ข้อใดเป็นปัจจัยสำคัญของการเติบโตทางการท่องเที่ยวในภูมิภาคต่าง ๆ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การท่องเที่ยว เป็นปัจจัยทางเศรษฐกิจที่สำคัญในประเทศไทย มีส่วนทำให้ค่าจีดีพีของไทยอยู่ที่ประมาณ 17.7% ใน พ.ศ. 2559[1] ใน พ.ศ. 2550 มีนักท่องเที่ยวต่างชาติมากกว่า 14 ล้านคน โดยระยะเวลาพำนักเฉลี่ย 9.19 วัน ทำให้มีรายได้เข้าประเทศมากถึง 547,782 ล้านบาท[2] เป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดเป็นอันดับที่ 18 ของโลก[3]

สาเหตุที่การท่องเที่ยวไทยได้รับการสนับสนุนมากขึ้นใน พ.ศ. 2503 นั้น เพราะมีความมั่นคงทางการเมือง และมีการพัฒนากรุงเทพมหานครในเรื่องของการคมนาคมทางอากาศ ทำให้ธุรกิจโรงแรมและการค้าปลีกขยายตัวอย่างรวดเร็ว เพราะมีความต้องการจากนักท่องเที่ยว และยังได้รับการส่งเสริมจากทหารอเมริกันที่เข้ามาพักผ่อนในช่วงสงครามเวียดนามอีกด้วย[4]

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ระบุว่า[5] 55% ของนักท่องเที่ยวใน พ.ศ. 2550 มาจากภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ได้แก่ ญี่ปุ่น และมาเลเซีย เป็นส่วนใหญ่ ส่วนนักท่องเที่ยวชาวตะวันตกส่วนใหญ่มาจากสหราชอาณาจักร, ออสเตรเลีย, เยอรมนี, สหรัฐอเมริกา และสแกนดิเนเวีย ส่วนจำนวนนักท่องเที่ยวจากตะวันออกกลางและรัสเซียก็เพิ่มขึ้นเช่นกัน[6] ประมาณ 55% ของนักท่องเที่ยวชาวไทยเป็นผู้ที่กลับมาเพื่อเยี่ยมบ้านเกิด ซึ่งมีจำนวนมากที่สุดในช่วงเทศกาลคริสต์มาสต์ถึงปีใหม่ เมื่อนักท่องเที่ยวชาวตะวันตกหนีสภาพหนาวเย็น โดยในปี พ.ศ. 2558 นักท่องเที่ยวจากประเทศจีน มีจำนวนมากที่สุด[7][8] คิดเป็น 27 % ของนักท่องเที่ยวทั้งหมด[9]

การแข่งขันด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทยกับประเทศต่าง ๆ มีมากขึ้นตั้งแต่ลาว กัมพูชา และเวียดนาม เปิดให้มีการท่องเที่ยวระหว่างประเทศขึ้นในช่วง พ.ศ. 2523 และ พ.ศ. 2533 สถานที่ท่องเที่ยวอย่างนครวัด เมืองหลวงพระบาง และอ่าวหะล็อง สามารถแข่งขันกับประเทศไทยซึ่งเคยผูกขาดด้านการท่องเที่ยวในแถบอินโดจีน ทำให้ประเทศไทยต้องมีการกำหนดเป้าหมายต่าง ๆ มากขึ้น เช่น การตีกอล์ฟในวันหยุด นอกจากนี้ประเทศไทยยังมีแผนที่จะเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวทางพระพุทธศาสนาในภูมิภาคอีกด้วย[10] จากข้อมูลของโลนลี่แพลเน็ต ประเทศไทยเป็นอันดับ 2 ใน "จุดหมายคุ้มค่าสุดสำหรับ พ.ศ. 2553" รองจากไอซ์แลนด์ ซึ่งได้รับกระทบอย่างหนักจากวิกฤตซับไพรม์[11] นอกจากนี้ กรุงเทพยังได้รับการจัดอันดับ เป็นที่ 2 ของโลก เมืองที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุด จากการจัดอันดับของ Master card สองปีซ้อนคือ ปี พ.ศ. 2557-2558 [12][13]

สถิตินักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางเข้ามาไทย[แก้]

ข้อมูลโดยกรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา และการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย[14][15]

สถิติโดยภาพรวมประจำปี[แก้]

ปี
(พ.ศ./ค.ศ.)จำนวน
(คน)เปลี่ยนแปลง
(ร้อยละ)รายได้
(ล้านบาท)เปลี่ยนแปลง
(ร้อยละ)
ม.ค.–ส.ค.
2565/2022
4,378,920
2564/2021 427,869 -93.62 ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล
2563/2020 6,702,396 -83.21 ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล
2562/2019 39,916,251 +4.55 1,911,807.95 +1.90
2561/2018 38,178,495 +7.54 1,783,365 +9.63
2560/2017 35,381,210 +8.57 1,824,042.35 +11.66
2559/2016 32,588,303 +8.91 1,640,000.00 +11.76
2558/2015 29,881,091 +20.44 1,447,158.05 +23.39
2557/2014 24,809,683 -6.54 1,147,653.49 -4.93
2556/2013 26,546,725 +18.76 1,207,145.82 +22.69
2555/2012 22,353,903 +16.24 983,928.36 +26.76
2554/2011 19,230,470 +20.67 776,217.20 +30.94
2553/2010 15,936,400 +12.63 592,794.09 +16.18
2552/2009 14,149,841 -2.98 510,255.05 -11.19
2551/2008 14,584,220 +0.83 574,520.52 +4.88
2550/2007 14,464,228 +4.65 547,781.81 +13.57
2549/2006 13,821,802 +20.01 ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล
2548/2005 11,516,936 -1.15 ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล
2547/2004 11,650,703 ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล

อันดับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้าประเทศไทย[แก้]

อันดับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้าประเทศไทย (ค.ศ. 2020 ถึง 2022)
หมายเหตุ: เครื่องหมาย * หมายถึง ประเทศสมาชิกอาเซียนอันดับนักท่องเที่ยวจากม.ค.–ส.ค.
2022[16]20212020
*
 
อาเซียน
1,637,824 32,820 1,652,593
1
 
มาเลเซีย
*
642,351 5,511 619,451
2
 
อินเดีย
455,765 6,544 261,778
3
 
สิงคโปร์
*
243,835 5,931 126,879
4
 
เวียดนาม
*
204,883 1,794 132,514
5
 
สหราชอาณาจักร
204,231 38,663 221,392
6
 
สหรัฐ
187,205 37,880 211,075
7
 
เกาหลีใต้
184,463 12,077 260,228
8
 
ลาว
*
175,227 733 380,917
9
 
เยอรมนี
157,295 45,874 230,598
10
 
กัมพูชา
*
153,943 4,914 165,718
11
 
ออสเตรเลีย
148,886 9,577 123,598
12
 
ฝรั่งเศส
131,625 23,461 236,527
13
 
ญี่ปุ่น
116,841 9,461 320,331
14
 
จีน
114,596 13,043 1,249,910
15
 
รัสเซีย
87,485 30,759 587,167
16
 
พม่า
*
80,847 7,256 54,709
17
 
อินโดนีเซีย
*
72,628 2,577 99,033
18
 
อิสราเอล
67,244 14,038 29,368
19
 
ฟิลิปปินส์
*
62,448 4,078 71,796
20
 
ซาอุดีอาระเบีย
59,526 467 4,131
21
 
เนเธอร์แลนด์
59,056 8,539 51,558
อันดับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้าประเทศไทย (ค.ศ. 2006 ถึง 2019)
หมายเหตุ: เครื่องหมาย * หมายถึง ประเทศสมาชิกอาเซียนอันดับนักท่องเที่ยวจาก2019[17]2018201720162015201420132012201120102009200820072006
*
 
อาเซียน
10,626,511 10,284,050 9,119,941 8,658,051 7,886,136 6,641,772 7,282,266 6,281,153 5,594,577 4,534,235 3,968,579 3,971,429 3,520,051 3,389,342
1
 
จีน
10,994,721 10,535,955 9,805,753 8,757,466 7,934,791 4,636,298 4,637,335 2,786,860 1,721,247 1,122,219 777,508 826,660 907,117 949,117
2
 
มาเลเซีย
*
4,166,868 4,097,604 3,354,800 3,533,826 3,423,397 2,613,418 3,041,097 2,554,397 2,500,280 2,058,956 1,757,813 1,855,332 1,540,080 1,591,328
3
 
อินเดีย
1,995,516 1,596,772 1,411,942 1,193,822 1,069,149 932,603 1,050,889 1,013,308 914,971 760,371 614,566 536,964 536,356 459,795
4
 
เกาหลีใต้
1,887,853 1,796,596 1,709,070 1,464,218 1,372,995 1,122,566 1,295,342 1,263,619 1,156,283 885,445 758,227 889,210 1,183,652 1,092,783
5
 
ลาว
*
1,845,375 1,750,658 1,612,647 1,409,456 1,233,138 1,053,983 976,639 975,999 891,950 715,345 655,034 621,564 513,701 276,207
6
 
ญี่ปุ่น
1,806,340 1,656,100 1,544,328 1,439,629 1,381,690 1,267,886 1,586,425 1,373,716 1,277,893 993,674 1,004,453 1,153,868 1,277,638 1,311,987
7
 
รัสเซีย
1,483,453 1,260,889 1,346,219 1,089,992 884,085 1,606,430 1,746,565 1,316,564 1,054,187 644,678 336,965 324,120 277,503 187,658
8
 
สหรัฐ
1,167,845 1,123,248 1,056,124 974,632 867,520 763,520 823,486 768,638 681,748 611,792 627,074 669,097 681,972 694,258
9
 
สิงคโปร์
*
1,056,836 1,067,309 1,028,077 966,909 937,311 844,133 955,468 831,215 682,364 603,538 563,575 570,047 604,603 687,160
10
 
เวียดนาม
*
1,047,629 1,027,430 934,497 830,394 751,091 559,415 725,057 618,670 496,768 380,368 363,029 338,303 237,672 227,134
11
 
ฮ่องกง
1,045,198 1,015,688 820,894 749,694 669,165 483,131 588,335 473,666 411,834 316,476 318,762 337,827 367,862 376,636
12
 
สหราชอาณาจักร
994,018 987,456 994,468 1,003,386 946,919 907,877 905,024 873,053 844,972 810,727 841,425 826,523 859,010 850,685
13
 
กัมพูชา
*
907,506 821,216 854,431 686,682 487,487 550,339 481,595 423,642 265,903 146,274 96,586 85,790 99,945 117,100
14
 
เยอรมนี
857,487 758,238 849,283 835,506 760,604 715,240 737,658 682,419 619,133 606,874 573,473 542,726 544,495 516,659
15
 
ไต้หวัน
789,923 687,701 572,964 522,231 552,624 394,149 502,176 394,475 394,225 369,220 362,783 393,176 427,474 475,117
16
 
ออสเตรเลีย
768,668 801,637 817,091 791,631 805,946 831,854 900,460 930,241 829,855 698,046 646,705 694,473 658,148 549,547
17
 
ฝรั่งเศส
745,290 749,643 739,853 738,763 681,097 635,073 611,582 576,106 515,572 461,670 427,067 398,407 373,090 321,278
18
 
อินโดนีเซีย
*
709,613 644,043 574,764 535,625 469,226 497,592 594,251 447,820 370,795 286,072 227,205 247,930 237,592 219,783
19
 
ฟิลิปปินส์
*
500,704 432,578 380,886 339,486 310,975 304,813 321,571 289,566 268,375 246,430 217,705 221,506 205,266 198,443
20
 
พม่า
*
376,368 368,170 365,590 341,641 259,678 206,794 172,383 129,385 110,671 90,179 79,279 71,902 72,205 62,769
21
 
สวีเดน
287,383 311,959 323,669 332,866 321,663 324,865 341,398 364,681 373,856 355,214 350,819 392,274 378,387 306,085
22
 
แคนาดา
274,160 276,543 258,392 244,268 227,306 211,059 229,897 219,354 194,356 168,393 169,482 180,900 183,440 183,094
23
 
อิตาลี
272,289 280,161 264,429 265,532 246,066 219,875 207,192 200,703 185,869 168,203 170,105 159,513 171,328 150,420
24
 
เนเธอร์แลนด์
241,663 236,300 222,077 235,708 221,657 211,524 218,765 208,122 198,891 196,994 205,412 193,541 194,434 180,830
25
 
สวิตเซอร์แลนด์
192,156 207,596 209,434 208,967 206,454 201,271 199,923 191,147 170,044 155,761 148,269 143,065 146,511 140,741

คำขวัญรณรงค์เที่ยวไทย[แก้]

คำขวัญรณรงค์ท่องเที่ยวประเทศไทย ประโยคแรกคือ เยี่ยมเยือนประเทศไทย (อังกฤษ: Visit Thailand) ราวปี พ.ศ. 2530 จากนั้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541 จนถึงปัจจุบัน มีคำขวัญใหม่ว่า มหัศจรรย์ประเทศไทย (อังกฤษ: Amazing Thailand) พร้อมทั้งสัญลักษณ์ลายไทย ลักษณะโดยรวมเป็นรูปดวงตาและคิ้ว ต่อมาช่วงที่การท่องเที่ยวไทยเกิดวิกฤต เมื่อปี พ.ศ. 2552 ททท.จึงจัดโครงการสืบเนื่องในชื่อ มหัศจรรย์ประเทศไทย มหัศจรรย์คุณค่า (อังกฤษ: Amazing Thailand, Amazing Value) [18] นอกจากนี้ยังมีคำขวัญรองเช่น เที่ยวไทยให้ครบ พบไทยให้ทั่ว, เที่ยวเมืองไทย ไม่ไปไม่รู้, กอดเมืองไทย ให้หายเหนื่อย, เที่ยวหัวใจใหม่ เมืองไทยยั่งยืน เป็นต้น

สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย[แก้]

หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 ประธานสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเป็น กรรมการในคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ อีกตำแหน่งหนึ่ง โดยคนแรกที่ดำรงตำแหน่งในคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติได้แก่ อิทธิฤทธิ์ กิ่งเล็ก ประธานสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยในสมัยนั้น ปัจจุบันผู้ที่ได้รับตำแหน่ง ประธานสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยและเป็นกรรมการในคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติได้แก่ ชำนาญ ศรีสวัสดิ์ (ตังแต่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ถึง ปัจจุบัน) [19]

ท่องเที่ยวไทย[แก้]

ท่องเที่ยวไทย (อังกฤษ: Unseen In Thailand) เป็นหน่วยงานที่ดูแลด้านการท่องเที่ยวโดยเฉพาะ โดยได้รับเลือกจากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย เพื่อยกระดับการท่องเที่ยวในประเทศไทยโดยคนไทย

เสน่ห์[แก้]

ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีสถานที่ท่องเที่ยวที่หลากหลายที่สุดประเทศหนึ่ง โดยมีทั้งจุดดำน้ำ, หาดทราย, เกาะนับร้อย, สถานบันเทิงที่หลากหลาย, โบราณสถาน, พิพิธภัณฑ์, หมู่บ้านชาวเขา, สวนดอกไม้และจุดชมนกที่ยอดเยี่ยม, พระราชวัง, วัดขนาดใหญ่ และมรดกโลกจำนวนมาก มีนักท่องเที่ยวจำนวนมากที่ตามหลักสูตรระหว่างอยู่ในประเทศไทย สิ่งที่นิยมได้แก่ชั้นเรียนการทำอาหารไทย, พระพุทธศาสนา และการนวดแผนไทย เทศกาลของไทยมีตั้งแต่เทศกาลที่สนุกกับการสาดน้ำอย่างสงกรานต์ ไปจนถึงประเพณีในตำนานอย่างลอยกระทง ท้องถิ่นจำนวนมากในประเทศไทยมีเทศกาลของพวกเขาเองเช่นกัน ที่มีชื่อเสียงได้แก่ "การจัดงานแสดงช้าง" ในจังหวัดสุรินทร์, "ประเพณีบุญบั้งไฟ" ใน จังหวัดร้อยเอ็ด โดยเฉพาะ งานประเพณีบุญบั้งไฟลายศรีภูมิ (เทคนิคการเอ้ประดับบั้งไฟ ด้วยลายกรรไกรตัดแห่งเดียวในประเทศไทย) ที่อำเภอสุวรรณภูมิ และ การจุดบั้งไฟขึ้นสูง มากที่สุดในประเทศไทย ที่อำเภอพนมไพร และนอกจากนี้ ในทุกสัปดาห์ที่สอง ของเดือนพฤษภาคม งานบุญบั้งไฟจังหวัดยโสธร เป็นต้น หรืองานที่รวมประเพณีบุญบั้งไฟ รวมกันกับ บุญผะเหวด เป็นงานบุญหลวง นับเป็นเทศกาลน่าสนใจอย่าง "ผีตาโขน" ในอำเภอด่านซ้าย อาหารไทยบางอย่างมีชื่อเสียงทั่วโลกด้วยการใช้สมุนไพรและเครื่องเทศสด จากส้มตำอร่อยไม่แพงที่ร้านริมถนนเรียบง่ายในชนบทถึงอาหารไทยในร้านอาหารชวนชิมของกรุงเทพฯ

กรุงเทพมหานครมีชื่อเสียงจากห้างสรรพสินค้าหลักในบริเวณใจกลางเมือง ให้ความหลากหลายของสินค้ายี่ห้อท้องถิ่นและนานาชาติ ไปทางเหนือของเมืองมี"ตลาดนัดจตุจักร" ซึ่งสามารถเดินทางได้สะดวกด้วยรถไฟฟ้าและใต้ดิน เป็นไปได้ว่าเป็นตลาดที่ใหญ่ที่สุดในโลก ขายสินค้าทุกอย่างตั้งแต่อุปกรณ์ใช้งานในบ้าน[20] ไปจนถึงสัตว์ชนิดต่างๆ ตลาด "ประตูน้ำ" ใจกลางเมือง เป็นผู้เชี่ยวชาญในด้านผ้าและเสื้อผ้า นักท่องเที่ยวเน้นตลาดกลางคืนในถนนสีลมและบนถนนข้าวสารเป็นหลัก ซึ่งขายสินค้าเช่น เสื้อยืด, หัตถกรรม, นาฬิกาข้อมือและแว่นกันแดด ในบริเวณใกล้เคียงกรุงเทพมหานครสามารถหาตลาดน้ำยอดเยี่ยมอย่างแท้จริงเช่นในดำเนินสะดวก "ตลาดถนนคนเดินวันอาทิตย์เย็น" จัดบนถนนราชดำเนินในเมืองเก่าเป็นไฮไลต์ของการช็อปปิ้งเมื่อไปเยือนจังหวัดเชียงใหม่ในภาคเหนือของประเทศไทย มันดึงดูดคนท้องถิ่นมากมายรวมทั้งชาวต่างประเทศ "ไนท์บาซาร์" ในเชียงใหม่เป็นตลาดที่นักท่องเที่ยวเน้นเช่นกัน ซึ่งขยายไปหลายช่วงของเมือง แค่ผ่านกำแพงเมืองเก่าไปตามแม่น้ำ

ดูเพิ่ม[แก้]

ทั่วไป[แก้]

  • ประเทศไทย
  • จังหวัดในประเทศไทย
  • การคมนาคมในประเทศไทย
  • ภูมิศาสตร์ไทย
  • รายชื่อวันสำคัญของไทย

ศิลปะและวัฒนธรรม[แก้]

  • ประวัติศาสตร์ไทยช่วงต้น
  • ประวัติศาสตร์ไทย
  • วัฒนธรรมไทย
  • กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย
  • วัดไทย
  • รายชื่อวัดในประเทศไทย
  • พระพุทธรูปในประเทศไทย
  • ศาสนาพุทธในประเทศไทย
  • ปางพระพุทธรูปในประเทศไทย
  • โขน
  • ผ้าไหมไทย
  • อาหารไทย
  • ประเพณีไทย

ธรรมชาติและกีฬา[แก้]

  • อุทยานแห่งชาติในประเทศไทย
  • รายชื่อเกาะในประเทศไทย
  • การดำน้ำในประเทศไทย
  • กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
  • มวยไทย
  • รายชื่อสวนสาธารณะในประเทศไทย
  • สวนสัตว์ในประเทศไทย

ภาษา[แก้]

  • ภาษาไทย
  • ทิงลิช ภาษาอังกฤษที่เปลี่ยนแปลงเนื่องจากผู้ใช้ภาษาไทย
  • ฝรั่ง คำภาษาไทยที่ใช้เรียกชาวต่างชาติที่เชื้อสายยุโรป

การท่องเที่ยว[แก้]

  • การท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานคร
  • ตลาดในกรุงเทพมหานคร
  • การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในประเทศไทย
  • รายชื่อห้างสรรพสินค้าในประเทศไทย
  • ถนนคนเดิน
  • แหล่งท่องเที่ยวไทย

อ้างอิง[แก้]

  1. ปี 59 ทำเงินเข้าไทยกระเป๋าตุง! รัฐปลื้มตัวเลขท่องเที่ยวสวยหรู
  2. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-09-28. สืบค้นเมื่อ 2010-06-26.
  3. UNTWO (2008). "UNTWO World Tourism Barometer, Vol.6 No.2" (PDF). สืบค้นเมื่อ 2009-12-03.
  4. สาเหตุที่การท่องเที่ยวไทยได้รับการสนับสนุนมาก
  5. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-05-29. สืบค้นเมื่อ 2010-06-26.
  6. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-10-04. สืบค้นเมื่อ 2010-06-26.
  7. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-06-11. สืบค้นเมื่อ 2014-03-18.
  8. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-02-16. สืบค้นเมื่อ 2013-02-13.
  9. คนไทยรู้ยัง : ปี 2558 นักท่องเที่ยวจีนมีสัดส่วน 27% ของนักท่องเที่ยวทุกชาติที่มาเที่ยวไทย
  10. การแข่งขันด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทยกับประเทศต่างๆ
  11. รับกระทบอย่างหนักจากวิกฤตซับไพรม์
  12. Hedrick-Wong, Yuwa; Choong, Desmond (2014). MasterCard 2014 Global Destination Cities Index. MasterCard. p. 3.
  13. จากการจัดอันดับของ Master card
  14. tourism Intelligence center สถิตินักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางเข้ามาไทย
  15. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-02-16. สืบค้นเมื่อ 2013-02-13.
  16. "สถิติด้านการท่องเที่ยว ปี 2565 (Tourism Statistics 2022)". Ministry of Tourism & Sports. สืบค้นเมื่อ 4 June 2022.
  17. "สถิติด้านการท่องเที่ยว ปี 2562 (Tourism Statistics 2019)". Ministry of Tourism & Sports. สืบค้นเมื่อ 23 January 2020.
  18. Amazing Thailand, Amazing Value page 34
  19. "ชำนาญ ศรีสวัสดิ์" นั่งเก้าอี้ประธานสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยคนใหม่
  20. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-10-03. สืบค้นเมื่อ 2010-06-26.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

วิกิท่องเที่ยว มีคำแนะนำการท่องเที่ยวสำหรับ Thailand
  • การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
  • เทศกาลและกิจกรรมในประเทศไทย Archived 2010-05-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • กองบังคับการตำรวจท่องเที่ยว

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง