Asean connectivity master plan ประกอบด้วยการพัฒนาด้านใดบ้าง

ความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน

โดย สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (ITD)  www.itd.or.thแผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน (Master plan on ASEAN connectivity 2025 - MPAC) มีเป้าหมายให้อาเซียน “เชื่อมโยงและรวมตัวกันอย่างไร้รอยต่อ เสริมสร้างความสามารถในการแข่งขัน เพิ่มการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน และสร้างความรู้สึกเป็นประชาคมมากขึ้น” การเชื่อมโยงในความหมายของอาเซียนนี้ครอบคลุมตั้งแต่โครงสร้างพื้นฐาน กฎระเบียบ และประชาชนในกลุ่มประเทศสมาชิก โดย MPAC ให้ความสำคัญอย่างยิ่งกับการพัฒนาเส้นทางคมนาคมโดยเฉพาะโครงการ ASEAN Highway Network (AHN)ซึ่งมีแผนก่อสร้างถนน 23 สายระยะทางกว่า 38,400 กิโลเมตร และทางรถไฟ Singapore Kunming Rail Link (SKRL) ผ่านประเทศสิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย กัมพูชา เวียดนาม และเชื่อมต่อไปยังคุนหมิง ประเทศจีน หากโครงการก่อสร้างแล้วเสร็จการคมนาคมขนส่งภายในอาเซียนจะเป็นไปอย่างสะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น

โดย สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (ITD)  www.itd.or.th

แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน (Master plan on ASEAN connectivity 2025 - MPAC) มีเป้าหมายให้อาเซียน “เชื่อมโยงและรวมตัวกันอย่างไร้รอยต่อ เสริมสร้างความสามารถในการแข่งขัน เพิ่มการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน และสร้างความรู้สึกเป็นประชาคมมากขึ้น” การเชื่อมโยงในความหมายของอาเซียนนี้ครอบคลุมตั้งแต่โครงสร้างพื้นฐาน กฎระเบียบ และประชาชนในกลุ่มประเทศสมาชิก โดย MPAC ให้ความสำคัญอย่างยิ่งกับการพัฒนาเส้นทางคมนาคมโดยเฉพาะโครงการ ASEAN Highway Network (AHN)ซึ่งมีแผนก่อสร้างถนน 23 สายระยะทางกว่า 38,400 กิโลเมตร และทางรถไฟ Singapore Kunming Rail Link (SKRL) ผ่านประเทศสิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย กัมพูชา เวียดนาม และเชื่อมต่อไปยังคุนหมิง ประเทศจีน หากโครงการก่อสร้างแล้วเสร็จการคมนาคมขนส่งภายในอาเซียนจะเป็นไปอย่างสะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น

แต่ในทางปฏิบัตินั้นการบรรลุแผน MPAC ยังคงมีข้อจำกัดและอุปสรรคโดยสังเขปดังนี้ อาเซียนขาดความพร้อมทางการเมืองและเศรษฐกิจ การสัญจรผ่านเส้นทางในอาเซียนต้องเผชิญกับอุปสรรคนานัปการ เนื่องจากบางประเทศขาดความเป็นเอกภาพทางการเมืองการปกครอง เช่น เส้นทางในประเทศเมียนมา บางพื้นที่อยู่ภายใต้เขตอิทธิพลของกลุ่มชาติพันธุ์ซึ่งมีกฎระเบียบเกี่ยวกับการขนส่งที่ต่างจากรัฐบาลกลาง ส่งผลให้ผู้ประกอบการขนส่งอาจมีต้นทุนที่สูงขึ้น ประกอบกับบางประเทศยังขาดความพร้อมในด้านสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน จึงไม่เอื้ออำนวยต่อการเกิดเมืองใหม่และการขยายตัวทางเศรษฐกิจตามแนวเส้นทางที่วางแผนไว้ MPAC

ระบบคมนาคมที่แตกต่างกัน อาเซียนยังขาดการจัดระเบียบยานพาหนะข้ามแดนอย่างเบ็ดเสร็จ เนื่องจากแต่ละประเทศมีกฎระเบียบเรื่องยานพาหนะที่ต่างกัน อีกทั้งระบบพวงมาลัยซ้าย-ขวา และทะเบียนรถยังเป็นอุปสรรคในการขนส่งสินค้าข้ามแดน รัฐบาลแต่ละประเทศต้องใช้วิธีการเจรจาแบบทวิภาคีสร้างข้อตกลงร่วมกันเพื่อแก้ไขปัญหาเป็นรายกรณี

นอกจากนี้ ปัจจุบันการขนส่งสินค้าในอาเซียนส่วนใหญ่ยังใช้ทางบกเป็นหลัก รัฐบาลหลายประเทศจึงตัดสินใจลงทุนในเส้นทางบกมากเป็นพิเศษ ส่งผลให้ช่องทางการขนส่งสินค้าระหว่างกันอาเซียนยังคงกระจุกตัวอยู่ที่ทางบก ไม่ขยับขยายไปทางเรือหรือทางอากาศซึ่งบริบทในบางพื้นที่มีความสะดวกและมีต้นทุนการขนส่งที่ต่ำกว่าทางบก

ระบบการบริหารด่านชายแดนที่ต่างกัน อาเซียนพยายามแก้ไขระบบศุลกากรให้เป็นมาตรฐานเดียวกันผ่านระบบ ASEAN Single Window(ASW)แต่ในทางปฏิบัติแต่ละประเทศยังมีรายละเอียดและขั้นตอนทางศุลกากรที่แตกต่างกัน ขณะที่การจัดเก็บข้อมูลการขนส่งสินค้าข้ามแดนยังไม่สามารถทำได้อย่างครอบคลุม แม้ว่าการขนส่งสินค้าทางเรือและเครื่องบินจะมีระบบศุลกากรที่ชัดเจน แต่ปัญหาสำคัญอยู่ที่การขนส่งสินค้าทางบก เนื่องจากอาเซียนมีพรมแดนทางธรรมชาติเป็นแนวยาวไม่สามารถตั้งด่านควบคุมตลอดแนวชายแดนได้ ก่อให้เกิดการลักลอบขนส่งสินค้าหนีภาษีหรือสินค้าผิดกฎหมาย ส่งผลให้การคำนวณมูลค่าการค้าระหว่างประเทศในอาเซียนซึ่งผ่านระบบศุลกากรนั้นมีมูลค่าต่ำกว่ามูลค่าการค้าที่เกิดขึ้นจริง

ศักยภาพการแข่งขันของโลจิสติกส์ภายในประเทศ เมื่อการคมนาคมขนส่งข้ามพรมแดนมีความสะดวกมากขึ้น บทบาทของบริษัทผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์ขนาดใหญ่จากต่างประเทศจึงเพิ่มขึ้นเช่นกัน ส่งผลให้ผู้ประกอบการด้านโลจิสติกส์รายย่อยภายในประเทศไม่สามารถแข่งขันได้ จึงเป็นโจทย์ที่ท้าทายอาเซียนว่าทำอย่างไรจะสามารถประสานประโยชน์ระหว่างบริษัทขนส่งขนาดใหญ่กับผู้ประกอบการขนส่งรายย่อยภายในประเทศให้เติบโตไปด้วยกันได้

อย่างไรก็ดี ที่กล่าวมาข้างต้นเป็นเพียงส่วนหนึ่งจากปัญหาที่เกิดขึ้น การจะบรรลุเป้าหมายของ MPAC ในการสร้างความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนให้สำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ในปี 2568 นั้น ความแตกต่างทางการเมือง การปกครอง และช่องว่างการพัฒนาเศรษฐกิจของอาเซียน ยังคงเป็นข้อท้าทายสำคัญที่ต้องอาศัยความร่วมมือจากประเทศสมาชิก ในการแก้ไขกฎระเบียบและระบบโลจิสติกส์ภายในแต่ละประเทศให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน อันจะนำไปสู่การเชื่อมโยงอาเซียนอย่างไร้รอยต่อได้ในที่สุด

Ἱ��躷��ҹ����������§����¹
MASTER PLAN ON ASEAN CONNECTIVITY

��������� ���������§�����ҧ�ѹ�����¹�繹�º�·���Ӥѭ�ͧ�Ѱ����� ��㹪�ǧ������繻�иҹ����¹����ͻ� 2551-2552 ����������ʹ��ǤԴ�������¹�Ѵ��Ἱ��躷���ͼ�ѡ�ѹ���������§�ѹ�����¹ ���������ѡ���������������ԭ�Ժ⵷ҧ���ɰ�Ԩ Ŵ��ͧ��ҧ�ͧ��þѲ�� ��ʹ�����������������ö㹡���觢ѹ�ͧ����¹ ���������§�������Ҫԡ������Ҥ��ҡѺ��ЪҤ��š �Ǥ����Դ����ʹ����Ѱ����� ���Ѻ���ʹѺʹع���ҧ������ҡ���͹��Ҫԡ����¹ ������ա�èѴ��駤�зӧҹ�дѺ�٧�ͧ����¹��Ҵ��¡��������§ (High Level Task Force on Connectivity) ����¡��ҧἹ��躷 ����Ҽ�������¹��������Ѻ�ͧἹ��躷��Ҵ��¡��������§�����ҧ�ѹ�����¹ (Master Plan on ASEAN Connectivity) 㹪�ǧ��û�Ъ���ش�ʹ����¹���駷�� 17 � ��ا�ҹ�� ������ѹ��� 28 ���Ҥ� 2553� Ἱ��躷�����ਵ�������������Ѵ���ŧ�ع�ҡ������������¹͡����¹����Դ���������§�������Ҫԡ��� 10 ����������˹�����Ƿ��㹴�ҹ�ç���ҧ��鹰ҹ ��ҹ������º ��д�ҹ��ЪҪ�
ͧ���Сͺ����������§ 3 ��ҹ

����������§��ҹ�ç���ҧ��鹰ҹ ���ա�á�˹����ط���ʵ���Ἱ��躷� ����ա��ŧ�ع������ҧ��� ��鹷ҧö� ��â��觷ҧ��� ��â��觷ҧ�ҡ�� �����駡��������§��ҹ෤��������ʹ�� ����ç��÷�͡�ҫ���ú������俿�Ңͧ����¹

�ط���ʵ��

�ҵá���Ӥѭ

���㹻� (�.�.)

�ط���ʵ���� 1 ������ҧ�ç���·ҧ��ǧ����¹�����������

1) ��Ѻ��ا�����ǹ��ҧ � ����ѧ��ӡ��Ҫ�鹷�� 3 �ͧ�ҧ��ǧ����¹�������㹪�鹷�� 3 �����ҧ���� ���������Ӥѭ�٧�ش�Ѻ�����ǹ����ӡ��Ҫ�鹷�� 3 �ͧ��鹷ҧ�����Թ��Ҽ�ҹᴹ

2012

2) �Դ��駻��¨�Ҩú���������ѹ㹶���ء��·���˹� ���������Ӥѭ����ɡѺ��鹷ҧ�����Թ��Ҽ�ҹᴹ

2013

3) ��Ѻ��ا�����ǹ����繪�鹷�� 2 ���� 3 ����ջ���ҳ��è�Ҩ�˹��� ����繪�鹷�� 1

2020

4) �ӡ���֡�Ҥ��������㹡��������§����ȷ������СѺ����Ⱥ��蹴Թ�˭�ͧ����¹1

2015

5) ¡�дѺ��â��µ�Ǣͧ�ҧ��ǧ����¹2 ��ѧ����Ȩչ����Թ��� ��੾�����ҧ��觪�ǧ��ا�ҹ�¼�ҹ��ѧ�Ҥ�˹�ͧ͢�������� ��ҹ����Ⱦ��� 件֧ࢵᴹ�ͧ������Թ���

2015

˹�ҵ���

แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน” ส่งผลดีอย่างไรต่อประเทศสมาชิกอาเซียน

แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน (Master plan on ASEAN connectivity 2025 - MPAC) มีเป้าหมายให้อาเซียนเชื่อมโยงและรวมตัวกันอย่างไร้รอยต่อ เสริมสร้างความสามารถในการแข่งขัน เพิ่มการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน และสร้างความรู้สึกเป็นประชาคมมากขึ้น” การเชื่อมโยงในความหมายของอาเซียนนี้ครอบคลุมตั้งแต่โครงสร้าง ...

ประเทศคู่เจรจาใดที่มีการพัฒนาด้านความเชื่อมโยงในอาเซียน (Asean Connectivity)

ในปัจจุบัน ACCC มีกลไกหารือกับคู่เจรจาของอาเซียน ได้แก่ ญี่ปุ่น จีน สาธารณรัฐเกาหลี และ อินเดีย และสหภาพยุโรป นอกจากนี้ ที่ประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit –EAS) ครั้งที่6 เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2554 ที่บาหลีอินโดนีเซีย ได้ให้การรับรอง Declaration of the 6th East Asia Summit on ASEAN Connectivity และที่ ...

ประโยชน์ที่ไทยได้รับจากการเข้าร่วมกลุ่มอาเซียน ตรงกับข้อใด

1. ป้องกันความขัดแย้งและสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างประเทศสมาชิก เพื่อช่วยส่งเสริมสันติภาพในภูมิภาค 2. ช่วยให้มีการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน รวมทั้งมีกลไกในการควบคุมการทำงานของภาครัฐให้มีความโปร่งใสยิ่งขึ้น 3 . ช่วยให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมแก้ไขปัญหาต่าง ๆ มากขึ้น

แผนแม่บทความเชื่อมโยงระหว่างกันของอาเซียนเพื่อการเป็นประชาคมอาเซียนประกอบด้วยเรื่องใดบ้าง

แผนแม่บทว่าด้วยการเชื่อมโยงอาเซียนแบ่งออกเป็นสามส่วน : 1. การเชื่อมโยงทางกายภาพ (Physical Connectivity) เป็นเรื่องการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน ถนน ทางหลวง ทางรถไฟ ท่าเรื่อ การขนส่งทางน้ำ ทางทะเล ฯลฯ 2. การเชื่อมโยงทางสถาบัน (Institutional Connectivity) เป็นเรื่องของกลไก กระบวนการ ระบบการบริหารจัดการและการ

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง