาชาติ (ICSPFT)

   แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายที่นิยมทรายและเป็นที่ยอมรับจากประเทศต่างๆ  ทั่วโลกว่าเป็นแบบทดสอบที่เหมาะสำหรับผู้สนใจทั่วไปและสามารถทดสอบได้ด้วยตนเองคือ แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายมาตรฐานนานาชาติได้ชื่อย่อว่า ICSPFT (lnternational Committee Standard of Physical Fitness Test) ใช้วัดสมรรถภาพทางกายโดยทั่วไปประกอบด้วยทดสอบย่อย รายการได้แก่

วิ่งเร็ว 50 เมตร (50 Meter Sprint)

ยืนกระโดดไกล

แรงบีบมือ ( Grip Strength)

ลุก-นั่ง 30 วินาที ( 30 Second Sit-up)

ดึงข้อ  งอแขนห้อยตัว

วิ่งเก็บของ ( Shuttle Run)

นั่งงอตัวไปข้างหน้า ( Trunk Forward Flexion)

วิ่งระยะไกล ( Distance Run) แบ่งออกเป็น ประเภท คือ

วิ่ง 1,000 เมตร สำหรับชายอายุ 12 ปีขึ้นไป

วิ่ง 800 เมตร สำหรับหญิงอายุ 12 ปีขึ้นไป

วิ่ง 600 เมตร ทั้งชายและหญิงที่อายุต่ำกว่า 12 ปี

5.1 วิ่งเร็ว 50 เมตร

  เมื่อผู้ปล่อยตัวให้สัญญาณ “เข้าที่” ให้พูดทดสอบยืนให้ปลายเท้าข้างในข้างหนึ่งชิดเส้น(ไม่ต้องย่อตัวถ้าออกวิ่ง) เมื่อได้ยินหรือเห็นสัญญาณปล่อยตัวให้ผู้เข้าทดสอบวิ่งเร็วที่สุดจนผ่านเส้นชัยขวัญให้ทดสอบ2ครั้ง

  ผู้จับเวลา1คน อาจจับเวลาทีเดียว 2 คนได้โดยใช้นาฬิกาจับเวลา 2 เรือนมือละข้างหรือนาฬิกาจับเวลาที่มีเข็มแยกเวลา บันทึกเวลาเป็นวินาทีทศนิยม1ตำแหน่ง(ตำแหน่งแรกของเศษวินาที) บันทึกเวลาที่ดีที่สุดจากการทดสอบสองครั้งดูคะแนนจากตารางที่ 2.1 

รูปที่2.3 วิ่งเร็ว50เมตร เพื่อวัดความเร็ว

(ที่มา://www.cadetcentre.com/main/jupgrade/index.php/pt)

ตารางที่ 2.1 คะแนนวิ่งเร็ว 50 เมตรร

รูปที่2.3 วิ่งเร็ว50เมตร เพื่อวัดความเร็ว

(ที่มา://www.cadetcentre.com/main/jupgrade/index.php/pt)

5.2 ยืนกระโดดไกล

  ผู้จัดลำดับเข้าทดสอบอธิบายวิธีการกระโดดให้ผู้เข้าทดสอบยืนปลายเท้าทั้งสองชิดเส้นเริ่มซ้อมเวียนเทียนทั้งสองไปข้างหน้าพร้อมกับก้มตัว เมื่อได้จังหวะเรียนเขียนไปข้างหน้าอย่างแรง พร้อมกับกระโดดด้วยเท้าทั้งสองไปข้างหน้าให้ไกลที่สุดระยะโดยใช้ไม้ T จากจุดที่ส้นเท้าลงบนพื้นแล้วเริ่มถ้าผู้เข้าทดสอบเสียหลักไงหลังก้นหรือมือแตะพื้นให้ทดสอบใหม่

   บันทึกระยะทางที่ทำได้เป็นเซนติเมตร เอาระยะที่ไกลที่สุดจากการทดสอบ 2 ครั้ง ดูคะแนนจากตารางที่ 2.2

 รูปกระโดดไกลเพื่อวัดกำลังกล้ามเนื้อขา 2.4

(ที่มา://www.cadetcentre.com/afap/เทคนิคการทำคะแนนสอบพลศึกษา.html)

ตารางที่  2.2 คะแนนยืนกระโดดไกล

5.3 แรงบีบของมือ

  ให้ผู้ทดสอบใช้มือ ถูกหรือสัมผัสผง Magnesium เพื่อการเลื่อนแล้วจับเมื่อวัดให้เหมาะที่สุดโดยใช้นิ้วมือข้อที่สองรับน้ำหนักของเครื่องมือวัดยืนตรง รปล่อยแขนห้อยข้างลำตัว ห่างลำตัวเล็กน้อยพร้อมให้ออกแรงบีบมือจนสุดแรงระวังบีบข้อมือห้า ให้เบื่อหรือเครื่องวัดถูกส่วนใดของร่างกายและห้ามเวียงเครื่องมือหรือนมลำตัวเพื่อช่วยออกแรงบีบทำการทดสอบข้อมือทั้งสองข้างข้างละสองครั้งบันทึกครั้งที่ทำให้ได้มากที่สุดของแต่ละข้างไว้ดูจาก ตารางที่ 2.3

รูปที่ 2.5 แรงบีบมือเพื่อวัดกำลังกล้ามเนื้อมือและแขน

4.5 ลุกนั่งใน 30 วินาที 

  จัดผู้รับการทดสอบเป็นคู่ ให้ผู้รับการทดสอบคนแรกนอนหงายบนเบาะเข่างอตั้งเป็นมุมฉากเท้าแยกห่างกันประมาณ 30 ซม. ประสานนิ้วมือรองเท้าทอยไว้ ผู้ทดสอบผู้ที่2 คุกเข่าที่ปลายเท้าของผู้รับการทดสอบ (หันหน้าเข้าหากัน) มือทั้งสองกำและกดข้อเท้าของผู้รับการทดสอบไว้ ให้หลังติดพื้นเมื่อให้สัญญาณบอก "เริ่ม" พร้อมกับจับเวลา ผู้เข้าทดสอบลุกนั่งแล้วกรมศรีษะลงไประวังหัวเขาทั้งสองแล้วก๊อปลงนอนในท่าเดิมจนนิ้วมือจรดเบาะจึงกลับลุกขึ้นใหม่ทำเช่นนี้ติดต่อกันไปอย่างรวดเร็วให้ได้จำนวนมากที่สุดภายใน 30 วินาที

การบันทึก:  บันทึกจำนวนครั้งที่ทำถูกต้องใน 30 วินาที

 

รูปที่  การทดสอบสมรรถภาพร่างกายด้วยการลุกนั่ง

(ที่มา://www.cadetcentre.com/afap/เทคนิคการทำคะแนนสอบพลศึกษา.html)

5.5 ดึงข้อ บอแขนห้อยตัว

  1.สำหรับชายอายุ12 ปีขึ้นไป ผู้จัดและนับจำนวนครั้งจัดระดับราวเดี่ยวให้สูงพอเหมาะสม เมื่อผู้รับการทดสอบห้อยตัวจนสุดแล้วเท้าไม่ถึงพื้น ให้ผู้รับการทดสอบขึ้นยืนบนม้ารอง จับราวในท่าคว่ำมือห่างกันเท่าช่วงไหล่ เอาม้ารองออกแล้วให้รับการทดสอบปล่อยตัวจนแขน ลำตัวและขาเหยียดตรงเป็นท่าตั้งต้น ออกแรงงอแขนดึงตัวขึ้นจนคางพ้นราว แล้วหย่อนตัวลงกลับมาในท่าตั้งต้น งอแขนดึงตัวขึ้นมาใหม่ ทำให้ได้มากครั้งที่สุด ห้ามแกว่งเท้าหรือเตะขา ถ้าหยุดพักระหว่างครั้งนานเกินกว่า 3-4 วินาที หรือไม่สามารถดึงขึ้นให้คางพ้นราวได้ 2 ครั้งติดกัน ให้ยุติการทดสอบ

การบันทึก บันทึกจำนวนครั้งที่ดึงขึ้นได้อย่างถูกต้องและคางพ้นราว

ระเบียบการทดสอบ   ถ้าผู้รับการทดสอบหยุดพักนานเกินไป หรือไม่สามารถดึงข้อมือให้คางพ้นราวติดกัน 2 ครั้ง ให้ยุติการทดสอบ

  2.งอแขนห้อยตัว สำหรับชายอายุต่ำกว่า 12 ปีและหญิงจัดหมารองเท้าใกล้ราวเดียวให้สูงพอที่เมื่อผู้เข้าทดสอบยิงตรงม้า คางจะอยู่เหนือราวเล็กน้อย ให้จับเราด้วยถ้าถ้าความมือมือห่างกันเท่าช่วงรายและแขนงเต็มที่เมื่อให้สัญญาณเริ่ม(พร้อมกับเอาม้าออก) ให้พูดทดสอบต้องเก่งข้อแขนและดึงตัวไว้ในท่าเดิมให้นานที่สุดถ้าคาร์ลต่ำลงถึงราวให้ยุตติการทดสอบ

บันทึก:  เป็นวินาทีจาก “เริ่ม” ดูจากคะแนนตารางที่ 2.5

วางไม้ทั้งสองท่อนกลางวง (ห่างกันประมาณ 20 ซม.) ที่ชิดเส้นตรงข้ามเส้นเริ่ม ผู้รับการทดสอบยืนให้เท้าข้างใดข้างหนึ่งชิดเส้นเริ่ม เมื่อพร้อมแล้วผู้ปล่อยตัวส่ง “ไป” ให้ผู้รับการทดสอบวิ่งไปหยิบท่อนไม้ในวงกลม 1 ท่อน วิ่งกลับมาวางไว้ในวงกลมหลังเส้นเริ่ม กลับตัววิ่งไปหยิบท่อนไม้อีกท่อนหนึ่ง แล้ววิ่งกลับมาวางในวงกลมหลังเส้นเริ่มแล้ววิ่งเลยไป ห้ามโยนท่อนไม้ ถ้าวางไม่เข้าในวงต้องเริ่มใหม่

บันทึก:เวลาตั้งแต่ “ไป” จนถึงวางท่อนไม้ท่อนที่ 2 ครั้งดูคะแนนจากจากตารางที่ 2.6

รูปที่  วิ่งเก็บของเพื่อความเร็วและความคล่องแคล่วว่องไว

5.7 นั่งงอตัว/งอตัวไปข้างหน้า 

ให้ผู้รับการทดสอบถอดรองเท้า นั่งเหยียดขาตรงสอดเท้าเข้าใต้ม้าวัดโดยเท้าทั้งสองตั้งฉากกับพื้นและชิดกัน ฝ่าเท้าจรดแนบกับที่ยันเท้า เหยียดแขนตรงขนานกับพื้นแล้วค่อย ๆ ก้มตัวไปข้างหน้าให้มืออยู่บนม้าวัด จนไม่สามารถก้มตัวได้ต่อไป ให้ปลายนิ้วมือเสมอกัน และรักษาระยะทางไว้ได้ 2 วินาทีขึ้นไป อ่านระยะจากจุด “0” ถึงปลายมือ (ห้ามโยกตัวหรืองอตัวแรง ๆ)

การบันทึก       

บันทึก:ระยะเป็นเซนติเมตร ถ้าปลายนิ้วเลยปลายเท้าบันทึกค่าเป็น + ถ้าไม่ถึงปลายเท้าค่าเป็น – ใช้ค่าที่ดีกว่าจากการทดสอบ 2 ครั้ง ดูคะแนนจากตารางที่ 2.7

รูปที่  การทดสอบ นั่งงอตัว

(ที่มา: //www.cadetcentre.com/afap/เทคนิคการทำคะแนนสอบพลศึกษา.html)

5.8 วิงระยะไกล (1,000เมตร 800 เมตร)

  ชายอายุ 12 ปีขึ้นไป 1,000 เมตร

  หญิงอายุ 12 ปีขึ้นไป 800 เมตร

ให้สัญญาณ “เข้าที่” ผู้รับการทดสอบยืนปลายเท้าข้างใดข้างหนึ่งชิดเส้นเริ่มเมื่อให้สัญญาณ “ไป” ให้ออกวิ่งไปตามเส้นทางที่กำหนด พยายามใช้เวลาน้อยที่สุด และควรรักษาความเร็วให้คงที่ ถ้าไปไม่ไหวอาจหยุดเดินแล้ววิ่งต่อไปจนครบระยะทางผู้จับเวลาจะขานเวลาผู้ที่วิ่งถึงเส้นชัยทีละคน ให้ผู้บันทึกเวลาบันทึกไว้ ผู้ช่วยผู้บันทึกจะจดหมายเลขผู้รับการทดสอบที่เข้าถึงสั้นชัยเรียงตามลำดับ

การบันทึก:บันทึกเวลาละเอียดถึงจุดทศนิยม 2 ตำแหน่งของวินาทีดูคะแนนจากตารางที่ 2.8

รูปที่  วิ่งระยะไกลเพื่อวัดความทนทาน

(ที่มา://www.cadetcentre.com/afap/เทคนิคการทำคะแนนสอบพลศึกษา.html)

การทดสอบสมรรถภาพทางกายมีอะไรบ้าง

ดัชนีมวลกาย (Body Mass Index: BMI) ... .
การทดสอบนั่งงอตัว (Sit and Reach Test) ... .
การทดสอบลุก-นั่ง 1 นาที (1 Minute Sit-Ups Test) ... .
การทดสอบดันพื้น 30 นาที (30 second Push – Up Test) ... .
วิ่งระยะไกล (Distance Run Test).

แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายมีกี่รายการ

ทดสอบสมรรถภาพทางกายของคณะกรรมการนานาชาติเพื่อจัดมาตรฐานการทดสอบความสมบูรณ์ ทางกาย (ICSPFT) ส าหรับช่วงอายุ 7-9 ปี ประกอบด้วยแบบทดสอบจ านวน 5 รายการ ได้แก่ 1) วิ่งเร็ว 50 เมตร 2) ยืนกระโดดไกล 3) ลุก-นั่ง 30 วินาที 4) งอตัวไปข้างหน้า 5) วิ่งเก็บของ

แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายที่นิยมมากที่สุดคือข้อใด

แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายที่นิยมทรายและเป็นที่ยอมรับจากประเทศต่างๆ ทั่วโลกว่าเป็นแบบทดสอบที่เหมาะสำหรับผู้สนใจทั่วไปและสามารถทดสอบได้ด้วยตนเองคือ แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายมาตรฐานนานาชาติได้ชื่อย่อว่า ICSPFT (lnternational Committee Standard of Physical Fitness Test) ใช้วัดสมรรถภาพทางกายโดยทั่วไปประกอบด้วยทดสอบย่อย 8 รายการ ...

สมรรถภาพทางกาย มี กี่ ประเภท อะไร บ้าง

(1) สมรรถภาพทางกายทั่วไป (General Physical Fitness) จ าแนกออกเป็น 7 ประเภท มีองค์ประกอบดังนี้ 1. ความเร็ว (Speed) 2. พลังกล้ามเนื้อ (Muscle Power) 3. ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (Muscle Strength) 4. ความอดทนของกล้ามเนื้อ (Muscle Endurance) 5. ความแคล่วคล่องว่องไว (Agility) 6. ความอ่อนตัว (Flexibility) 7. ความอดทนทั่วไป ( ...

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง