ปัจจัยทางภูมิศาสตร์แบบใดมีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานมากที่สุด

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ในดินแดนไทย

1.ปัจจัยทางกายภาพ

   1) ภูมิอากาศ ดินแดนในไทยมีลมมรสุม 2 ชนิด คือ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งนำความชุ่มชื้นมาจากมหาสมุทรอินเดีย และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือนำความหนาวเย็นมาจากมาจากประเทศจีน ทำให้บริเวณนี้มีสภาพเหมาะสมแก่การเพาะปลูก

   2) ลักษณะภูมิประเทศ

   3) ดินและน้ำ

   4) ป่าไม้และแร่ธาตุ

2. ปัจจัยทางสังคม  สภาพความมั่นคงปลอดภัยในชีวิต ความคิด ความเชื่อ การประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม การดำเนินชีวิต ด้านภาษา มีกติกาควบคุมสมาชิกในสังคม ก่อให้เกิดระบบจารีตประเพณี กฎหมาย ปัจจัยทางสังคม ซึ่งมีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์

 

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ในดินแดนประเทศไทย 

การตั้งถิ่นฐานและการดำเนินชีวิตของผู้คน จะขึ้นอยู่กับปัจจัยพื้นฐานสำคัญ คือ
            1. ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ ที่มีผลต่อการพัฒนาการการตั้งถิ่นฐานและการดำเนินชีวิตของผู้คน มีดังนี้

                        1) ลักษณะภูมิประเทศ หมายถึง สภาพที่ตั้งและลักษณะของพื้นที่ของแต่ละภูมิภาคที่แตกต่างกัน เช่น บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำ ที่ราบสูง ภูเขา เป็นต้น โดยลักษณะภูมิประเทศที่เหมาะสมในการตั้งถิ่นฐานของ   ผู้คนมักจะเป็นที่ราบ ที่ราบลุ่มแม่น้ำต่างๆ นอกจากจะเหมาะสมในการเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์แล้ว แม่น้ำยังเป็นเส้นทางการคมนาคมสำหรับติดต่อกับชุมชนอื่นๆ อีกด้วย

                        2) ลักษณะภูมิอากาศ หมายถึง สภาพอากาศและปริมาณของน้ำฝนที่มีผลต่อความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ในภูมิภคต่างๆ ที่มีความแตกต่างกัน เช่น บริเวณที่มีภูมิอากาศไม่ร้อนจัดหรือหนาวจัดเกินไป และอยู่ในบริเวณทีฝนตกมากพอสำหรับการเพาะปลูก ก็จะมีผู้คนเข้ามาอาศัยอยู่มากและประกอบอาชีพเกษตรกรรม เป็นต้น

                        3) ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและมนุษย์นำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดำรงชีวิต เช่น ป่าไม้ สัตว์ป่า แร่ ดิน เป็นต้น หากพื้นที่ใดที่มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูกและอยู่ใกล้แหล่งน้ำ จะเป็นพื้นที่ที่ผู้คนจำนวนมากเลือกตั้งถิ่นฐานเป็นที่อยู่อาศัย

            2. ปัจจัยทางสังคม ที่มีผลต่อการตั้งถิ่นฐานและการดำเนินชีวิตของผู้คนในภูมิภาคต่างๆ ได้แก่

                        1) ความปลอดภัย มนุษย์ทุกคนย่อมต้องการความปลอดภัยทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และทรัพย์สิน ดังนั้นการเลือกตั้งถิ่นฐานจึงต้องคำนึงถึงการอยู่ร่วมกันกับกลุ่มคนที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดสนิทสนม คุ้นเคยกัน

                        2) วัฒนธรรม ความเชื่อ และประเพณี กลุ่มคนที่มีความคิด ความเชื่อแบบเดียวกันหรือมีการใช้ภาษาพูด การแต่งกาย การนับถือศาสนาเดียวกัน ย่อมจะตั้งถิ่นฐานอยู่ในพื้นที่เดียวกันและมีวิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณีที่คล้ายคลึงกัน เหมือนกัน

                                                                                                   

สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

  ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ ที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานในชุมชนประกอบไปด้วยสภาพภูมิประเทศและสภาพภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ  การตั้งถิ่นฐานบริเวณที่ราบลุ่มใกล้แหล่งน้ำ อากาศอบอุ่น และทรัพยากรต่างๆที่เอื้อต่อการตั้งถิ่นฐาน การประกอบอาชีพ การสร้างสรรค์วัฒนธรรมประเพณี และการดำรงชีวิต

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ตัวชี้วัด

 มฐ ส4.2 ป.3/1 ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชน

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. ระบุปัจจัยทางภูมิศาสตร์ที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานได้

2. การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐาน

3. เห็นความสำคัญของปัจจัยทางภูมิศาสตร์ที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐาน

การวัดผลและประเมินผล

1. ใบงาน เรื่อง ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐาน
2. การถาม-ตอบ
3. การเล่นเกม

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานด้านภูมิศาสตร์มีอะไรบ้าง

ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ ที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานในชุมชนประกอบไปด้วยสภาพภูมิประเทศและสภาพภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ การตั้งถิ่นฐานบริเวณที่ราบลุ่มใกล้แหล่งน้ำ อากาศอบอุ่น และทรัพยากรต่างๆที่เอื้อต่อการตั้งถิ่นฐาน การประกอบอาชีพ การสร้างสรรค์วัฒนธรรมประเพณี และการดำรงชีวิต

ปัจจัยใดที่ส่งต่อการตั้งถิ่นฐานของประชากร

การเลือกตั้งถิ่นฐานของชุมชนจะมีเหตุผล และองค์ประกอบที่เหมาะสมในการเลือก บริเวณนั้นๆ เพื่อเป็นถิ่นอยู่อาศัย ซึ่งประกอบด้วย 1) ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ ได้แก่ แหล่งน ้า โครงสร้าง และระดับความสูงของพื้นที่ ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ และสภาพ ภูมิอากาศ 2) ปัจจัยทางเศรษฐกิจ ได้แก่ การเกษตรกรรม การพาณิชย์ และอุตสาหกรรม และ ...

ปัจจัยใดที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานของชุมชน

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการของชุมชน ได้แก่ ปัจจัยทางด้านภูมิศาสตร์และปัจจัยทางสังคมซึ่งปัจจัยทางภูมิศาสตร์ เช่น ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ ส่วนปัจจัยทางสังคม เช่น ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี การควบคุมธรรมชาติ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานมีกี่ปัจจัย

1.ปัจจัยทางกายภาพ 2) ลักษณะภูมิประเทศ 3) ดินและน้ำ 4) ป่าไม้และแร่ธาตุ

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง