วรรณคดีในสมัยรัตนโกสินทร์มีอะไรบ้าง

Successfully reported this slideshow.

Your SlideShare is downloading. ×

วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

ภาษาไทย ม.6 เรื่องวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

ภาษาไทย ม.6 เรื่องวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

More Related Content

  1. 1. วรรณคดีสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช กวีและวรรณคดีที่สำคัญในรัชกำลที่ 1 มีดังนี้ ~ 1 ~ พระบำทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ำจุฬำโลกมหำรำช 1. เพลงยำวรบพมำ่ที่ทำ่ดินแดง 2. บทละครเรื่องอุณรุท 3. บทละครเรื่องรำมเกียรต์ิ 4. บทละครเรื่องดำหลัง 5. บทละครเรื่องอิเหนำ 6. กฎหมำยตรำสำมดวง สมเด็จกรมพระรำชวงับวรมหำสุรสิงหนำท 1. นิรำศเสด็จไปรบพมำ่ที่นครศรีธรรมรำช 2. เพลงยำวถวำยพยำกรณ์เมื่อเพลิงไหมพ้ระที่นั่งอมรินทรำภิเษกมหำปรำสำท 3. เพลงยำวนิรำศเสด็จไปตีเมืองพมำ่ เจ้ำพระยำพระคลัง(หน) 1. รำชำธิรำช 2. สำมก๊ก 3. สมบัติอมรินทร์คำกลอน 4. บทมโหรีเรื่องกำกี 5. ลิลิตพยุตรำเพชรพวง 6. ลิลิตศรีวิชัยชำดก 7. ร่ำยยำวมหำเวสสันดรชำดกกณัฑ์กุมำรและกัณฑ์มัทรี พระเทพโมลี (กลิ่น) 1. ร่ำยยำวมหำเวสสันดรชำดกกณัฑ์มหำพน 2. มหำชำติคำ หลวง กณัฑ์ทำนกณัฑ์ 3. นิรำศตลำดเกรียบ
  2. 2. ~ 2 ~ พระธรรมปรีชำ(แกว้) 1. ไตรภูมิโลกวินิจฉัยกถำ สมเด็จกรมพระรำชวงับวรสถำนพิมุข 1. ชิดก๊กไซฮั่น เจ้ำพระยำพิพิธชัย 1. พระรำชพงศำวดำรฉบับพันจันทนุมำศ พระวิเชียรปรีชำ 1. พงศำวดำรเหนือ ไมป่รำกฏนำมผู้แตง่ 1. นิรำศอิหร่ำนรำชธรรม
  3. 3. วรรณคดีสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ลักษณะวรรณคดีสมัยรัชกำลที่ 2 1. เป็นยุคแห่งกำรปรับปรุงวรรณคดี จะเห็นได้วำ่มีกำรนำบทละครเรื่องอิเหนำ เรื่องรำมเกียรต์ิ มำแ ตง่ขึ้นใหมอี่กสำนวนหนึ่ง เพื่อให้เหมำะสมกบักำรเลน่ละครโดยสอดคล้องกับทำ่รำ และบทเพลง จึงเป็นกำรปรับปรุงกำรละครควบคูกั่บวรรณคดี 2. กลอนมีลักษณะเฉพำะตัว ได้มีกำรเพิ่มคำ สัมผัสใน ทำ ให้กลอนมีควำมไพเรำะมำกขึ้น 3. วรรณคดีมีทุกประเภททั้งวรรณคดีประเภทศำสนำ ขนบธรรมเนียมประเพณียอพระเกียรติ วรรณ ~ 3 ~ คดีประเภทบันเทิง และบทละคร 4. เนื้อหำเน้นเกยี่วกบัขนบธรรมเนียมประเพณี ระเบียบวินัย เพื่อควำมสงบสุขของสังคมและควำม บันเทิงของประชำชน 5. มีกำรแตง่ซอ่มวรรณคดีที่ขำดหำยไป เชน่ มหำชำติคำ หลวง และขุนช้ำงขุนแผน กวีและวรรณคดีที่สำคัญในรัชกำลที่ 2 มีดังนี้ พระบำทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ำนภำลัย 1. บทละครเรื่องอิเหนำ 2. บทละครเรื่องรำมเกียรต์ิ 3. บทละครนอก 5 เรื่อง คือ ไชยเชษฐ์ มณีพิไชย คำวี สังข์ทอง ไกรทอง 4. กำพย์เห่ชมเครื่องคำวหวำนและวำ่ด้วยงำนนักขัตฤกษ์ 5. บทพำกย์โขน ตอนนำงลอย นำคบำศ พรหมำสตร์ และเอรำวณั 6. เสภำเรื่องขุนช้ำงขุนแผน ตอนพลำยแกว้เป็นชกู้บันำงพิม ขุนแผนขึ้นเรือน 7. ขุนช้ำง ขุนแผนเข้ำห้องนำงแกว้กิริยำ และขุนแผนพำนำงวนัทองหนี นำยนรินทร์ธิเบศร์ 1. โคลงนิรำศนรินทร์ พระยำตรังคภูมิบำล 1. โคลงนิรำศตำมเสด็จลำ น้ำน้อย 2. โคลงนิรำศพระยำตรัง
  4. 4. 3. โคลงดั้นเฉลิมพระเกียรติพระบำทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ำนภำลัย 4. เพลงยำว 5. โคลงกวีโบรำณ พระสุนทรโวหำร(ภู)่ 1. นิรำศ 9 เรื่อง คือ เมืองแกลง พระบำท ภูเขำทอง วดัเจ้ำฟ้ำ อิเหนำ สุพรรณ รำพันพิลำป พระประธม เมืองเพชร 2. กลอนนิยำย 4 เรื่อง คือ โคบุตร สิงหไตรภพ ลักษณวงศ์ พระอภัยมณี 3. เสภำ 2 เรื่อง คือ ขุนช้ำงขุนแผน ตอน กำ เนิดพลำยงำม พระรำชพงศำวดำร 4. กลอนสุภำษิต 3 เรื่อง คือ สุภำษิตสอนหญิง เพลงยำวถวำยโอวำท สวสัดิ รักษำ 5. กำพย์ 1 เรื่อง คือ พระไชยสุริยำ 6. บทเห่ 4 เรื่อง คือ กำกี จับระบำ พระอภัยมณี โคบุตร 7. บทละคร 1 เรื่อง คือ อภัยนุรำช คณะนักปรำชญ์รำชกวี(ไมป่รำกฏนำม) 1. มหำชำติคำ หลวง 6 กณัฑ์ 2. พงศำวดำรจีนแปลเรื่อง เลียดก๊ก ห้องสิน ตั้งฮั่น ~ 4 ~
  5. 5. วรรณคดีสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เหตุกำรณ์สำคัญที่ส่งเสริมวรรณคดีในสมยัรัชกำลที่ 3 1. กำรจำรึกวิชำกำรที่วัดพระเชตุพนวิมลมงัคลำรำม วดัพระเชตุพนฯ เดิมเป็นวดัที่สร้ำงในสมยักรุงศรีอยุธยำ พระบำทสมเด็จพระนั่งเกล้ำเจ้ำอยูหั่วเสด็จพระรำชดำ เนินถวำยผ้ำพ ระกฐิน ทรงเห็นวำ่วดันี้ชำ รุดทรุดโทรมมำก จึงทรงปฏิสังขรณ์วดัพระเชตุพนฯ และมีพระรำชประสงค์จะให้วัดนี้เป็นแหลง่วิทยำกำรตำ่ง ๆ ที่จะถำ่ยทอดจำกรำชนักมำสู่ประชำชน จึงโปรดเกล้ำฯ ให้รวบรวมควำมรู้ตำ่ง ๆ ที่ถูกต้องแน่นอนแล้วจำรึกบนแผน่ศิลำประดับไวใ้นบริเวณพระอำรำมแห่งนี้ให้เป็นที่ศึกษำหำควำมรู้ของป ระชำชน วดันี้จึงเป็นเสมืองมหำวิทยำลัยของประชำชน 2. กำ เนิดกำรพิมพ์และหนังสือพิมพ์ มิชชันนำรีชำวอเมริกนัสองคนสำมีภรรยำ ชื่อนำยและนำงยัดสัน ด้วยควำมชว่ยเหลือของนำยยอร์ช เอชเฮำห์ ชว่ยกนัหลอ่ตัวพิมพ์ภำษำไทยที่เมืองยำ่งกุง้ เพื่อใช้พิมพ์คำ สอนคริสต์ศำสนำเป็นภำษำไทย ใช้สอนภำษำไทยแกค่นไทยที่ถูกกวำดต้อนไปเป็นเชลยครั้งเ สียกรุงศรีอยุธยำ มิชชันนำรีชื่อหมอบรัดเลย์ ชำวอเมริกนั ได้นำแทน่พิมพ์และตัวพิมพ์อักษรไทยเข้ำมำจัดตั้งโรงพิมพ์ขึ้นอีกแห่งหนึ่ง หมอบรัดเลย์ได้รั บจ้ำงรำชกำรพิมพ์ประกำศเรื่องห้ำมสูบฝิ่นและนำฝิ่นเข้ำมำในประเทศไทยจะนวน หมอบรัดเลย์ได้ออกหนัง สือพิมพ์ภำษำไทยฉบับแรกชื่อ บำงกอกกรีคอร์เดอร์ 3. กำรชำ ระวรรณคดี ในสมยัรัชกำลที่ 3 โปรดเกล้ำฯ ให้มีกำรชำ ระวรรณคดีขึ้น อันมีผลสืบเนื่องมำจำกกำรจำรึกวิชำกำรที่วัดพระเชตุพนฯ เพื่อให้เป็นแหลง่หำ ควำมรู้ของประชำชน จึงโปรดเกล้ำฯ ให้นักปรำชญ์รำชบัณฑิตได้ชำ ระตรวจสอบและเลือกสรรตำ รำตำ่ง ๆ ที่สมควรเผยแพร่ โปรดกล้ำ ฯ ให้ชำ่งจำรึกลงบนแผน่ศิลำ วรรณคดีที่มีกำรชำ ระครั้งนั้น ได้แก่ สุภำษิตพระร่ำง โคลงพำลีสอนน้อง โคล งโลกนิติ เป็นต้น กวีและวรรณคดีที่สำคัญในรัชกำลที่ 3 มีดังนี้ กวีและวรรณคดีที่สำคัญในรัชกำลที่ 3 มีดังนี้ พระบำทสมเด็จพระนั่งเกล้ำเจ้ำอยูหั่ว ทรงพระรำชนิพนธ์ในรัชกำลที่ 2 ~ 5 ~
  6. 6. 1. เสภำเรื่องขุนช้ำงขุนแผน ตอน ขุนช้ำงขอนำงพิมและขุนช้ำงตำมนำงวนัทอง 2. โคลงยอพระเกียรติพระบำทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ำนภำลัย 3. บทละครเรื่องสังข์ศิลป์ชัย ทรงพระรำชนิพนธ์ในรัชกำลที่ 3 1. เพลงยำวเรื่องพระรำชปรำรภกำรจำรึกควำมรู้บนแผน่ศิลำและเรื่องปลงสังขำร 2. โคลงฤำษีดัดตน (จำรึกวดัพระเชตุพนฯ) 3. เพลงยำวกลบท 4. พระบรมรำโชวำทและพระรำชกระแสรับสั่งตำ่งๆ 5. พระรำชปุจฉำและพระรำชปรำรภตำ่งๆ 6. ประกำศห้ำมสูบฝิ่น 7. นิทำนแทรกในเรื่องนำงนพมำศ สมเด็จพระมหำสมณเจ้ำกรมพระปรมำนุชิตชิโนรส 1. ลิลิตตะเลงพำ่ย 2. สมุทรโฆษคำ ฉันท์ 3. ร่ำยยำวมหำเวสสันดรชำดก 4. สรรพสิทธ์ิคำ ฉันท์ 5. กฤษณำสอนน้องคำ ฉันท์ 6. ลิลิตกระบวนพยุหยำตรำเสด็จทำงชลมำรคและสถลมำรค 7. โคลงดั้นเรื่องปฏิสังขรณ์วดัพระเชตุพนฯ 8. เพลงยำวเจ้ำพระ 9. กำพย์ขับไมก้ลอ่มช้ำงพัง 10. พระปฐมสมโพธิกถำ 11. ตำ รำฉันท์มำตรำพฤติและวรรณพฤติ 12. พระรำชพงศำวดำรกรุงศรีอยุธยำ ~ 6 ~ สมเด็จพระเจ้ำบรมวงศ์เธอกรมพระยำเดชำดิศร
  7. 7. ~ 7 ~ 1. โลกนิติคำ โคลง 2. โคลงนิรำศเสด็จไปทัพเวียงจันทร์ 3. ฉันท์ดุษฎีสังเวยตำ่งๆ 4. โคลง (จำรึกวดัพระเชตุพนฯ) พระเจ้ำบรมวงศ์เธอกรมหลวงวงศำธิรำชสนิท 1. นิรำศพระประธม 2. โคลงจินดำมณี 3. นิรำศสุพรรณ 4. กลอนกลบทสิงโตเลน่หำง พระเจ้ำบรมวงศ์เธอ กรมหมนื่ไกรสรวิชิต 1. โคลงฤำษีดัดตน 2. โคลงกลบทกบเต้นไตร่ยำงค์ 3. เพลงยำวกลบท พระมหำมนตรี(ทรัพย์) 1. บทละครเรื่องระเดน่ลันได 2. เพลงยำววำ่กระทบพระยำมหำเทพ 3. โคลงฤำษีดัดตน กรมพระรำชวงับวรมหำศักดิพลเสพย์ 1. บทละครนอกเรื่องพระลอนรลักษณ์ 2. เพลงยำวกรมศักด์ิ
  8. 8. วรรณคดีสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กวีและวรรณคดีที่สำคัญในรัชกำลที่ 4 มีดังนี้ พระบำทสมเด็จพระจอมเกล้ำเจ้ำอยูหั่ว 1. บทละครเรื่องรำมเกียรต์ิ ตอนพระรำมเดินดง 2. มหำชำติ 5 กณัฑ์ คือ วนปเวสน์ จุลพน มหำพน สักกบรรพ และฉกษัตริย์ 3. ประกำศและพระบรมรำชำธิบำย 4. บทจับระบำ เรื่องรำมสูรและเมขลำ นำรำยณ์ปรำบนนทุก 5. บทพระรำชนิพนธ์เบ็ดเตล็ด เชน่ บทเบิกโรงละครหลวง บทรำดอกไมเ้งินทอง 6. จำรึกวดัพระเชตุพนธ์ ~ 8 ~ หมอ่มเจ้ำอิศรญำณ 1. อิศรญำณภำษิต หมอ่มรำโชทัย (ม.ร.ว. กระตำ่ย อิศรำงกูรฯ) 1. จดหมำยเหตุเรื่องรำชทูตไทยไปลอนดอน 2. นิรำศลอนดอน
  9. 9. วรรณคดีสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กวีและวรรณคดีที่สำคัญในรัชกำลที่ 5 มีดังนี้ พระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยูหั่ว 1. พระรำชพิธีสิบสองเดือน 2. ไกลบ้ำน 3. พระรำชวิจำรณ์ 4. บทละครเรื่องเงำะป่ำ 5. ลิลิตนิทรำชำคริต 6. บทละครเรื่องวงศเทวรำช 7. กวีนิพนธ์เบ็ดเตล็ด เชน่ กำพย์เห่เรือ โคลงสุภำษิต โคลงรำมเกียรต์ิ 8. บันทึกและจดหมำยเหตุตำ่งๆ ~ 9 ~ พระยำศรีสุนทรโวหำร (น้อย อำจำรยำงกูร) 1. แบบเรียนภำษำไทย 6 เลม่ 2. พรรณพฤกษำและสัตวำภิธำน 3. คำ ฉันท์กลอ่มช้ำง 4. คำ นมสักำรคุณำนุคุณ พระเจ้ำบรมวงศ์เธอ กรมพระนรำธิปประพันธ์พงศ์ 1. เฉลิมพระเกียรติกษัตริย์คำ ฉันท์ 2. ลิลิตมหำมงกุฎรำชคุณำนุสรณ์ 3. ลิลิตตำ นำนพระแทน่มนังคศิลำ 4. พระรำชพงศำวดำรพมำ่ 5. บทละครเรื่องสำวเครือฟ้ำ
  10. 10. ~ 10 ~ 6. บทละครเรื่องพระลอ 7. บทละครเรื่องไกรทอง 8. บทละครพงศำวดำรเรื่องพันท้ำยนรสิงห์ วรรณคดีสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว กวีและวรรณคดีที่สำคัญในรัชกำลที่ 6 มีดังนี้ พระบำทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ำเจ้ำอยูหั่ว 1. บทละครพูดตำ่งๆ หัวใจนักรบ มทันะพำธำ พระร่วง วิวำหพระสมุทร โพงพำง เวนิสวำณิช เห็นแกลู่ก ตำมใจทำ่น โรเมโอและจูเลียต 2. บทละครเบิกโรงเรื่องดึกดำ บรรพ์ 3. บทละครดึกดำ บรรพ์ 4. บทละครร้อง เชน่ สำวิตรี ท้ำวแสนปม 5. บทละครรำ เชน่ ศกุนตลำ 6. บทโขน แก่รำมเกียรต์ิ 7. บอ่เกิดรำมเกียรต์ิ 8. เมืองไทยจงตื่นเถิด 9. ลัทธิเอำอยำ่ง 10. พระนลคำ หลวง สมเด็จพระเจ้ำบรมวงศ์เธอ กรมพระยำดำ รงรำชำนุภำพ 1. พงศำวดำรเรื่องไทยรบพมำ่ 2. นิรำศนครวดั 3. เที่ยวเมืองพมำ่ 4. นิทำนโบรำณคดี 5. ควำมทรงจำ 6. สำส์นสมเด็จ 7. เสด็จประพำสต้น 8. ประวตัิกวีและวรรณคดีวิจำรณ์
  11. 11. ~ 11 ~ 9. ฉันท์ทูลเกล้ำถวำยรัชกำลที่ 5 พระรำชวรวงศ์เธอ กรมหมนื่พิทยำลงกรณ 1. จดหมำยจำงวำงหร่ำ 2. นิทำนเวตำล 3. ประมวลนิทำน น.ม.ส. 4. พระนลคำ หลวง 5. กนกนคร 6. สำมกรุง สมเด็จพระเจ้ำบรมวงศ์เธอ เจ้ำฟ้ำกรมพระยำนริศรำนุวตัิวงศ์ 1. อุณรุท ตอน สมอุษำ 2. สังข์ทอง ตอน ถว่งสังข์ 3. อิเหนำ ตอนเผำเมือง 4. บทเพลง เชน่ เพลงเขมรไทรโยค เพลงสรรเสริญพระบำรมี เพลงตับตำ่งๆ 5. กำพย์เห่เรือ เจ้ำพระยำธรรมศักด์ิมนตรี 1. โคลงกลอนของครูเทพ 2. บันเทิงคดีตำ่งๆ 3. บทละครพูด 4. แบบเรียนธรรมจริยำ พระยำอุปกิตศิลปะสำร 1. คำ ประพันธ์บำงเรื่อง 2. ชุมนุมนิพนธ์ 3. สงครำมมหำภำรตะคำ กลอน พระยำศรีสุนทรโวหำร (ผัน)
  12. 12. ~ 12 ~ 1. อิลรำชคำ ฉันท์ นำยชิต บุรทัต 1. สำมคัคีเภทคำ ฉันท์ 2. กวีนิพนธ์บำงเรื่อง 3. พระเกียรติงำนพระเมรุทองท้องสนำมหลวง พระยำอนุมำนรำชธนและพระสำรประเสริฐ 1. กำมนิต วำสิฏฐี 2. หิโตปเทศ 3. ทศมนตรี 4. สมญำภิธำนรำมเกียรต์ิ
  13. 13. วรรณคดีหลังสมัยรัชกาลที่6 นับตั้งแตรั่ชกำลที่ 5 และ 6 อิทธิพลของวรรณคดียุโรปได้แผเ่ข้ำมำในประเทศไทย เป็นผล ให้วรรณคดีไทยเปลี่ยนแปลงรูปแบบและเนื้อหำ เมื่อสิ้นรัชกำลที่ 6 วรรณกรรมตำมแบบฉบับดั้งเดิมขำดผู้อุปถัมภ์ค้ำ จุนอยำ่งจริงจัง ประกอบกบัมีปัจจัยหลำยอยำ่งเป็นมูลเหตุให้วรรณกรรมไทยมีวิวฒันำกำรอยำ่งรวดเร็วไปตำมแนวตะวนัตก อันเป็นลักษณะสำคัญของวรรณกรรมปัจจุบัน ล้ำ หน้ำวรรณกรรมแบบดั้งเดิมไปเป็นอันมำก แตอ่ยำ่งไรก็ตำมถึงแม้วรรณกรรมปัจจุบันจะรุดหน้ำไปเพียงใด ใชว่ำ่วรรณกรรมแบบเดิมจะเสื่อมควำมนิยมไปจนหมดสิ้นก็หำไม่เพียงลดประมำณลงไปเทำ่นั้น ~ 13 ~
  14. 14. วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ที่มีชื่อเสียง 7 เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี มหำชำติ เป็นชำติที่ยิ่งใหญข่องพระโพธิสัตว์ที่ได้เสวยพระชำติเป็นพระเวสสันดรและ เป็นพระชำติสุดท้ำยกอ่นจะตรัสรู้เป็นพระสัมมำสัมพุทธเจ้ำ คนไทยรู้จักและคุ้ยเคยกบัมหำชำติมำตั้งแตส่มั ยสุโขทัย ดังที่ปรำกฏในหลักฐำนในจำรึกนครชุม และในสมยัอยุธยำก็ได้มีกำรแตง่และสวดมหำชำติคำ หล วงในวนัธรรมสวนะ ส่วนกำรเทศน์มหำชำติเป็นประเพณีที่สำคัญในทุกท้องถิ่นและมีควำมเชื่อกนัวำ่ กำรฟั งเทศน์มหำชำติจบภำยในวนัเดียวจะได้รับอำนิสงส์มำก ~ 14 ~ ผู้แต่ง เจ้ำพระยำพระคลัง(หน) ลักษณะการประพันธ์ ควำมเรียงร้อยแกว้ ร่ำยยำว กลบท กลอนพื้นบ้ำน ความย่อ กลำ่วถึงพระนำงมทัรีเข้ำป่ำหำผลไม้แล้วเจอเหตุกำรณ์มหัศจรรย์ตำ่ง ๆ จึงเดินทำงกลับอำศรม ก็เกิดพำยุใหญ่มืดครึ้มไปทั่วบริเวณ อีกทั้งยังมีสิงห์สำรำสัตว์ร้ำย มำขวำงทำงไว้ เมอื่มำถึงอำศรมได้ทรำบควำม ทำ ให้พระองค์เสียพระทัยมำก จนสลบไป หลังจำกฟื้นคืนสติกลับมำ พระนำงก็อนุโมทนำกบัพระเวสสันดรด้วย เนื้อเรื่อง รุ่งเช้ำพระนำงมทัรี เข้ำป่ำหำผลไม้"เกิดเหตุแปลกประหลำดมหัศจรรย์ ผลไมเ้ผือกมนัชำ่งหำยำกที่สุด ไมว่ำ่จะเป็นมะมว่งมนั ลูกจันทน์ ลิ้นจี่ น้อยหน่ำ สำลี่ ละมุด พุทรำ ไมมี่ให้เก็บเหมือนดังกบัวนักอ่น นำงรีบย้อนกลับเคหำ ก็เกิดพำยุใหญ่จนมืดครึ้มไปทั่วทั้งป่ำ ท้องฟ้ำสีแดงปำนเลือดละเลง ทั้งแปดทิศปรำกฎมืดมนไปหมดอยำ่งไมเ่คยมี พระนำงทรงห่วงหน้ำพะวงหลัง เกรงจะมีภัยแตพ่ระเวสสันดรำ กณัหำและชำลี พระ นำงมทัรีรีบยกหำบใส่บำ่รีบเดินทำง พอถึงชอ่งแคบระหวำ่งเขำคีรี เป็นตรอกน้อยรอยวิถีทำงที่เฉพำะจะต้องเสด็จผำ่น ก็พบกบัสองเสือสำมสัตว์มำนอนสกัดหน้ำ เทวดำสำมองค์แปลงร่ำงเป็นรำชสีห์ เสือเหลือง เสือโคร่งสกดัทำงนำงไวเ้พื่อมิให้พระนำงมทัรีติดตำมกณัหำ
  15. 15. ชำลีได้ทัน แตถึ่งกระนั้น เมื่อยำมทุกข์เข้ำบีบคั้น ควำมรักลูก ควำมห่วงพระภัสดำ พระนำงจึงกม้กรำบวิงวอน ขอหนทำงตอ่พญำสัตว์ทั้งสำม เมอื่ได้หนทำงแล้ว พระนำงก็รีบเสด็จกลับอำศรม เมอื่มำถึงอำศรม ไมพ่บกณัหำ ชำลี พระนำงก็ร้องเรียกหำวำ่"ชำลี กณัหำ แมม่ำถึงแล้ว เหตุไฉนไยพระลูกแกว้ จึงไมม่ำรับเลำ่หลำกแกใ่จ แตก่อ่นร่อนชะไรสิพร้อมเพรียง เจ้ำเคยวิ่งระรี่เรียงเคียงแขง่กนัมำรับพระมำรดำ เคยแย้มสรวลสำรวจร่ำ ระรื่นเริงรีบรับเอำขอคำน แล้วก็พำกนักรำบกรำนพระชนนี พอ่ชำลี ก็จะรับเอำผลไม้แมก่ณัหำก็จะอ้อนวอนไหวจ้ะเสวยนม ผทมเหนือพระเพลำพลำง เจ้ำเคยฉอเลำะแมต่ำ่ง ๆ ตำมประสำทำรกเจริญใจฯ" บัดนี้ลูกรักทั้ง คูไ่ปไหนเสีย จึงมิมำรับแมเ่ลำ่ ครั้นเข้ำไปถำมพระเวสสันดรก็ถูกตัดพ้อตอ่วำ่ตำ่ง ๆ จนพระนำงมทัรีถึงวิสัญญีภำพสลบลง พระเวสสันดรทรงปฐมพยำบำลจนพระนำงมัทรีฟื้น แล้วจึงแจ้งควำมจริงวำ่ พระองค์ได้ทรงยกลูกรักชำยหญิงทั้งสอง มอบให้แกชู่ชกไปแล้วตั้งแตเ่มื่อวำน พระนำงก็อนุโมทนำซึ่งทำนนั้นด้วย ~ 15 ~ วิเคราะห์คุณค่าจากเรื่อง 1.คุณคำ่ด้ำนวรรณศิลป์ 1.1 ใช้ถ้อยคำ ไพเรำะ มีกำรเลน่คำ เลน่สัมผัสอักษร มีกำรใช้โวหำรภำพพจน์ และกำรพรรณนำให้เกิดควำมรู้สึกที่ละเอียดออ่น รวมทั้งเกิดจินตภำพชัดเจน 1.2 เนื้อหำของกณัฑ์มทัรีแสดงให้เห็นถึงควำมสัมพันธ์ระหวำ่งธรรมชำติกับอำรมณ์ควำมรู้สึกของตัวละครได้อ ยำ่งชัดเจน จะเห็นได้จำกตอนที่เกิดเรื่องร้ำยแกพ่ระนำงมัทรีขณะที่หำพลำหำรอยูใ่นป่ำ 2.คุณคำ่ทำงด้ำนเนื้อหำ มีกำรสอดแทรกเนื้อหำที่มีควำมสนุกสนำนและแฝงไปด้วยข้อคิดแ ละหลักธรรมทำงพระพุทธศำสนำ 3.คุณคำ่ด้ำนสังคม 3.1 สะท้อนให้เห็นคำ่นิยมแนวโลกุตตรธรรมของประชำชนวำ่ มีควำมปรำรถนำจะบรรลุสัมมำสัมโพธิญำณ 3.2 เรื่องพระมหำเวสสันดรชำดก เป็นวรรณกรรมที่เกิดขึ้นในสมยัรัตนโกสินทร์ตอนต้น จึงเป็นภำพสะท้อนชีวิตควำมเป็นอยู่ขนบธรรมเนียม และคำ่นิยมของคนในยุคนั้น ๆ ได้ดีวำ่
  16. 16. มีกำรซื้อขำยบุคคลเป็นทำส นิยมกำรบริจำคทำนเพื่อหวงับรรลุนิพพำน มีควำมเชื่อเรื่องลำงบอกเหตุ เชื่อเรื่องอำ นำจของเทพยดำฟ้ำดินตำ่ง ๆ นอกจำกนี้ ยังแสดงภำพชีวิตในชนบทเกยี่วกบักำรละเลน่และกำรเลน่ซ่อนหำของเด็ก ๆ 3.3 ให้แง่คิดเกยี่วกบับทบำทหน้ำที่ของผู้หญิงในฐำนะที่เป็นแมแ่ละเป็นภรรยำที่ดี ~ 16 ~ ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญเหนือสิ่งอื่นใด 3.4 มหำเวสสันดรชำดก กณัฑ์มทัรี สะท้อนแนวคิดสำคัญเกยี่วกบัควำมรักของแมที่่มีตอ่ลูกอยำ่งสุดชีวิต 3.5 ข้อคิด คติธรรม ที่สำมำรถนำไปใช้ในชีวิตประจำ วนัของทุกคนได้ เกยี่วกบักำรเป็นคูส่ำมีภรรยำที่ดี กำรเสียสละ เป็นคุณธรรมที่น่ำยกยอ่ง และกำรบริจำคทำน เป็นกำรกระทำที่สมควรได้รับกำรอนุโมทนำ
  17. 17. เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผนตอน ขุนช้างถวายฎีกา ผู้แต่ง ไมป่รำกฏนำมผู้แตง่ตอนขุนช้ำงถวำยฎีกำแต่ได้รับกำรยกยอ่งจำกวรรณคดีสโมสรวำ่แตง่ดีเยี่ยมโดยเฉพำะ กระบวนกลอนที่สื่ออำรมณ์สะเทือนใจ(เป็น ๑ ใน ๘ ตอนที่ได้รับกำรยกย่อง) ในตอนขุนแผนขึ้นเรือนขุนช้ำงและตอนขุนแผนพำนำงวนัทองหนีเป็นพระรำชนิพนธ์ในพระบำทสมเด็จพร ะพุทธเลิศหล้ำนภำลัย ตอนขุนช้ำงขอนำงพิมและขุนช้ำงตำมนำงวนัทองเป็นพระรำชนิพนธ์ในพระบำทสมเด็จพระนั่งเกล้ำเจ้ำอยูหั่ ว ตอนกำ เนิดพลำยงำมเป็นสำนวนของสุนทรภู่ ทมี่าของเรื่อง ขุนช้ำงขุนแผนเป็นตำ นำนที่เลำ่สืบตอ่กนัมำในเมืองสุพรรณบุรี และกำญจนบุรี โดยเชื่อกนัวำ่เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นจริงในแผน่ดินสมเด็จพระพันวษำแห่งกรุง ศรีอยุธยำ โดยในตำ นำนเลำ่เพียงวำ่ นำยทหำรยศ ขุนแผนผู้หนึ่งได้ถวำยดำบฟ้ำฟื้นแดส่มเด็จพระพันวษำ ซึ่งใช้วิธีกำรถำ่ยทอดโดยกำรเลำ่สืบสืบตอ่กนัมำเป็นนิทำน จนกระทั่งมีผู้คิดวิธีกำรเลำ่โดยกำรขับเป็นลำนำ ขึ้นมำ จึงกลำยเป็นใช้บทเสภำ มีทั้งหมด ๔๓ ตอนด้วยกนั ตอนที่นำมำเป็นบทเรียนนี้ คือ ตอนที่ ๓๕ ~ 17 ~ เนื้อเรื่องย่อ
  18. 18. กลำ่วถึงพลำยงำม เมอื่ชนะคดีควำมขุนช้ำงแล้ว ขุนช้ำงได้พำนำงวนัทองกลับไปอยูสุ่พรรณบุรี ส่วนตัวพลำย งำมเองก็กลับไปอยูบ่้ำนพร้อมหน้ำญำติและพอ่ ขำดก็แตแ่ม่ ทำ ให้พลำยงำมเกิดควำมคิดที่จะพำนำงวนัทองกลับมำอยู่ด้วยกนั จะได้พร้อมหน้ำพอ่ แม่ ลูก พอตกดึกจึงไปลอบขึ้นเรือนขุนช้ำงแล้วพำนำงวนัทองหนีมำอยู่ที่บ้ำนกับตน ตอนแรกนำงก็ไมยิ่นยอมที่จะมำ เพรำะกลัวจะเป็นเรื่องให้อับอำยวำ่ คนนั้นลำกไป คนนี้ลำกมำอีก และเกรงจะมีปัญหำตำมมำภำยหลัง จึง บอกให้พลำยงำมนำควำมไปปรึกษำขุนแผน เพื่อฟ้องร้องขุนช้ำงดีกวำ่จะมำลักพำตัวไป แตพ่ลำยงำมไมย่ อม สุดท้ำยนำงวนัทองจึงจำ ต้องยอมไปกับพลำยงำมฝ่ำยขุนช้ำงนอนฝันร้ำย ก็ผวำตื่นเอำตอนสำย ครั้นตื่นขึ้นม ำก็ร้องเรียกหำนำงวนัทอง ออกมำถำมบำ่วไพร่ก็ไมมี่ใครเห็นจึงโกรธเป็นฟืนเป็นไฟมุง่มนั่จะตำมนำงวนั ทองกลับมำให้ได้ ฝ่ำยพลำยงำมก็เกรงวำ่ขุนช้ำงจะเอำผิด ถ้ำรู้วำ่ตนไปพำนำงวนัทองมำ จะเพ็ดทูลสมเด็จพระพันวษำอีก แม่ อำจจะต้องโทษได้ จึงใช้ให้หมนื่วิเศษผลไปบอกขุนช้ำงวำ่ ตนนั้นป่วยหนักอยำกเห็นหน้ำแม่ จึงใช้ให้คนไปตำมนำงวนัทองมำเมอื่กลำงดึก ขอให้แมอ่ยูก่บัตนสักพักหนึ่งแล้วจะส่งตัวกลับมำอยูกั่บขุนช้ำงตำมเดิม ขุนช้ำงโมโหและแค้นยิ่งนักที่พลำยงำมทำ เหมือนข่มเหงไมเ่กรงใจตน จึงร่ำงคำ ร้องถวำยฎีกำ แล้วลอยคอมำยังเรือพระที่นั่งของสมเด็จพระพันวษำเพื่อถวำยฎีกำ ทำ ให้สมเด็จพระพันวษำพิโรธมำก ให้ทหำรรับคำ ฟ้องมำแล้วให้เฆี่ยนขุนช้ำง๓๐ ที แล้วปลอ่ยไป และยังทรงตั้งกฤษฎีกำกำรรักษำควำมปลอดภัยวำ่ ตอ่ไปข้ำรำชกำรผู้ใดที่มีหน้ำที่รักษำควำมปลอดภัยแล้วป ลอ่ยให้ใครเข้ำมำโดย มิได้รับอนุญำตจะมีโทษมหันต์ถึงประหำรชีวิตกลำ่วฝ่ำยขุนแผนนอนอยูในเรือนกบั นำงแกว้กิริยำและนำงลำวทองอยำ่งมีควำมสุข ครั้นสองนำงหลับ ขุนแผนก็คิดถึงนำงวนัทองที่พลำยงำมไป นำตัวมำไวที้่บ้ำน จึงออกจำกห้องยอ่งไปหำนำงวนัทองหวงัจะร่วมหลับนอนกนั แตน่ำงปฏิเสธแล้วพำกนัหลับไป แตพ่อตกตึกนำงวนัทองก็เกิดฝันร้ำยตกใจตื่นเล่ำควำมฝันให้ขุนแผนฟัง ขุนแผนฟังควำมฝันของนำงก็รู้ทันทีวำ่เป็นเรื่องร้ำย อันตรำยถึงชีวิตแน่นอน แตก่็แกล้งทำ นำยไปในทำงดีเสีย เพื่อนำงจะได้สบำยใจ ฝ่ำยสมเด็จพระพันวษำ ครั้นทรงอำ่นคำ ฟ้องของขุนช้ำงก็ทรงกริ้วยิ่งนัก ให้ทหำรไปตำมตัวนำงวนัทอง ขุนแผน ~ 18 ~
  19. 19. และพระไวยมำเฝ้ำทันที ขุนแผนเกรงวำ่นำงวนัทองจะมีภัย จึงเสกคำถำและขี้ผึ้งให้นำงวนัทองทำปำกเพื่อให้พระพันวษำเมตตำ แล้ วจึงพำนำงเข้ำเฝ้ำ เมอื่พระพันวษำเห็นนำงวนัทองก็ใจออ่นเอ็นดู ตรัสถำมเรื่องรำวที่เป็นมำจำกนำงวนัทอง วำ่ ตอนชนะคดีให้ไปอยูก่บัขุนแผนแล้วทำ ไมจึงไปอยู่กบัขุนช้ำงนำงวนัทองก็กรำบทูล ด้วยควำมกลัวไปตำมจริงวำ่ ขุนแผนถูกจองจำ ขุนช้ำงเอำพระโองกำรไปอ้ำงให้ฉุดนำงไปอยูด่้วย เพื่อนบ้ำนเห็นเหตุกำรณ์ก็ไมก่ล้ำเข้ำช่ วยเพรำะกลัวผิดพระโองกำร สมเด็จพระพันวษำฟังควำมทรงกริ้วขุนช้ำงมำก ทรงถำมนำงวนัทองอีกวำ่ขุนช้ำงไปฉุดให้อยูด่้วยกนัมำตั้ง ๑๘ ปี แล้วครำวนี้หนีมำหรือมีใครไปรับมำอยูกั่บขุนแผน นำงวนัทองก็กรำบทูลไปตำมจริงวำ่ พระไวยเป็นผู้ไปรั บมำเวลำสองยำม ขุนช้ำงจึงหำควำมวำ่ หลบหนี สมเด็จพระพันวษำทรงกริ้วพระไวยที่ทำ อะไรตำมใจตน นึกจะขึ้นบ้ำนใครก็ขึ้น ทำ เหมือนบ้ำนเมืองไมมี่ขื่อมีแปร และวำ่ขุนแผนรู้เห็นเป็นใจ สมเด็จพระพันวษำทรงคิดวำ่ สำเหตุของควำมวุน่วำยทั้งหมดนี้เกิดจำกนำงวนัทองจึงให้นำงวนัทองตัดสินใจวำ่ จะอยูก่บัใคร นำงวนัทองตกใจประหมำ่ อีกทั้งจะหมดอำยุขัยจึงบันดำลให้พูดไมอ่อกบอกไมถู่กวำ่จะอยูกั่บใคร นำงให้เหตุผลวำ่ นำงรักขุนแผน แตขุ่นช้ำงก็ดีกบันำง ส่วนพลำยงำมก็เป็นลูกรัก ทำ ให้สมเด็จพระพันวษำกริ้วมำก เห็นวำ่นำงวนัทองเป็นคนหลำยใจ เป็นหญิงแพศยำ จึงให้ประหำรชีวิตนำงวนัทองเพื่อมิให้เป็นเยี่ยงอยำ่งแกผู่้อื่นตอ่ไป คุณค่าทไี่ด้รับ ด้ำนวรรณศิลป์ ด้ำนสังคม • แสดงให้เห็นถึงศิลปะกำรแตง่เชน่ แสดงให้เห็นภำพสังคมสมยักอ่นๆเชน่ ๑ กำรพรรณนำให้เห็นภำพ ๑ ควำมจงรักภักดีตอ่พระมหำกษัตริย์ ๒ สัมผัสอักษร ๒ ควำมรักนะหวำ่งแมแ่ละลูก ๓ ภำพพจน์ ๓ สะท้อนให้เห็นชีวิต วฒันธรรม คำ่นิยม และควำมเชื่อ ๓.๑ อุปมำ ๔ ควำมเชื่อในกฎแห่งกรรม ๓.๒ อุปลักษณ์ ๓.๓ สัทพจน์ ~ 19 ~
  20. 20. ๓.๔ คำ ถำมเชิงวำทศิลป์ ด้ำนเนื้อหำ ในยุคสมยัหนึ่งๆมกันิยมเรื่องรำวที่เข้ำกับยุคสมยันั้นๆ เรื่องรำวและเนื้อหำของวรรณคดีจะไมต่ำยตัวแตจ่ะ เปลี่ยนไปตำมสภำพกำรเปลี่ยนแปลงของสังคม พัฒนำกำรของสังคมจะเปป็นเครื่องกำ หนดเนื้อหำของวรรณคดี ความรู้เพมิ่เติม ๓ ครอบครัวในเรื่อง - ครอบครัวของ ''ขุนไกรพลพำ่ย'' รับรำชกำรทหำร มีภรรยำชื่อ ''นำงทองประศรี'' มีลูกชำยด้วยกนัชื่อ ''พลำยแกว้'' - ครอบครัวของ ''ขุนศรีวิชัย'' เศรษฐีใหญข่องเมืองสุพรรณบุรี รับรำชกำรเป็นนำยกองกรมช้ำงนอก ภรรยำชื่อ ''นำงเทพทอง'' มีลูกชำยชื่อ ''ขุนช้ำง'' ซึ่งหัวล้ำนมำแตก่ำ เนิด - ครอบครัวของ ''พันศรโยธำ'' เป็นพอ่ค้ำ ภรรยำชื่อ ''ศรีประจัน'' มีลูกสำวรูปร่ำงหน้ำตำงดงำมชื่อ ''นำงพิมพิลำไลย'' ครอบครัว ขุนแผน ขุนแผน + ภรรยำ ๕ คน ๑ นำงวนัทอง(พิมพิลำไลย) = พลำยงำม ๒ นำงลำวทอง(ไปรบที่เชียงใหม)่ ๓ นำงบัวคลี่(หนีไปถึงซอ่งโจร) = กุมำรทอง ๔ นำงแกว้กิริยำ(ลอบขึ้นเรือนขุนช้ำง) = พลำยชุมพล ๕ นำงสำยทอง(พี่เลี้ยงนำงวนัทอง) ครอบครัว จมนื่ไวยวรนำถ (พลำยงำม) จมนื่ไวยวรนำถ + ภรรยำ ๒ คน ๑ นำงสร้อยฟ้ำ = พลำยยง ๒ นำงศรีมำลำ = พลำยเพชร ~ 20 ~ กุมารทอง
  21. 21. ตำ รำกุมำรทองเป็นไสยศำสตร์ในยุคที่เรียกวำ่กรรมฐำนนิพำนสูตร อันมีอยูใ่นสมุดขอ่ยสมัยกรุงศรีอยุธยำ ตำ รำแบง่เป็นสองประเภทคือ 1 กุมำรทองใช้งำน 2.กุมำรทองทำ ร้ำย แตวิ่ธีเบื้องต้นในกำรสร้ำงคล้ำยกนัคือกำรนำวิญญำณใช้ประโยชน์แบบเตภูมิ 4 อัน ประกอบด้วยธำตุ ดิน น้ำ ลม ไฟ ม้าสีหมอก สีหมอก เป็นมำ้แสนรู้พำหนะประจำ ตัวของขุนแผน แมเ่ป็นมำ้เทศชื่ออีเหลือง พอ่เป็นมำ้น้ำ คลอดจำกท้องแมเ่มื่อวนัเสำร์ขึ้น ๙ ค่ำ ตัวสีหมอก ตำสีดำ หลวงศรีวรขำ่นได้รับคำ สั่งจำกสมเด็จพระพันวษำให้ไปซื้อมำ้ที่เมืองมะริด ประเทศอินเดีย สีหมอกซึ่งเป็นลูกมำ้รุ่นหนุ่มก็ติดตำมแมม่ำด้วย แตค่วำมซุกซนทำ ให้เที่ยวไลกั่ดมำ้ตัวอื่นๆอยูเ่สมอ ต้องตำมตำ รำจึงเข้ำไปขอซื้อ แล้วเสกหญ้ำให้กิน สีหมอกก็ติดตำมขุนแผนไปโดยดี ดาบฟ้าฟื้น ดำบฟ้ำฟื้นเกิดจำก กำรเอำเหล็กรวมทั้งโลหะอื่นแล้วก็นำมำหลอ่รวมกนั พอฤกษ์งำมยำมดีก็ตั้งศำลเพียงตำ แล้วให้ชำ่งตีเหล็กบรรจงแตง่ตำมรูปที่ต้องกำร เมอื่เสร็จแล้วมีสีเขียวแมลงทับ จำกนั้นก็เจำะไมชั้ยพฤกษ์เอำผมผีพรำยตัวร้ำย ๆ ใส่เข้ำไปแล้วเอำชันกรอกทับเป็นด้ำม สามัคคีเภทคาฉันท์ ผู้แต่ง นำย ชิต บุรทัต วัตถุประสงค์ เพื่อมุง่ชี้ควำมสำคัญของกำรรวมเป็นหมูค่ณะ เป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกนัเพื่อป้องกนัรักษำบ้ำนเมืองให้มีควำมเ ป็นปึกแผน่ และแสดงฝีมือในกำรแตง่ฉันท์ของผู้ประพันธ์ ประวัติของเรื่อง ในสมยัรัชกำลที่6 เกิดเหตุกำรณ์ตำ่งๆ เชน่ สงครำมโลกครั้งที่1กบฏ ร.ศ.130 ทำ ให้เกิดควำมตื่นตัวทำงควำมคิด มีควำมเห็นเกยี่วกบักำรดำ เนินกำรบ้ำนเมืองแตกตำ่งกนัเป็นหลำยฝ่ำย จึงทำ ให้ส่งผลกระทบตอ่ควำมไมม่นั่คงของบ้ำนเมือง ~ 21 ~
  22. 22. ในภำวะดังกลำ่วจึงมีกำรแตง่วรรณคดีปลุกใจให้มีกำรรักษำขึ้นโดยเรื่องสำมัคคี เภทแตง่ขึ้นในปี พ.ศ 2457 โดยมุง่เน้นควำมสำคัญของควำมสำมัคคีเพื่อรักษำบ้ำนเมือง เนื้อเรื่อง พระเจ้ำอชำตศัตรูแห่งแควน้มคธมีพระประสงค์จะขยำยอำณำจักรให้กวำ้งขวำงแควน้ ที่หมำยตำคือแควนัวชัชีของเหลำ่กษัตริย์ลิจฉวีเป็นแควน้ขนำดใหญแ่ละเจริญ กวำ่แควน้ใดในสมยันั้นผู้ใดครอบครองได้ยอ่มแสดงควำมยิ่งใหญข่องกษัตริย์พระองค์นั้น เหลำ่กษัตริย์ลิจฉวีแห่งแควน้วชัชีร่วมกนัปกครองแควน้โดยสมคัคีธรรมกษัตริย์ แตพ่ระองค์มีพระโอรสบริวำรตลอดจนดินแดนของพระองค์ทรงมีฐำนะเสมอกนัทรงยกยอ่ง ให้เกียรติกนัไมว่ำ่จะทำ กิจใด ๆ ก็ทรงปรึกษำหำรือกนัที่สำคัญคือทรงยึดมนั่ในอปริหำนิยธรรมซึ่งเน้นควำม สำมคัคีธรรมเป็นหลักหำกทุกโจมตีเหลำ่กษัตริย์ลิจฉวีก็จะทรงร่วมกนัตอ่สู้จน ฝ่ำยศัตรูพำ่ยแพ้ไปกำรทำ สงครำมกับแควน้วชัชีจึงไมใ่ชเ่รื่องง่ำยต้องใช้ ปัญญำไมใ่ช้กำ ลังพระเจ้ำอชำตศัตรูทรงมีปุโรหิตที่ปรึกษำชื่อวัสสกำรพรำหมณ์ เป็นผู้รอบรู้ศิลปศำสตร์และมีสติปัญญำเฉียบแหลมวสัสกำรพรำหมณ์กรำบทูลให้ทรง ใช้อุบำยในกำรตีแควน้วชัชีโดยอำสำเป็นไส้ศึกไปยุง่ยงเหลำ่กษัตริย์ลิจฉวีให้ ทรงแตกควำมสำมคัคี พระเจ้ำอชำตศัตรูเห็นชอบวสัสกำรพรำหมณ์จึงเริ่มใช้แผนกำรโดยกำรทูลคัดค้ำน กำรไปตีแควน้วชัชีพระเจ้ำอชำตศัตรูแสร้งกริ้วทรงสั่งให้ลงโทษวสัสกำรพรำหมณ์ อยำ่งหนักและเนรเทศไป วสัสกำรพรำหมณ์มุง่หน้ำไปเมืองเวสำลีเพื่อขอรับรำชกำรด้วยควำมเป็นผู้มี วำทศิลป์รู้จักใช้เหตุผลโน้มน้ำวใจทำ ให้เหลำ่กษัตริย์ลิจฉวีหลงเชื่อรับวสั สกำรพรำหมณ์ไวใ้นพระรำชสำนักให้ทำ ที่พิจำรณำคดีควำมและถวำยพระอักษรเหลำ่พระ กุมำรเมอื่ทำ หน้ำที่เต็มควำมสำมำรถให้เป็นที่ไว้วำงใจแล้ว วสัสกำรพรำหมณ์เริ่มสร้ำงควำมแคลงใจในเหล่ ำพระกุมำรโดยออกอุบำยให้พระกุมำร เข้ำใจผิดวำ่พระกุมำรพระองค์อื่นนำปมด้อยของตนไปเหลำ่ให้ผู้อื่นทรำบทำ ให้ เสียชื่อ เหลำ่พระกุมำรนำควำมไปกรำบทูลพระบิดำตำ่งก็เชื่อพระโอรสของพระองค์ทำ ให้เกิด ควำมขุน่เคืองกนัทั่วไปในหมูก่ษัตริย์ลิจฉวี เมอื่เวลำผำ่นไป 3 ปี สำมคัคีพรำหมณ์ในหมูก่ษัตริย์ลิจฉวีก็สูญสิ้นไป วสัสกำรพรำหมณ์ทดสอบด้วยกำรตีกลองนัดประชุมก็ไมป่ รำกฎวำ่มีกษัตริย์ลิจฉวี เข้ำร่วมประชุมวสัสกำรพรำหมณ์เห็นวำ่แผนกำรเป็นผลสำเร็จจึงลอบส่งขำ่วไปกรำบ ทูลพระเจ้ำอชำตศัตรูให้ทรงยกทัพมำตีแควน้วชัชี ชำวเมืองวชัชีตำ่งตื่นตระหนกเมอื่ทรำบขำ่วศึก แตเ่หลำ่กษัตริย์ลิจฉวีตำ่งทรงถือทิฐิไมมี่ผู้ใดวำงแผนป้องกนัภัยดังนั้น เมอื่กองทัพของแควน้มคธถึงเมืองสำลีจึงยกทัพเข้ำเมืองได้ง่ำยใดและผู้ที่ เปิดประตูเมืองให้กองทัพมคธก็คือวสัสกำรพรำหมณ์นั่นเอง ~ 22 ~
  23. 23. ~ 23 ~ สำมคัคีเภทคำ ฉันท์เป็น นิทำนสุภำษิตสอนใจให้เห็นโทษของกำรแตกควำมสำมคัคีที่ไมไ่ด้มีผลกระทบต่อ บุคคลเทำ่นั้นแตยั่งส่งผลถึงสังคมส่วนรวมด้วย นอกจำกนี้ยังแสดงให้เห็นควำมสำคัญของกำรใช้สติปัญญำใ ห้เกิดผลโดยไมต่้องใช้กำ ลังอีกด้วย แก่นเรื่อง 1. โทษของกำรแตกสำมัคคี 2. กำรใช้สติปัญญำเอำชนะฝ่ำยศัตรู 3. กำรใช้วิจำรณญำนกอ่นที่จะตัดสินใจทำ สิ่งใดย่อมเป็นกำรดี 4. กำรถือควำมคิดของตนเป็นใหญแ่ละทะนงตนวำ่ดีกวำ่ผู้อื่น ยอ่มทำ ให้เกิดควำมเสียหำยตอ่ส่วนรวม วิเคราะห์ตัวละคร วสัสกำรพรำหมณ์กบักษัตริย์ลิจฉวี วสัสกำรพรำหมณ์เป็นตัวละครที่มีบทบำทสำคัญที่สุดในกำรดำ เนินเรื่อง เป็นผู้ออกอุบำยวำงแผนและดำ เนิ นกำรยุยงจนเหลำ่กษัตริย์แตกควำมสำมัคคีทำ ให้ อชำตศัตรูเข้ำครอบครองแควน้วชัชีได้สำเร็จ วสัสกำรพรำหมณ์เป็นพรำหมณ์อำวุโสผู้มีควำมสำมำรถสติปั ญญำดี รอบรู้ศิลป์วิทยำกำรและมีวำทศิลป์เป็นที่ไว้วำงใจจำกฝ่ำยศัตรูและสำมำรถโน้ม น้ำวเปลี่ยนควำมคิดของฝ่ำยตรงข้ำมให้เป็นไปตำมแผนที่วำงไวส้ำเร็จ บำงทรรศนะอำจเห็นวำ่วสัสกำรพรำหมณ์เป็นคนที่ขำดคุณธรรมใช้อุบำยลอ่ลวงผู้ อื่นเพื่อประโยชน์ฝ่ำยตน แตอี่กมุมหนึ่งวสัสกำรพรำหมณ์มีคุณสมบัติที่น่ำยกยอ่งกลำ่วคือมีควำมจงรัก ภักดีตอ่พระเจ้ำอชำตศัตรูและบ้ำนเมืองเป็นอยำ่งมำกยอมเสียสละควำมสุขส่วนตน ยอมลำ บำกเจ็บตัว ยอมเสี่ยงไปอยูใ่นหมูศั่ตรูต้องใช้ควำมอดทดสูงและรู้จักรักษำควำมลับได้ดี เพื่อให้อุบำยสำเร็จ ส่วนเหลำ่กษัตริย์ลิจฉวีขำดวิจำรญำณ(ญำณพิจำรณ์ตรอง) จนในที่สุดทำ ให้แตกควำมสำมัคคีจนเป็นเหตุให้แคว้นวชัชีตกเป็นของแควน้มคธ เกร็ดน่ารู้ อปริหำนิยธรรม คือ ธรรมอันไมเ่ป็นที่ตั้งแห่งควำมเสี่ยงเป็นไปด้วยควำมเจริญสำหรับหมูช่นหรือผู้บริหำรบ้ำนเมือง พระพุทธเจ้ ำตรัส แสดงแกเ่จ้ำวชัชีทั้งหลำยที่ปกครองรัฐโดยระบบสำมัคคีธรรม ซึ่งรัฐคูอ่ริยอมรับวำ่เมื่อชำววชัชียังปฏิบัติธร รมหลักธรรมนี้ จะเอำชนะด้วยกำรรบไมไ่ด้
  24. 24. นอกจำกจะใช้กำรเกลี้ยกลอ่มหรือยุแยกให้แตกสำมัคคี อปริหำนิยมธรรมมี 7 ประกำรคือ 1.มนั่ประชุมกนัเนืองนิตย์ 2.พร้อมเพรียงกนัประชุม พร้อมเพรียงกนัทำ กิจที่พึงทำ 3.ไมบั่ญญัติสิ่งที่มิได้บัญญัติเอำไว(้ขัดตอ่หลักกำรเดิม) ไมล่้มล้ำงสิ่งที่บัญญัติไว้ (ตำมหลักกำรเดิม) 4.ทำ่นเหลำ่ใดเป็นผู้ใหญใ่นชนชำววชัชี เคำรพนับถือทำ่นเหลำ่นั้น เห็นถ้อยคำ ของทำ่นวำ่เป็นสิ่งอันควรรับฟัง 5.บรรดำกุลสตรีกุลกุมำรีทั้งหลำยให้อยู่ดีมิให้ถูกข่มแหง 6.เคำรพสักกำระบูชำเจดีย์ของวชัชีทั้งหลำยไมป่ลอ่ยให้ธรรมมิกพลีที่เคยให้เคย ทำ แกเ่จดีย์เหลำ่นั้นเสื่อมทรำมไป 7.จัดกำรอำรักขำ คุ้มครอง ป้องกนั อันชอบทำ แกเ่หลำ่พระอรหันต์ทั้งหลำย ตั้งใจวำ่ขอพระอรหันต์ทั้งหลำยที่ยังไมม่ำพึ่งมำสู่แวน่แควน้ ที่มำแล้วพึงอยูใ่น แวน่แควน้โดยผำสุก ข้อคิดทคี่วรพิจารณา จากเรื่องสามัคคีเภทคาฉันท์ 1. กำรขำดกำรพิจำรณำไตร่ตรอง นำไปซึ่งควำมสูญเสีย ดังเชน่ เหลำ่กษัตริย์ลิจฉวี “ขำดกำรพิจำรณำไตร่ตรอง” คือ ขำดควำมสำมำรถในกำรใช้ปัญญำ ตริตรองพิจำรณำสอบสวน และใช้เหตุผลที่ถูกต้อง จึงหลงกลของวสัสกำรพรำหมณ์ ถูกยุแหยใ่ห้แตกควำมสำมคัคีจนเสียบ้ำนเสียเมือง ในรัชกำลที่ 6 ด้วยเหตุที่คนไทยมีควำมคิดเห็นเกยี่วกับกำรดำเนินกิจกำรบ้ำนเมืองแตกตำ่งกนัหลำยฝ่ำย ซึ่งส่งผลกระทบตอ่ควำมมนั่คงของประเทศ กวีจึงนิยมแตง่วรรณคดีปลุกใจขึ้นเป็นจำ นวนมำก สำมคัคีเภทคำ ฉันท์เป็นเรื่องหนึ่งในจำ นวนนั้น นำยชิต บุรทัต แตง่เรื่องนี้ขึ้น โดยมุง่ชี้ให้เห็นควำมสำคัญของควำมสำมัคคี เพื่อบ้ำนเมืองเป็นปึกแผน่มนั่คง แตใ่นปัจจุบันกระแสชำตินิยมลดลง แตค่วำมสำมคัคีก็เป็นหลักธรรมสำคัญในกำรทำ งำนร่วมกนัเป็นหมูค่ณะ วรรณคดีเรื่องนี้จึงเป็นเนื้อหำที่มีคติสอนใจทันสมยัอยูเ่สมอ ~ 24 ~
  25. 25. 2. แนวคิดของเรื่องสำมคัคีเภท สำมคัคีเภทคำ ฉันท์ เป็นนิทำนสุภำษิตสอนใจให้เห็นโทษของกำรแตกควำมสำมคัคี และแสดงให้เห็นควำมสำคัญของกำรใช้สติปัญญำให้เกิดผลโดยไมต่้องใช้กำ ลัง 3. ข้อคิดเห็นระหวำ่งวสัสกำรพรำหมณ์กับกษัตริย์ลิจฉวี บำงคนอำจมีทรรศนะวำ่ วสัสกำรพรำหมณ์ขำดคุณธรรม ใช้อุบำยลอ่ลวงผู้อื่นเพื่อประโยชน์ฝ่ำยตน แตม่องอีกมุมหนึ่งก็จะเห็นวำ่ วสัสกำรพรำหมณ์น่ำยกยอ่งตรงที่มีควำมจงรักภักดีตอ่พระเจ้ำอชำตศัตรูและตอ่บ้ำนเมือง ยอมถูกลงโทษเฆี่ยนตี ยอมลำ บำก จำกบ้ำนเมืองตนไปเสี่ยงภัยในหมูศั่ตรู ด้องใช้ควำมอดทน สติปัญญำควำมสำมำรถอยำ่งสูงจึงจะสัมฤทธิผลตำมแผนกำรที่วำงไว้ ส่วนกษัตริย์ลิจฉวีเคยใช้หลักอปริหำนิยธรรมร่วมกนัปกครองแควน้วชัชีให้มนั่คงเจริญมำช้ำนำน แตเ่มอื่ถูกวสัสกำรพรำมหณ์ใช้อุบำยยุแหย่ให้แตกควำมสำมคัคี ก็พำ่ยแพ้ศัตรูได้โดยง่ำยดำย 4. เรื่องสำมคัคีเภทคำ ฉันท์ให้อะไรกบัผู้อำ่น ข้อคิดสำคัญที่ได้จำกเรื่อง คือ โทษของกำรแตกควำมสำมัคคี ส่วนแนวคิดอื่น ๆ มีดังนี้ 4.1 กำรใช้ปัญญำเอำชนะศัตรูโดยไมเ่สียเลือดเนื้อ 4.2 กำรเลือกใช้บุคคลให้เหมำะสมกบังำนจะทำ ให้งำนสำเร็จได้ด้วยดี 4.3 กำรใช้วิจำรณญำณไตร่ตรองกอ่นทำ กำรใด ๆ เป็นสิ่งที่ดี 4.4 กำรถือควำมคิดของตนเป็นใหญแ่ละทะนงตนวำ่ดีกวำ่ผู้อื่น ยอ่มทำ ให้เกิดควำมเสียหำยแกส่่วนรวม 5. ศิลปะกำรประพันธ์ในสำมคัคีเภทคำ ฉันท์ นำยชิต บุรทัต สำมำรถสร้ำงตัวละคร เชน่ วสัสกำรพรำหมณ์ ให้มีบุคลิกเดน่ชัด และสำมำรถดำ เนินเรื่องให้ชวนติดตำม นอกจำกนี้ ยังมีควำมเชี่ยวชำญในกำรแตง่คำ ประพันธ์ ดังนี้ 5.1 เลือกสรรฉันท์ชนิดตำ่ง ๆ มำใช้สลับกนัอยำ่งเหมำะสมกบัเนื้อเรื่องแต่ละตอน เชน่ ใช้วสันตดิลกฉันท์ 14 ซึ่งมีลีลำไพเรำะ ชมควำมงำมของเมืองรำชคฤห์ ใช้อีทิสังฉันท์ 20 ซึ่งมีลีลำกระแทกกระทั้นแสดงอำรมณ์โกรธ ~ 25 ~
  26. 26. 5.2 ดัดแปลงฉันท์บำงชนิดให้ไพเรำะยิ่งขึ้น เชน่ เพิ่มสัมผัสบังคับคำ สุดท้ำยของวรรคแรกกับคำ ที่ 3 ของวรรคที่ ๒ ในฉันท์ ๑๑ ฉันท์ ๑๒ และฉันท์ ๑๔ เป็นที่นิยมแตง่ตำมมำถึงปัจจุบัน นอกจำกนี้ นำยชิต บุรทัต ยังเพิ่มลักษณะบังคับ ครุ ลหุ สลับกนัลงในกำพย์สุรำงคนำง ๒๘ ให้มีจังหวะคล้ำยฉันท์ด้วย 5.3 เลน่สัมผัสในทั้งสัมผัสสระและสัมผัสอักษรอยำ่งไพเรำะ เชน่ คะเนกล – คะนึงกำร ระวงัเหือด – ระแวงหำย 5.4 ใช้คำ ง่ำย ๆ ในกำรเลำ่เรื่อง ทำ ให้ดำ เนินเรื่องได้รวดเร็ว และผู้อำ่นเข้ำใจเรื่องได้ทันที 5.5 ใช้คำ ง่ำย ๆ ในกำรบรรยำยและพรรณนำดัวละครได้อยำ่งกระชับ และสร้ำงภำพให้เห็นได้อยำ่งชัดเจน อปริหานิยธรรม 7 ประการ 1. หมนั่ประชุมกนัเนืองนิตย์ 2. พร้อมเพรียงกนัประชุม พร้อมเพรียงกนัเลิกประชุม พร้อมเพรียงกนัทำ กิจที่พึงทำ 3. ไมบั่ญญัติสิ่งที่มิได้บัญญัติเอำไว้ไมล่้มล้ำงสิ่งที่บัญญัติไว้ถือปฏิบัติตำมวชัชีธรรมตำมที่วำงไวเ้ดิม 4. ทำ่นเหลำ่ใดเป็นผู้ใหญใ่นชนชำววชัชี ก็ควรเคำรพนับถือทำ่นเหลำ่นั้น เห็นถ้อยคำ ของทำ่นวำ่เป็นสิ่งอันควรรับฟัง 5. บรรดำกุลสตรีและกุลกุมำรีทั้งหลำยให้อยู่ดี โดยมิถูกขม่เหงหรือฉุดคร่ำขืนใจ 6. เคำรพสักกำรบูชำเจดีย์ของวชัชีทั้งหลำยทั้งภำยในและภำยนอก ไมป่ลอ่ยให้ธรรมิกพลีที่เคยให้เคยทำ แกเ่จดีย์เหลำ่นั้นเสื่อมทรำมไป 7. จัดให้ควำมอำรักขำ คมุ้ครอง และป้องกนัอันชอบธรรมแกพ่ระอรหันต์ทั้งหลำยทั้งที่ยังมิได้มำพึงมำสู่แวน่แควน้และที่มำแล้วพึงอยูใ่นแว่ นแควน้โดยผำสุก คุณค่างานประพันธ์ 1.ด้ำนวรรณศิลป์ – ใช้ฉันทลักษณ์ได้อยำ่งงดงำมเหมำะสม โดยเลือกฉันท์ชนิดตำ่ง ๆ มำใช้สลับกนัตำมควำมเหมำะสมกบัเนื้อเรื่อง จึงเกิดควำมไพเรำะสละสลวย – ใช้ภำษำที่เข้ำใจง่ำย เห็นภำพชัดเจน 2. ด้ำนสังคม ~ 26 ~
  27. 27. – เน้นโทษของกำรแตกควำมสำมัคคีในหมูค่ณะ – ด้ำนจริยธรรม เน้นถึงหลักธรรม อปริหำนิยธรรม ซึ่งเป็นธรรมอันไมเ่ป็นที่ตั้งแห่งควำมเสื่อม – เน้นถึงควำมสำคัญของกำรใช้สติปัญญำตริตรอง และแกไ้ขปัญหำตำ่ง ๆ โดยไมต่้องใช้กำ ลัง สมุทรโฆษคาฉันท์ ~ 27 ~ ผู้แต่ง ผู้แตง่มีสำมคน คือ พระบรมรำชครู สมเด็จพระนำรำยณ์มหำรำช และสมเด็จพระมหำสมณเจ้ำ กรมพระปรมำนุชิตชิโนรส ลักษณะบทประพันธ์ เป็นคำ ฉันท์ จุดมุ่งหมายในการแต่ง เพื่อใช้แสดงหนังใหญใ่นพระรำชพิธีฉลองพระชนมำยุครบเบญจเพส ของสมเด็จพระนำรำยณ์มหำรำช เนื้อเรื่อง กลำ่วถึงพระสมุทรโฆษกษัตริย์แห่งเมืองพรหมบุรีได้เสด็จไปคล้องช้ำงกอ่นเข้ำบรรทม หลับใต้ต้นโพธ์ิได้สดุดีและบำ บวงแกเ่ทพทั้งหลำย พระโพเทพำรักษ์พอใจและเกิดควำมเมตตำจึงอุ้มพระสมุทรโฆษไปยังปรำสำทนำงพินทุ มดีในรมยนครและได้นำงเป็นชำยำ พอจวนรุ่งเทพำรักษ์เหำะมำลอบอุ้มกลับมำคืนยังรำชรถทรงเมื่อทั้งสองตื่นขึ้น มำไมพ่บกนัก็ให้รู้สึกเสียใจ นำงธำรำพระพี่เลี้ยงได้วำดรูปเทพและพระรำชสำคัญๆให้นำงพินทุมดีดูจนถึงรูป พระสมุทรโฆษ จึงได้ทรำบวำ่เป็นพระสมุทรโฆษ ตอ่มำ
  28. 28. พระสมุทรโฆษก็ได้อภิเษกกบันำงพินทุมดีสมควำมปรำรถนำเพรำะชนะกำรประลองศร ตอ่มำทั้งสองคนก็มีเหตุให้ต้องพลัดพรำกจำกกนัแตใ่นท้ำยที่สุดก็ได้กลับมำ ครองรักกนัเหมือนเดิม คุณค่าของเรื่อง ~ 28 ~ 1. คุณคำ่ด้ำนวรรณคดี ได้รับกำรยกยอ่งจำกคณะกรรมกำรวรรณคดีสโมสรในรัชกำลที่ ๖ ให้เป็นวรรณคดียอดเยี่ยมประเภทฉันท์ ลักษณะเดน่ของวรรณคดีเรื่องนี้คือ มีอรรถรสไพเรำะด้วยฉันท์และกำพย์ 2. คุณคำ่ด้ำนประเพณีละวฒันธรรม ผู้อำ่นได้ทรำบถึงขนบธรรมเนียมประเพณีอันเป็นวฒันธรรมด้ำนตำ่งๆของไทย ลิลิตตะเลงพ่าย เรื่องลิลิตตะเลงพำ่ยใช้คำ ประพันธ์หลำกหลำยประเภทได้แก่โคลงสองสุภำพ โคลงสำมสุภำพ โคลงสี่สภำพและร่ำยสุภำพ โดยแตง่สลับสับเปลี่ยนกนัไป รวมจำ นวนทั้งสิ้น 439 บท ซึ่งวรรณคดีเรื่องนี้มีต้นแบบในกำรประพันธ์มำจำกเรื่อง ลิลิตยวนพำ่ยที่ประพันธ์ในสมยักรุงศรีอยุธยำตอนต้น แต่งโดย สมเด็จพระมหำสมณเจ้ำ กรมพระปรมำรุชิตชิโนรส เพื่อสดุดีพระวีรกรรมของสมเด็จพระนเรศวรมหำรำช ครำวศึกสงครำมยุทธหัตถีและใช้ในงำนฉลองวดัพระเชตุพนฯในใมยรัชกำลที่ 3 เปรียบได้กบังำนเขียนมหำกำฬ จัดเป็นวรรณคดีประเภทเฉลิมพระเกียรติพระมหำกษัตริย์ แบง่ออกเป็น 12 ตอนดังนี้ ตอนที่ 1 เริ่มบทกวี ตอนที่ 2 เหตุกำรณ์ที่เมืองมอญ ตอนที่ 3 พระมหำอุปรำชำยกทัพเข้ำเมืองกำญจนบุรี ตอนที่ 4 สมเด็จพระนเรศวรปรำรภเรื่องตีเมืองเขมร ตอนที่ 5 สมเด็จพระนเรศวรเตรียมกำรสู้ศึกมอญ ตอนที่ 6 พระนเรศวรทรงตรวจเตรียมทัพ
  29. 29. ตอนที่ 7 พระมหำอุปรำทรงปรึกษำกำรศึกแล้วยกทัพเข้ำปะทะทัพหน้ำของไทย ตอนที่ 8 พระนเรศวรทรงปรึกษำยุทธวิธีเอำชนะข้ำศึก ตอนที่ 9 ทัพหลวงเคลื่อนพล ช้ำงทรงพระนเรศวรและพระเอกำทศรถฝ่ำเข้ำไปในกองทัพข้ำศึก ตอนที่ 10 ยุทธหัตถี และชัยชนะของไทย ตอนที่ 11 พระนเศวรทรงสร้ำงสถูปและปูนบำ เหน็จทหำร ตอนที่ 12 สมเด็จพระวนัรัตขอพระรำชทำนอภัยโทษ ลักษณะการแต่ง แตง่ด้วยลิลิตสุภำพ ประกอบด้วย ร่ำยสุภำพ โคลงสองสุภำพ โคลงสำมสุภำพ และโคลงสี่สุภำพ แตง่สลับกนัไป จำ นวน 439 บท โดยได้แบบอยำ่งกำรแตง่มำจำกลิลิตยวนพำ่ยที่แตง่ขึ้นในสมัยอยุธยำตอนต้น ลิลิตเปรียบได้กบังำนเขียนมหำกำพย์ จัดเป็นวรรณคดีประเภทเฉลิมพระเกียรติพระมหำกษัตริย์ ~ 29 ~ เรื่องโดยย่อ เริ่มต้นชมบุญบำรมีและพระบรมเดชำนุภำพของสมเด็จพระนเรศวรมหำรำช แล้วดำ เนินควำมตำมประวตัิศำสตร์วำ่ พระเจ้ำหงสำวดีนันทบุเรงทรงทรำบวำ่ สมเด็จพระมหำธรรมรำชำ เสด็จสวรรคต สมเด็จพระนเรศวรได้ครองรำชย์สมบัติ พระองค์จึงตรัสปรึกษำขุนนำงทั้งปวงวำ่กรุงศรีอยุธยำผลัดเปลี่ยนกษัตริย์ สมเด็จพระนเรศวรและสมเด็จพระเอกำทศรถ พระพี่น้องทั้งสองอำจรบพุง่ชิงควำมเป็นใหญก่นั ยังไมรู่้เหตุผลประกำรใด ควรส่งทัพไปเหยียบดินแดนไทย เป็นกำรเตือนสงครำมไว้กอ่น ถ้ำเหตุกำรณ์เมืองไทยไมป่กติสุขก็ให้โจมตีทันที ขุนนำงทั้งหลำยก็เห็นชอบตำมพระรำชดำ รีนั้น พระจ้ำหงสำวดีจึงตรัสให้ พระมหำอุปรำชเตรียมทัพร่วมกบัพระมหำรำชเจ้ำนครเชียงใหม่ แตพ่ระมหำอุปรำชกรำบทูลพระบิดำวำ่โหรทำยวำ่ชันษำของพระองค์ร้ำยนัก สมเด็จพระเจ้ำหงสำวดีตรัสวำ่พระมหำธรรมรำชำไมเ่สียแรงมีโอรสล้วนแต่ เชี่ยวชำญกล้ำหำญในศึกมิเคยยอ่ท้อกำรสงครำม ไมเ่คยพักให้พระรำชบิดำใช้เลยต้องห้ำมเสียอีก และ หวำดกลัวพระรำชอำญำของพระบิดำยิ่งนัก จึงเตรียมจัดทัพหลวงและทัพหัวเมืองตำ่งๆ เพื่อยกมำตีไทย ขณะนั้นสมเด็จพระนเรศวรเตรียมทัพจะไปตีกัมพูชำเป็นกำรแกแ้ค้นที่ถือโอกำส รุกรำนไทยหลำยครั้งระหวำ่งที่ไทยติดศึกกับพมำ่ พอสมเด็จพระนเรศวรทรงทรำบขำ่วศึกก็ทรงถอนกำ ลังไปสู้รบกับพมำ่ทันที
  30. 30. ~ 30 ~ ทัพหน้ำยกลว่งหน้ำไปตั้งที่ตำ บลหนองสำหร่ำย ฝ่ำยพระมำหำอุปรำชำทรงคุมทัพมำกบัพระเจ้ำเชียงใหมร่ี้พลรบ 5 แสน เข้ำมำทำงดำ่นเจดีย์สำมองค์ ทรงชมไม้ชมนก ชมเขำ และคร่ำครวญถึงพระสนมกำ นัลมำตลอดจนผำ่นไทรโยคลำ กระเพิน และเข้ำยึดเมืองกำญจนบุรีได้โดยสะดวก ตอ่จำกนั้นก็เคลื่อนพลผำ่นพนมทวนเกิดลำงร้ำยลมเวรัมภำพัดฉัตรหัก ทรงตั้งคำ่ยหลวงที่ตำ บลตระพังตรุ ฝ่ำยสมเด็จพระนเรศวรและสมเด็จพระเอกำทศรถทรงเคลื่อนพยุหยำตรำทำงชลมำรค ไปขึ้นบกที่ปำกโมก บังเกิดศุภนิมิต ตอ่จำกนั้นทรงกรีฑำทัพทำงบกไปตั้งคำ่ยที่ตำ บลหนองสำหร่ำย เมอื่ทรงทรำบวำ่พมำ่ส่งทหำรมำลำดตะเวน ทรงแน่พระทัยวำ่พมำ่จะต้องโจมตีกรุงศรีอยุธยำเป็นแน่ จึงรับสั่งให้ทัพหน้ำเข้ำปะทะข้ำศึกแล้ว ลำ่ถอยเพื่อลวงข้ำศึกให้ประมำท แล้วสมเด็จพระนเรศวรมหำรำชกับสมเด็จพระเอกำทศรถทรงนำทัพหลวงออกมำชว่ย ช้ำงพระที่นั่งลองเชือกตกมนักลับเขำไปในหมูข่้ำศึกแมทั่พนำยกองตำมไมทั่น สมเด็จพระนเรศวรมหำรำชตรัสท้ำพระมหำอุปรำชำกรำยุทธหัตถีจนมีชัยชนะ พระมหำอุปรำชำขำดคอช้ำง สมเด็จพระเอกำทศรถกระทำ ยุทธหัตถีมีชัยชนะแกม่งัจำชโร เมื่อกองทัพพมำ่แตกพำ่ยไปแล้วสมเด็จพระนเรศวรมำหำรำชรับสั่งให้สร้ำงสถูป เจดีย์เพื่อเป็นกำรเฉลิมพระเกียรติพระมหำอุปรำชำ เสด็จแล้วจึงเลิกทัพกลับกรุงศรีอยุธยำ เป็นอับดับจบเนื้อเรื่อง กาพย์เห่เรือ ประวัติผู้แต่ง เจ้ำฟ้ำธรรมธิเบศรไชยเชษฐ์สุริยวงศ์ เป็นพระรำชโอรสในสมเด็จพระเจ้ำอยูหั่วบรมโกศ ทรงเป็นกวีเอกใน สมยักรุงศรีอยุธยำตอนปลำย ถือได้วำ่เป็นยุคทองของวรรณคดีที่สำคัญอีกยุคหนึ่ง พระองค์ทรงมีควำมสำมำรถในเชิงอักษรศำสตร์เป็นอยำ่งยิ่ง โดยเฉพำะในด้ำนนิรุกติศำสตร์และฉันทศำสต ร์ พระนิพนธ์ของพระองค์มีทั้งที่เกี่ยวกบัทำงโลกและทำงธรรม ทำงธรรมได้แก่ นันโทปนันทสูตรคำ หลวง และพระมำลัยคำ หลวง ทำงโลกได้แก่ กำพย์เห่เรือ กำพย์ห่อโคลงประพำสธำร ทองแดง กำพย์ห่อโคลงนิรำศพระบำท กำพย์เห่เรื่องกำกี เป็นต้น ตอ่มำได้บังเกิดเหตุอันน่ำสลดใจ
  31. 31. เมอื่เจ้ำฟ้ำกุง้ต้องพระรำชอำญำวำ่ทรงลอบเป็นชกู้บัเจ้ำฟ่ำสังวำลย์ จึงถูกลงทัณฑ์จนกระทั่งสิ้นพระชนม์ทั้ง สองพระองค์ และประดิษฐำนพระบรมอัฐิไว้ณ วดัไชยวฒันำรำม รูปแบบ แตง่เป็นกำพย์ห่อโคลง มีโคลงสี่สุภำพนำ 1 บท เรียกวำ่เกริ่นเห่ และตำมด้วยกำพย์ยำนี 11 พรรณนำเนื้อควำมโดยไมจ่ำ กัดจำ นวนบท จุดประสงค์ในการนิพนธ์ คือ ใช้เห่เรือเลน่ในครำวเสด็จฯ โดยทำงชลมำครเพื่อไปนมสักำรพระพุทธบำท จังหวดัสระบุรี กำรเห่เรือนอกจำกจะเป็นที่สำรำญพระรำช อิริยำบถแล้ว ยังเป็นกำรให้จังหวะแกฝี่พำยด้วย เนื้อเรื่องย่อ กลำ่วถึงขบวนพยุหยำตรำทำงชลมำรค ซึ่งประกอบด้วยเรือพระที่นั่งกิ่ง และเรือที่มีโขนเรือเป็นรูปสัตว์ตำ่ง ๆ คือ เรือ ครุฑยุดนำค เรือไกรสรมุข เรือสมรรถชัย เรือสุวรรณหงษ์ เรือชัย เรือคชสีห์ เรือมำ้ เรือสิงห์ เรือนำคำ (วำสุกรี) เรือมงักร เรือเลียงผำ เรืออินทรี เห่ ชมปลำ กลำ่วพรรณนำชมปลำตำ่ง ๆ มี ปลำนวลจันทร์ คำงเบือน ตะเพียน กระแห แกม้ช้ำ ปลำทุก น้ำเงิน ปลำกรำย หำงไก่ปลำสร้อย เนื้อออ่น ปลำเสือ แมลงภู่ หวีเกศ ชะแวง ชะวำด ปลำแปบ เห่ ชมไม้เมื่อเรือแลน่เลียบชำยฝั่ง ชมไมที้่เห็นตำมชำยฝั่ง ซึ่งมี นำงแย้ม จำ ปำ ประยงค์ พุดจีบ พิกุล สุกรม สำยหยุด พุทธชำด บุนนำค เต็ง แต้ว แกว้ กำหลง มะลิวลัย์ ลำ ดวน เห่ชมนก เมอื่ใกล้พลบค่ำ เห็นนกบินกลับรัง ก็ชมนกตำ่ง ๆ มี นกยูง สร้อยทอง สำลิกำ นำงนวล แกว้ ไกฟ่้ำ แขกเต้ำ ดุเหวำ่ โนรี สัตวำ และจบลงด้วยบทเห่ครวญ เป็นกำรคร่ำ ครวญ คดิถึงนำงที่เป็นที่รักในยำมค่ำ คืน การดาเนินเรื่อง ดำ เนินเรื่องได้สัมพันธ์กบัเวลำใน 1 วนั คือ เช้ำชมกระบวนเรือ สำยชมปลำ บำ่ยชมไม้ เย็นชมนก กลำงคืนเป็นบทครวญสวำท การพรรณนาความ ตอนชมปลำ ชมไม้ชมนก มีกำรพรรณนำพำดพิงไปถึงหญิงที่รัก เข้ำทำ นองเดียวกบันิรำศ ประเพณีกำรเห่เรือ มีมำแตโ่บรำณ แบง่เป็น 2 ประเภท คือ เห่เรือหลวง และเห่เรือเลน่ เห่เรือหลวงเป็นกำรเห่เรือในรำชพิธี ส่วนเห่เรือเลน่ ~ 31 ~

ข้อใดเป็นวรรณกรรมที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์

หนังสือเรื่องสามก๊กได้รับยกย่องให้เป็น ยอดแห่งวรรณกรรมประเภทร้อยแก้วของไทย

วรรณกรรมใดเกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช 1. เพลงยาวรบพม่าที่ท่าดินแดง 2. บทละครเรื่องอุณรุท 3. บทละครเรื่องรามเกียรติ์ 4. บทละครเรื่องดาหลัง

วรรณกรรมที่มีชื่อเสียงสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมีอะไรบ้าง

แปลและเรียบเรียงพงศาวดารจีนเรื่อง สามก๊ก แปลและเรียบเรียง จากภาษามอญเรื่องราชาธิราช บทมโหรีเรื่องกากี ลิลิตพยุหยาตราเพชรพวง ร่ายยาวมหาชาติกัณฑ์กุมารและกัณฑ์มัทรี

วรรณกรรมเรื่องใดที่เกิดขึ้นในยุคทองแห่งวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์

อิเหนา สังข์ทอง ไกรทอง ขุนช้างขุนแผน

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง