ขั้นตอนในการประมวลผลข้อมูลคือข้อใด


คำแนะนำ

         1.  แบบทดสอบแบ่งเป็น  2  ตอน ได้แก่ ตอนที่ 1 แบบทดสอบเป็นแบบปรนัย  4  ตัวเลือก
              มีจำนวน  10  ข้อ  10  คะแนน
         2.  ตอนที่  2  ภาคปฏิบัติแบบอัตนัย  2  ข้อ  10 คะแนน
         3.  ตอนที่ 1 ให้นักเรียนคลิกตัวเลือกที่เห็นว่าถูกที่สุดเพียงข้อเดียว และเมื่อทำแบบทดสอบครบ
              ทุกข้อแล้ว ให้คลิกที่ปุ่ม  "ตรวจคำตอบ"  จะทราบคะแนนทันที

ตอนที่ 1

ข้อที่ 1 :  ข้อใดพูดถูกต้องเกี่ยวกับ ข้อมูลส่งออกหรือรูปแบบการแสดงผลทางเอาต์พุต

   ก. เป็นขั้นตอนกระบวนการที่ต้องศึกษาสิ่งที่ต้องการของปัญหามากที่สุด
   ข. เป็นขั้นตอนกระบวนการที่ต้องศึกษาข้อมูลนำเข้าหรืออินพุตมากที่สุด
   ค. เป็นขั้นตอนกระบวนการที่ต้องศึกษาวิธีการประมวลผลมากที่สุด
   ง. ถูกทุกข้อ

ข้อที่ 2 :  ข้อใดพูดถูกต้องเกี่ยวกับ การทดสอบขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาในการเขียนโปรแกรม

   ก. เป็นขั้นตอนสุดท้าย
   ข. เป็นขั้นตอนทดลอง
   ค. เป็นขั้นตอนแรกสุด
   ง. เป็นขั้นตอนในการบำรุงรักษาโปรแกรม

ข้อที่ 3 :  เราเรียก กระบวนการแก้ปัญหาโดยการอธิบายขั้นตอนการทำงานเป็นข้อๆ ว่าอย่างไร

   ก. อัลกอริทึม
   ข. การวิเคราะห์
   ค. การเขียนโปรแกรม
   ง. การทดสอบหาข้อผิดพลาด

ข้อที่ 4 :  การอธิบายวิธีการประมวลผล เป็นต้นแบบในการพัฒนาข้อใด
   ก. การวิเคราะห์ปัญหา
   ข. การเขียนผังงาน
   ค. การเขียนโปรแกรม
   ง. การทำคู่มือโปรแกรมข้อที่ 5 : ในการเขียนโปรแกรมคำนวณหาพื้นที่สามเหลี่ยม ค่าความยาวของฐาน และความสูง จัดเป็นข้อมูลประเภทใด

   ก. ข้อมูลส่งออก
   ข. ข้อมูลนำเข้า
   ค. ประมวลผล
   ง. ตัวแปร

ข้อที่ 6 :  ข้อใดกล่าวถูกต้องกับ การทดสอบความถูกต้องของขบวนการแก้ไขปัญหา

   ก. การทดสอบความถูกต้องของปัญหาควรใช้ข้อมูลอย่างน้อย 1 ชุด
   ข. การทดสอบความถูกต้องของปัญหาขึ้นอยู่กับลักษณะของปัญหา
   ค. การทดสอบความถูกต้องของปัญหาควรใช้ข้อมูลอย่างน้อย 2 ชุด
   ง. การทดสอบความถูกต้องของปัญหาได้ทุกกรณีที่เกี่ยวข้องกับปัญหานั้นๆ

ข้อที่ 7 :  ข้อใดกล่าวถูกต้อง “ การวิเคราะห์ว่าต้องการผลลัพธ์อะไรจากการประมวลผล”

   ก.  สิ่งที่สำคัญสุดจากข้อมูลส่งออก
   ข.  สิ่งที่สำคัญสุดคือการวิเคราะห์ว่าโปรแกรมนั้นต้องทำงานบนเครื่องรุ่นใด
   ค.  สิ่งที่สำคัญสุดคือการวิเคราะห์รูปแบบการพิมพ์ผลลัพธ์
   ง.  ถูกทุกข้อ

ข้อที่ 8 : จากปัญหาต่อไปนี้ "ให้หาค่าเฉลี่ยของเลขจำนวนเต็ม 3 จำนวน ที่ป้อนผ่านแป้นพิมพ์ และแสดงค่าเฉลี่ยออกทางจอภาพ" คำว่าค่าเฉลี่ยนของจำนวนเต็ม 3 จำนวน หมายถึงข้อใด

   ก. ข้อมูลนำเข้า
   ข. การประมวลผล
   ค. ข้อมูลส่งออก
   ง. ถูกทุกข้อ

ข้อที่ 9 : การที่เราสามารถเข้าใจและแยกแยะปัญหาต่างๆ และลำดับการทำงานเป็นขั้นตอน ถือว่าเป็นประโยชน์ที่ได้จากกระบวนการข้อใด

   ก. การเขียนโปรแกรม
   ข. การวิเคราะห์ปัญหา
   ค. การประมวลผล
   ง. การทดสอบความถูกต้อง

ข้อที่ 10 : การที่เราคัดลอก และลอกเลียนแบบผู้อื่นเสมอ เกิดจากเราขาดทักษะกระบวนการในข้อใด

   ก.  การทดสอบความถูกต้อง
   ข.  การประมวลผล
   ค.  การวิเคราะห์ปัญหา
   ง.  การเขียนโปรแกรม


1.ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีกี่ขั้นตอน 1. 3 ขั้นตอน 2. 4 ขั้นตอน 3. 5 ขั้นตอน 4. 6 ขั้นตอน 2. ข้อใดเรียงลำดับขั้นตอนการวิเคราะห์ปัญหาได้ถูกต้อง 1. สิ่งที่ต้องการ => รูปแบบผลลัพธ์ => ข้อมูลนำเข้า => ตัวแปรที่ใช้ => วิธีการประมวลผล => ภาษาที่ใช้ 2. สิ่งที่ต้องการ => ข้อมูลนำเข้า => ตัวแปรที่ใช้ =>รูปแบบผลลัพธ์ => วิธีการประมวลผล => ภาษาที่ใช้ 3. สิ่งที่ต้องการ => รูปแบบผลลัพธ์ => ตัวแปรที่ใช้ => ข้อมูลนำเข้า => วิธีการประมวลผล => ภาษาที่ใช้ 4. สิ่งที่ต้องการ => รูปแบบผลลัพธ์ => ตัวแปรที่ใช้ => วิธีการประมวลผล => ข้อมูลนำเข้า => ภาษาที่ใช้ 3. ข้อใดไม่ใช่ขั้นตอนการแก้ปัญหา 1. การแจ้งปัญหาให้ผู้ดูแลตรวจสอบปรับปรุงระบบ 2. การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา 3. การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา 4. การดำเนินการแก้ปัญหา 4. ข้อใดไม่ได้อยู่ในหลักเกณฑ์ที่ต้องดำเนินการวิเคราะห์ปัญหา 1. รูปแบบผลลัพธ์ 2. ข้อมูลนำเข้า 3. ข้อมูลนำออก 4. ตัวแปรที่ใช้ 5. การเขียน Flowchart มีความหมายตรงกับข้อใด 1.  การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา 2. การดำเนินการแก้ปัญหาโดยคำพูด 3.  การแสดงการทำงานของคอมพิวเตอร์ 4. การใช้รูปภาพหรือสัญลักษณ์ ที่ใช้เขียนแทนคำอธิบาย 6. ข้อใดคือการจำลองขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาในรูปของคำบรรยาย 1. Flowchart 2. Algorithm 3. Pseudocode 4. Refinement 7. สัญลักษณ์ที่นิยมในการเขียน Flowchat แบ่งออกเป็นกี่กลุ่ม 1. 3  กลุ่ม 2. 4 กลุ่ม 3. 6 กลุ่ม 4. 7 กลุ่ม 8. สัญลักษณ์นี้มีความหมายตรงกับข้อใด 1. การเริ่มต้น 2. การรับ – ส่งข้อมูล 3. การตัดสินใจ 4. การประมวลผล 9. สัญลักษณ์นี้มีความหมายตรงกับข้อใด 1. การเริ่มต้น 2. การรับ – ส่งข้อมูล 3. การตัดสินใจ 4. การประมวลผล 10. สัญลักษณ์นี้มีความหมายตรงกับข้อใด

1. แสดงการเก็บข้อมูล

2. การรับ – ส่งข้อมูลโดยใช้แถบแม่เหล็ก

3. แสดงการหน่วงเวลาการประมวลผล

4. การประมวลผลข้อมูลด้วยมือ

11. สัญลักษณ์ใดคือการเริ่มเขียน Flowchart 1. 2. 3. 4. 12. คำสั่ง if, if…else, switch, case อยู่ในลักษณะโครงสร้างใด 1. โครงสร้างแบบลำดับ

2. โครงสร้างแบบทางเลือก

3. โครงสร้างแบบเงื่อนไข

4. โครงสร้างแบบทำซ้ำ

13. จากภาพคือลักษณะโครงสร้างใด 1. โครงสร้างแบบลำดับ 2. โครงสร้างแบบทางเลือก 3. โครงสร้างแบบเงื่อนไข 4. โครงสร้างแบบทำซ้ำ 14. การระบุข้อมูลเข้าข้อมูลออกอยู่ในกระบวนการใดของการแก้ปัญหา 1. การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา 2. การเลือกเครื่องมือและออกแบบวิธีขั้นตอน 3. การดำเนินการแก้ปัญหา 4. การตรวจสอบและปรับปรุง 15. หากนักเรียนต้องการหาคะแนนเฉลี่ยวิชาคอมพิวเตอร์ของนักเรียน 30 คน ข้อมูลนำเข้าคือข้อใด 1. คะแนนของนักเรียนแต่ละคน
2. สูตรหาค่าเฉลี่ย 3. ผลลัพธ์ที่ได้
4. วิชาคอมพิวเตอร์

16. ข้อใด ไม่ใช่ สิ่งที่ได้จากการวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา

1. ข้อมูลที่ต้องนำเข้า
2. รูปแบบผลลัพธ์ที่ต้องการ 3. ผลลัพธ์ที่ได้จากการหาคำตอบ 4. ขั้นตอนหรือวิธีการที่ต้องใช้ในการหาคำตอบ 17. นิลินต้องการหาค่าเฉลี่ยของจำนวนเต็ม 3 จำนวน 2 7 9 สิ่งแรกที่ควรทำคือข้อใด 1. การเลือกเครื่องมือและออกแบบวิธีขั้นตอน 2. การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา 3. การตรวจสอบและปรับปรุง 4. การดำเนินการแก้ปัญหา 18. โปรแกรมสำเร็จรูปหรือภาษาคอมพิวเตอร์มักถูกนำมาช่วยในขั้นตอนใดของการแก้ปัญหา 1. การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา 2. การเลือกเครื่องมือและออกแบบวิธีขั้นตอน 3. การดำเนินการแก้ปัญหา 4. การตรวจสอบและปรับปรุง 19. การพิจารณาเป้าหมายหรือสิ่งที่ต้องหาคำตอบ เรียกว่าอะไร 1. การระบุข้อมูลเข้า    2. การระบุข้อมูลออก 3. การกำหนดวิธีการประมวลผล 4. การขจัด 20. การพิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขที่กำหนดมาในปัญหา คือข้อใด 1. การระบุข้อมูลออก 2. การกำหนดวิธีการประมวลผล 3. การระบุข้อมูลเข้า 4. การขจัด 21. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ อยู่ในขั้นตอนการเขียนโปรแกรม 1. การสร้างปัญหา 2. การเขียนอัลกอริทึม 3. การเขียนโปรแกรม 4. การทดสอบโปรแกรม 22. ข้อใดต่อไปนี้ ถือเป็นกระบวนการทำซ้ำ  1. ตื่นนอน ล้างหน้า แปรงฟัน อาบน้ำ ไปโรงเรียน 2. เรียนหนังสือ ง่วงนอน แอบหลับ 3. อ่านหนังสือจนเวลาเที่ยงแล้วจึงไปทานข้าวกลางวัน 3. ถ้าหิวจะทานข้าวก่อนแล้วค่อยนอน 23. ข้อใดต่อไปนี้ "มิใช่" อัลกอริทึม 1. หลักการคำนวณสูตรคูณแม่ 12 2. จงหาผลรวมของเลขคู่ 3. คำนวณค่าล่วงเวลาของพนักงานทั้งหมด 4. ทุกข้อล้วนเป็นอัลริทึม 24. ประสิทธิภาพของอัลกอริทึม สามารถวัดจากข้อใดต่อไปนี้ 1. ต้องใช้หน่วยความจำมาก 2. ใช้เวลาพัฒนานาน เพื่อความรอบคอบ 3. ต้องง่ายต่อการทำความเข้าใจ 4. ถูกทุกข้อ 25. ตัวแปรชนิดใดเหมาะสมที่สุดสำหรับเก็บชื่อและนามสกุลของนักเรียน 1. จำนวนเต็ม (int) 2. ข้อความ (char) 3. จำนวนทศนิยม (float) 4. จำนวนทศนิยม (double) 26. เมื่อต้องการพัฒนาโปรแกรมจะต้องทำสิ่งใดก่อน 1. วิเคราะห์ปัญหา 2. เขียน Flowchar 3. เขียนโปรแกรม 4. เลือกภาษาที่ต้องใช้เขียน 27. ข้อใดเรียงลำดับขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมได้ถูกต้อง 1. เขียนโปรแกรม > ทำเอกสาร > เขียนผังงานและซูโดโค้ด > ทดสอบและแก้ไขโปรแกรม > วิเคราะห์ปัญหา 2. เขียนโปรแกรม > ทดสอบและแก้ไขโปรแกรม > วิเคราะห์ปัญหา > ทำเอกสาร > เขียนผังงานและซูโดโค้ด 3. วิเคราะห์ปัญหา > เขียนผังงานและซูโดโค้ด > เขียนโปรแกรม > ทดสอบและแก้ไขโปรแกรม > ทำเอกสาร 4. วิเคราะห์ปัญหา > เขียนโปรแกรม > เขียนผังงานและซูโดโค้ด > ทดสอบและแก้ไขโปรแกรม > ทำเอกสาร 28. ข้อใดคือข้อแตกต่างระหว่างซูโดโค้ดกับผังงาน 1. ซูโดโค้ดกับผังงานเป็นคำอธิบายขั้นตอนการทำงาน 2. ซูโดโค้ดกับผังงานเป็นแผนภาพของโปรแกรม 3. ผังงานเป็นคำอธิบายขั้นตอนการทำงาน แต่ซูโดโค้ดเป็นแผนภาพของโปรแกรม 4. ซูโดโค้ดเป็นคำอธิบายขั้นตอนการทำงาน แต่ผังงานเป็นแผนภาพของโปรแกรม

29. การจำลองความคิดเป็นสัญลักษณ์หรือผังงาน

ก. การเขียน Dictionary ข. การเขียน Applications ค. การเขียน Flowchart ง. การเขียน Software 30. ข้อใดต่อไปนี้ คือคำสั่งที่ต้องใช้หยุดการทำซ้ำและออกจากลูปของโปรแกรมได้ 1. continue 2. break 3. while 4. for 31. กิจกรรมใดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์น้อยที่สุด 1. แก้ปัญหา 2. ประดิษฐ์คิดค้น 3. ค้นคว้าหาความรู้ 4. ฝึกทักษะพิมพ์โดยใช้คอมพิวเตอร์ 32. การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา ตรงกับข้อใด 1. เป็นการเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี 2. เป็นการตรวจสอบและปรับปรุง 3. เป็นการทำความเข้าใจกับปัญหาเพื่อแยกข้อมูลออกมา 4. เป็นการลงมือดำเนินการแก้ปัญหา 33. ความหมายของอัลกอริทึม ตรงกับข้อใด 1. เป็นส่วนหนึ่งในขั้นตอนการพัฒนาระบบ 2. เป็นการวางแผนงาน การแก้ปัญหา 3. เป็นการจำลองความคิดเป็นข้อความหรือคำบรรยาย 4. ถูกทุกข้อ 34. จุดประสงค์การเขียนอัลกอริทึม คือข้อใด 1. เพื่อจัดลำดับขั้นตอนการแก้ไขปัญหาของโปรแกรม 2. เพื่อให้ทุกคนได้มีตัวเลือกในการใช้โปรแกรม 3. เพื่อเป็นตัวเลือกของการตัดสินใจของผู้บริหาร 4. เพื่อให้ป้องกันการ Copy โปรแกรม 35. ผังงาน (Flowchart) สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ มีดังนี้ 1. ผังงานระบบ , ผังงานโปรแกรม 2. ผังงานระบบ , ผังงานแสดงผล 3. ผังงานโปรแกรม , ผังงานแสดงผล 4. ผังงานแสดงผล , ผังงานโปรแกรม 36. การเขียนผังงาน (Flowchart) ไม่เหมาะกับลักษณะงานแบบใด 1. งานที่ไม่มีความซับซ้อน 2. งานที่มีความซับซ้อน 3. งานที่มีความยากง่ายปะปนกัน 4. ผิดทุกข้อ 37. การเขียนผังงาน (Flowchart) ที่ดี ตรงกับข้อใด 1. มีความซับซ้อน 2. มีความเป็นเชื่อมโยงที่หลากหลาย 3. การนำข้อความต่อเรียงกันให้เกิดความซับซ้อน 4. มีความเป็นระเบียบเรียบร้อยเข้าใจง่าย 38. Flowchart มีบทบาทต่อขั้นตอนใด 1. วิเคราะห์ปัญหา 2. จัดทำเอกสารประกอบ 3. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา 4. เขียนโปรแกรม 39. ข้อใดคือขั้นตอนสุดท้ายในการพัฒนาโปรแกรม 1. วิเคราะห์ปัญหา 2. จัดทำเอกสารประกอบ 3. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา 4. เขียนโปรแกรม 40. ขั้นตอนใดที่สามารถตรวจสอบได้ว่าโปรแกรมมีข้อผิดพลาด 1. วิเคราะห์ปัญหา 2. จัดทำเอกสารประกอบ 3. การทดสอบโปรแกรม 4. เขียนโปรแกรม

ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูลมีอะไรบ้าง

Data Processing คืออะไร?.
1. การเก็บรวบรวมข้อมูล ... .
2. การเตรียมข้อมูล ... .
3. การป้อนข้อมูล ... .
4. การประมวลผลข้อมูล ... .
5. การตีความข้อมูล ... .
6. การจัดเก็บข้อมูล.

ข้อใดจัดเป็นขั้นตอนแรกของกระบวนการประมวลผลข้อมูล

ลำดับการประมวลผลข้อมูล.
1. การรับข้อมูลเข้า (Input).
2. การประมวลผล (Process).
เป็นขั้นตอนการจัดการข้อมูลที่รับเข้ามา ด้วยวิธีการต่งๆ เช่น การคำนวณ การเรียงลำดับข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลลงในแฟ้มข้อมูล การแยกประเภทข้อมูลเป็นต้น.
3. การแสดงผล (Output).
สามารถแสดงลำดับขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล ดังรูป.

ขั้นตอนการเตรียมข้อมูลมีอะไรบ้าง

การเตรียมข้อมูลเป็นกระบวนการจัดเตรียมข้อมูลดิบเพื่อให้เหมาะกับการประมวลผลและการวิเคราะห์เพิ่มเติม ขั้นตอนที่สำคัญ ได้แก่ การเก็บรวบรวม การทำความสะอาด และการระบุประเภทข้อมูลสำหรับข้อมูลดิบในรูปแบบที่เหมาะสมสำหรับอัลกอริทึมของแมชชีนเลิร์นนิ่ง (ML) แล้วจึงสำรวจและแสดงผลข้อมูลต่อไป การเตรียมข้อมูลอาจใช้เวลาถึง 80% ของเวลา ...

ข้อใดคือวิธีการประมวลผล

การประมวลผล หมายถึงกระบวนการคิด หรือ การจัดระเบียบแบบแผนของข้อมูล เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ซึ่งทำได้โดยการคำนวณ เคลื่อนย้ายข้อมูล การเปรียบเทียบ และการวิเคราะห์ข้อมูล โดยอาจใช้สูตร ทางคณิตศาสตร์ หรือวิทยาศาสตร์ วิธีการต่าง ๆ เหล่านี้ ทำได้โดย อาศัยคำสั่งหรือโปรแกรมที่เขียนขึ้น

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง