ในอวกาศมี สภาพ เป็น อย่างไร

สภาพอากาศในอวกาศนั้นในความหมายทั่วไปที่ประยุกต์กับเงื่อนไขที่สภาพแวดล้อมในอวกาศซึ่งถูกกำหนดโดยกิจกรรมบนดวงอาทิตย์ อย่างเช่น "ลมสุริยะ" คือ อนุภาคย่อยของอะตอมที่ไหลออกจากดวงอาทิตย์และเกิดขึ้นตลอดเวลา ลมสุริยะ นี้บางครั้งอาจเป็นถึงขั้น พายุสุริยะ คือ อนุภาคที่ถูกชาร์จ (ส่วนใหญ่เป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งอาจส่งผลกระทบหรือรบกวนหรือทำให้ดาวเทียมในวงโคจรนั้นไร้ความสามารถไป ขัดขวางการสื่อสาร และตัวรังสีอาจเป็นอันตรายต่อนักบินอวกาศที่ไม่ได้สวมชุดป้องกันอยู่ได้

ลักษณะเกี่ยวกับสภาพอากาศในอวกาศที่เรารู้จักกันดีคือ ออโรรา (Aurora) หรืออีกชื่อในซีกโลกเหนือคือ แสงเหนือ (Northern Lights) เช่นเดียวกับ แสงใต้ (Southern Lights) ในซีกโลกใต้ ซึ่งเรียกอย่างเป็นทางการว่า แสงขั้วโลกเหนือ (Aurora Borealis) และ แสงขั้วโลกใต้ (Aurora Australis) ตามลำดับ แสงเหล่านี้เกิดขึ้นเมื่อมวลมหาศาลของอนุภาคลมสุริยะที่ถูกชาร์จแล้วนั้นถูกดึงดูดไปยังบริเวณขั้วของโลกโดยสนามแม่เหล็กของโลกเอง ซึ่งพวกมันจะไปกระแทกและมีปฏิกิริยากับโมเลกุลที่อยู่ในชั้นบรรยากาศ ที่เรารู้จักกันโดยมากคือ ออกซิเจนและไนโตรเจน ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดการปล่อยพลังงานของแสงออกมาให้เราเห็นเป็นออโรรา ซึ่งเป็นกระบวนการที่คล้ายกับในหลอดไฟ

ในช่วงที่พายุลมสุริยะนั้นมีความรุนแรงโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประจุไฟฟ้าสามารถถูกสะสมได้บนสายส่งไฟฟ้าบนโลก จนบางครั้งก่อให้เกิดการโหลดเกิน (Overload) และเกิดไฟฟ้าดับได้ (เช่นเหตุการณ์ในรัฐควิเบกเมื่อปี 2532) ยิ่งไปกว่านั้นยังกระทบกระเทือนกับลักษณะคลื่นวิทยุในชั้นบรรยากาศชั้นบน ซึ่งลมสุริยะที่ผ่านการชาร์จแล้วนั้นยังอาจไปสะสมอยู่ในดาวเทียมสื่อสารที่ประจำอยู่ในวงโคจร และสามารถทำให้พวกมันเสียได้ถ้าไม่ได้รับการป้องกันไว้ก่อนที่จะเกิดขึ้น การประเมินความรุนแรงของพายุสุริยะครั้งหนึ่งในปี 2402 ซึ่งครั้งนั้นก่อให้เกิดความเสียหายกว่า 2 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ

ยังมีความเป็นไปได้ที่จะก่อให้เกิดการเสียชีวิตโดยรังสีเอ็กซ์และรังสีแกมมา ซึ่งเป็นอันตรายกับนักบินอวกาศที่อยู่บนเที่ยวบินออกจากโลก เช่นกำลังเดินทางไปดวงจันทร์ หรือ ดาวอังคาร ในยานอวกาศและสถานีอวกาศนานาชาตินั้น นักบินอวกาศจะมีความเสี่ยงปานกลางเท่านั้น ตั้งแต่ที่สนามแม่เหล็กของโลกได้ปกป้องบางส่วนให้กับนักบินอวกาศที่อยู่ในวงโคจรระดับต่ำของโลก (คือทั้งยานอวกาศและตัวสถานีอวกาศนานาชาติด้วย)

        ยานอวกาศเดินทางอยู่นอกโลกจึงไม่มีกลางวันกลางคืน  อย่างไรก็ตามมนุษย์ไม่สามารถปฏิบัติงานต่อเนื่องโดยปราศจากการพักผ่อน  มนุษย์อวกาศต้องยึดถือเวลาบนโลกในการปฏิบัติงานและพักผ่อน ภายในยานอวกาศต้องจำลองแสงสว่างให้เหมือนกลางวันและกลางคืน  ในอวกาศไม่มีน้ำหนัก  มนุษย์อวกาศต้องนอนบนเตียงโดยมีสายรัดร่างกายไว้ไม่ให้ลอย ดังภาพที่ 8 

สภาพแวดล้อมในอวกาศ
          อวกาศเป็นสภาวะไร้อากาศและแรงโน้มถ่วง ดังนั้นการเคลื่อนที่จึงไร้แรงเสียดทานและความเร่ง ยานอวกาศหรือนักบินอวกาศเคลื่อนที่ไปข้างหน้า ด้วยการจุดจรวดขนาดเล็ก และจุดจรวดด้านตรงข้ามด้วยแรงที่เท่ากันเมื่อต้องการจะหยุด (ภาพที่ 5)
บนอวกาศเต็มไปด้วยรังสีคลื่นสั้นซึ่งมีพลังงานสูง ดาวเทียมและยานอวกาศอาศัยพลังงานเหล่านี้ด้วยการใช้เซลล์พลังงานแสงอาทิตย์ อย่างไรก็ตาม รังสีคลื่นสั้นเหล่านี้มีอานุภาพในการกัดกร่อนสสาร ดังจะเห็นว่ายานอวกาศและดาวเทียมส่วนมากถูกห่อหุ้มด้วยโลหะพิเศษ สีเงิน หรือสีทอง อุปกรณ์ทุกอย่างที่ใช้ในอวกาศถูกสร้างขึ้นด้วยวัสดุชนิดพิเศษ จึงมีราคาแพงมาก

          บนพื้นผิวโลกมีบรรยากาศคอยทำหน้าที่กรองรังสีคลื่นสั้นที่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต แต่ในอวกาศไม่มีเกราะกำบัง ในขณะที่นักบินอวกาศออกไปทำงานข้างนอกยาน พวกเขาจะต้องสวมใส่ชุดอวกาศ ซึ่งออกแบบมาเพื่อจำลองสภาพแวดล้อมที่อยู่บนโลก กล่าวคือ ปรับอุณหภูมิให้พอเหมาะ มีออกซิเจนให้หายใจ มีแรงดันอากาศเพื่อป้องกันมิให้เลือดซึมออกตามผิวหนัง และรังสีจากดวงอาทิตย์ 

เมื่อพืชดอกเจริญเติบโตเต็มที่ จะเริ่มผลิตดอกไม้เพื่อเป็นเซลล์สืบพันธุ์ในการขยายพันธุ์ต่อไป ภายในดอกจะมีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ โดยเกสรตัวผู้สร้างเซลล์สืบพันธุ์ตัวผู้หรือละอองเรณูเก็บไว้ในอับละอองเรณู (Pollen) ส่วนเกสรตัวเมียจะมีรังไข่ ซึ่งภายในมีไข่ (Ovule) ทำหน้าที่เก็บเซลล์สืบพันธุ์ตัวเมียไว้ (เพิ่มเติม: โครงสร้างของดอกไม้) การปฏิสนธิของพืชดอก มีลำดับขั้นตอน ดังนี้

1. การถ่ายละอองเรณู (Pollination) คือ กระบวนการที่ละอองเรณูไปตกลงบนยอดเกสรตัวเมีย อาจเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น ละอองเรณูปลิวไปตามแรงลมแล้วไปตกลงบนยอดเกสรตัวเมีย หรืออาจเกิดการที่ตัวกลางในการผสมเกสร เช่น แมลงผสมเกสรชนิดต่างๆ สัตว์ปีก หรือเกิดจากความตั้งใจของมนุษย์ การถ่ายละอองเรณูเกิดได้ 2 ลักษณะ คือ การถ่ายละอองเรณูในดอกเดียวกัน (Self Pollination) และการถ่ายละอองเรณูข้ามดอก (Cross Pollination)

แมลงผสมเกสรมีบทบาทสำคัญอย่างมากในการช่วยถ่ายละอองเรณูของดอกไม้

การถ่ายละอองเรณูในดอกเดียวกัน: การถ่ายละอองเรณูภายในต้นเดียวกัน เช่น การถ่าย ละอองเรณุในดอกกล้วยไม้ชนิดหนึ่งมีกลิ่นคล้ายผึ้งตัวเมีย ทำให้ผึ้งตัวผู้ มาดูดกินน้ำหวานและได้ถ่ายละอองเรณูให้ดอกอื่นๆ แต่ถ้าไม่มีผึ้งมา เกสรตัวผู้ก็อาจจะโค้งลงมา และมีการถ่ายละอองเรณูในดอกเดียวกันได้

การถ่ายละอองเรณูข้ามดอก: การถ่ายละอองเรณูข้ามต้นเป็นการถ่ายละออง เรณูจากพืชต้นหนึ่งไปยังอีกต้นหนึ่งที่ชนิดเดียวกัน ถ้าเป็นพืชต่างชนิดกันจะไม่ สร้างหลอดละอองเรณู ละอองเรณูถูกพาไปโดยลม หรือแมลงที่ไปกินน้ำหวาน ในดอกไม้

(อ่านเพิ่มเติม: 9 วิธีที่คุณจะช่วยรักษาแมลงผสมเกสรไว้ในสวนของคุณ)

2. การปฏิสนธิ (Fertilization) คือกระบวนการที่เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ (ละอองเรณู) ผสมกับเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย (ไข่อ่อน) เมื่อเกิดการถ่ายละอองเรณู ละอองเรณูจะตกอยู่ที่บริเวณ stigma ซึ่งจะมีสารกึ่งเหลวคอยดักจับเรณูไว้ เมื่อมีสภาพที่เหมาะสม ละอองเรณูจะงอกและมีการเจริญของท่อเรณูเพื่อเข้าไปผสมกับเซลไข่ (egg cell) โดยภายในท่อเรณูจะมีสเปิร์มอยู่ 2 ชนิด ทำ ให้เกิดการผสม 2 ครั้ง (double fertilization) คือสเปิร์ม 1 อันจะผสมกับไข่ได้เป็น zygote ซึ่งจะพัฒนาต่อไปเป็นต้นอ่อน (embryo) ส่วนสเปิร์มอีกหนึ่งชนิดจะผสมกับ polar nuclei ได้เป็น endosperm ทำหน้าที่เป็นอาหารสะสมให้กับต้นอ่อน แต่ในพืชบางชนิดอาหารสะสมให้ต้นอ่อนเกิดจากเนื้อเยื่อที่อยู่ในรังไข่ (nucellus) หรือ perisperm

การผสมซึ่งเกิดจากการผสม 2 ครั้งนี้เรียกว่า การปฏิสนธิซ้อน (Double Fertilization) ซึ่งพบเฉพาะในพืชดอกเท่านั้น หลังจากปฏิสนธิแล้วนิวเคลียสที่ได้รับผสมจะเกิดส่วนประกอบต่างๆ ของพืชดังนี้

รังไข่ (ovary) เจริญเป็น ผล
ผนังรังไข่ (ovary wall ) เจริญเป็น เปลือกและเนื้อของผลไม้
ออวุล (ovule) เจริญเป็น เมล็ด
ไข่ (egg ) เจริญเป็น ต้นอ่อนอยู่ภายในเมล็ด
โพลาร์นิวเคลียส (polar nucleus ) เจริญเป็น เอนโดสเปิร์ม
เยื่อหุ้มออวุล (integument ) เจริญเป็น เปลือกหุ้มเมล็ด

สำหรับส่วนประกอบอื่นๆ ของดอกจะเหี่ยวแห้งและสลายตัวไป การปฏิสนธิซ้อนของพืชดอกมีความสำคัญอย่างมาก เนื่องจากเป็นการสร้างอาหารให้แก่สิ่งมีชีวิตอื่นๆ เช่น ผลไม้ที่เราใช้รับประทานก็เกิดมาจากการปฏิสนธิ อาหารพวกข้าว ข้าวโพด ก็เป็นส่วนของเอนโดสเปิร์ม อาหารในเมล็ดถั่วหลายชนิดก็เป็นอาหารที่สะสมอยู่ในใบเลี้ยงของเอมบริโอของถั่ว

อากาศในอวกาศเป็นอย่างไร

อวกาศ (Space) คือ บริเวณที่อยู่นอกบรรยากาศของโลกออกไป ณ ที่นั้นไม่มีอากาศ ไม่มีการกระเจิงของแสง เพราะไม่มีโมเลกุลของก๊าซใด ๆ เพื่อทำให้เกิดการกระเจิงของแสงได้ นอกจากนี้ในอวกาศยังเป็นสุญญากาศ นั่นหมายความว่า ไม่ว่าจะมีเสียงดังแค่ไหน แต่เราก็จะไม่ได้ยิน หากอยู่ในอวกาศ

อวกาศมีความดันอากาศไหม

อากาศบนผิวโลกเรามีความดัน 1 บรรยากาศ แต่อากาศในชุดอวกาศมีความดันเพียง 0.29 บรรยากาศ

ทำไมนักบินอวกาศต้องใส่ถุงนอน

ถุงนอนสุญญากาศนี้จะมีลักษณะเป็นกระสอบที่มีโครงแข็งแบบพิเศษ ซึ่งจะผูกติดกับตัวบุคคลตั้งแต่ช่วงเอวลงมา เมื่อนักบินอวกาศลงไปนอนในถุงนอนนี้แล้ว อากาศจะถูกสูบออกจากถุงที่ปิดสนิท ทำให้เกิดสุญญากาศขึ้นและจะป้องกันไม่ให้ของเหลวในร่างกายลอยขึ้นไปและสะสมไปยังบริเวณรอบ ๆ สมองและดวงตา ทำให้ดวงตาของนักบินได้พักจากแรงกดดันขณะนอนหลับ

ยานอวกาศมีความหมายอย่างไร

ยานอวกาศ (อังกฤษ: spacecraft) คือยานพาหนะ ยานหรือเครื่องยนต์ที่ออกแบบมาเพื่อบินไปในอวกาศ ยานอวกาศถูกนำมาใช้สำหรับวัตถุประสงค์ที่หลากหลาย รวมถึงการสื่อสารโทรคมนาคม การสังเกตโลก การอุตุนิยมวิทยา การนำทาง การสำรวจดาวเคราะห์และการขนส่งมนุษย์และสินค้า

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง