การตั้งชื่อตัวแปรในข้อใด ถูกต้อง ในโปรแกรมภาษาซี

�Ӫ��ᨧ
  1. Ẻ���ͺ�ش�����Ẻ�ù�� 4 ������͡ �ӹǹ 10 ���
  2. �����͡�ӵͺ���١��ͧ����ش��§�ӵͺ����
1.�������١��ͧ�����ѡ㹡�õ�駪��͵���� ?�. day_of_week
�. num1
�. 2Subjects
�. FLOAT
 2.���㴵��仹�� ��駪��͵���ö١��ͧ�����ѡ㹡�õ�駪��͵���� ?�. 1Sum
�. Num 2
�. do
�. _name
 3.���㴵��仹�� ����� ��Դ������Ẻ integer ?�. 4.54
�. 8
�. +21
�. -2556
 4.��ҵ�ͧ����红���������ǡѺ�š�����¹ �� 3.45 ��á�˹���Դ�����Ţͧ����ôѧ���� ?�. char
�. float
�. int
�. short
 5.���㴵��仹���ͪ�Դ�����ŷ����˹��¤�����������ͧ����ش ?�. int
�. float
�. double
�. long int
 6.�������§�ӴѺ��Ҵ�����Ţͧ����èҡ������ҡ��١��ͧ ?�. double, float, long, unsigned int
�. char, unsigned int, float, double
�. long, unsigned long, float, double
�. unsigned int, char, float, double
 7.���㴤�ͤ���觷����㹡�á�˹���Ҥ�������Ѻ����� ?�. double
�. float
�. #include
�. #define
 8.���㴵��仹�� ���ٻẺ�ͧ�Ծ������˹�������� num ������ҷ���˹�� ?�. num++
�. num = num+1
�. ++num
�. �١�ء���
 9.���㴵��仹�� ���Ѵ�ӴѺ�����Ӥѭ��͹��ѧ�ͧ��Ǵ��Թ��������ҧ�١��ͧ ?�. ++, * ���� / , + ���� -
�. *, /, +, -, ++ ���� --
�. ++, /, +, % ���� -
�. /, -, % ���� +
 10.���㴵��仹�� ��ͤӵͺ�ͧ��� y �ҡ�Ծ������˹���� ?int x, y;x = 8;y = ++x;printf(�%d�,y);�. 7
�. 8
�. 9
�. 10
 


คำแนะนำ

         1.  แบบทดสอบแบ่งเป็น  2  ตอน ได้แก่ ตอนที่ 1 แบบทดสอบเป็นแบบปรนัย  4  ตัวเลือก
              มีจำนวน  10  ข้อ  10  คะแนน
         2.  ตอนที่  2 ภาคปฏิบัติ แบบอัตนัย  1  ข้อ  10  คะแนน
         3.  ตอนที่ 1 ให้นักเรียนคลิกตัวเลือกที่เห็นว่าถูกที่สุดเพียงข้อเดียว และเมื่อทำแบบทดสอบครบ
              ทุกข้อแล้ว ให้คลิกที่ปุ่ม  "ตรวจคำตอบ"  จะทราบคะแนนทันที

ตอนที่ 1

ข้อที่ 1 :  ข้อใดไม่ใช่ประเภทของข้อมูลในภาษาซี

   ก. char
   ข. string
   ค. int
   ง. float

ข้อที่ 2 :   ตัวแปร integer (int) ขนาด 2 ไบต์ เก็บตัวเลขในช่วงใด

   ก.  -32,767  ถึง  32,768
   ข.  -127  ถึง  128
   ค.  -32,768  ถึง  32,767
   ง.  -32,768  ถึง  32,768

ข้อที่ 3 :  ตัวแปรชนิดใดเหมาะสมที่สุดสำหรับเก็บค่าเฉลี่ย

   ก. integer
   ข. charecter
   ค. real
   ง. float

ข้อที่ 4 : ข้อใดไม่เป็นคำสงวน (Reserved Words) 

   ก. goog
   ข. float
   ค. return
   ง. char

ข้อที่ 5 : การตั้งชื่อตัวแปรในข้อใด ถูกต้อง ในโปรแกรมภาษาซี

   ก. com-computer
   ข. 8number
   ค. class_room
   ง.  right#

ข้อที่ 6 :  การประกาศตัวแปรที่ไม่เหมาะสมเมื่อกำหนดให้ a = 10.7 , b = 200 , c = 400

   ก. int c;
   ข. float a;
   ค. char b;
   ง. เหมาะสมทุกข้อ

ข้อที่ 7 :  ข้อใดประกาศตัวแปรผิด

   ก. char name[ ]="Peter";
    ข. float Number='10.00';
   ค. char ch='a';
   ง. bool X2=true;ข้อที่ 8 :  ชื่อของตัวแปรในข้อใด ไม่ถูกต้องตามหลักการตั้งชื่อตัวแปรในภาษาซี

   ก.  firstvalue
   ข.  First_value
   ค.  first value
   ง.   FIRST_VALUEข้อที่ 9 :  ข้อมูลประเภทข้อความในภาษาซี ตัวอักขระตัวสุดท้ายเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์อะไร

   ก.    0
   ข.    \
   ค.     0\
   ง.     \0
ข้อที่ 10 :  กำหนดการประกาศตัวแปรในภาษาซี char name1[ ] = “V”;
                 ดังนั้นตัวแปร name1 มีขนาดเท่าไร

   ก. 4
   ข. 3
   ค. 2
   ง.  1


การตั้งชื่อตัวแปรและตัวดำเนินการ

การกำหนดตัวแปรเป็นการใช้ชื่อตัวแปรแทนตำแหน่งบนหน่วยความจำ สำหรับเก็บข้อมูลระหว่างการประมวลผล ซึ่งอาจเป็นข้อมูลนำเข้า ข้อมูลที่เกิดจากการดำเนินการ หรือข้อมูลผลลัพธ์

การประกาศตัวแปร

           การตั้งชื่อให้กับตัวแปรจะเป็นไปตามหลักการตั้งชื่อของภาษาซี และชื่อที่เหมาะสมควรจะเป็นชื่อที่สื่อความหมาย การประกาศตัวแปรมีรูปแบบ ดังนี้

การตั้งชื่อตัวแปร

           นักเขียนโปรแกรมจะต้องตั้งชื่อให้กับตัวแปร ค่าคงที่ โปรแกรมย่อย พารามิเตอร์ และส่วนต่างๆ ของโปรแกรม กฎเกณฑ์ที่ใช้ในการตั้งชื่อของภาษาซีมีดังนี้

  1. ชื่อจะประกอบขึ้นจากตัวอักษร ตัวเลข และเครื่องหมายขีดเส้นใต้(underscore) เท่านั้น
  2. อักขระแรกของชื่อจะต้องเป็นตัวอักษร หรือเครื่องหมายขีดเส้นใต้เท่านั้น
  3. ตัวพิมพ์ใหญ่ และตัวพิมพ์เล็กถือเป็นตัวอักษรคนละตัวกัน เช่น Salary และ SALARY เป็นชื่อที่แตกต่างกัน เป็นต้น
  4. ชื่อมาตรฐาน ANSI C จะมีความยาวไม่จำกัด แต่คอมไพเลอร์ตามมาตรฐาน ANSI C จะต้องสามารถจำแนกชื่อที่แตกต่างกันได้อย่างมาก 31 อักขระแรก
  5. ชื่อจะต้องไม่ซ้ำกับคำสงวน

เกณฑ์พิจารณาถูกหรือผิดเพิ่มเติมจากตัวอย่างชื่อตัวแปร

1. ชื่อตัวแปร ไม่สามารถใช้ตัวเลขนำหน้าได้

2. ชื่อตัวแปร ไม่สามารถนำเครื่องหมายทางคณิตศาสตร์มาประกอบการตั้งชื่อ

3. ชื่อตัวแปร ไม่สามารถนำเครื่องหมายวรรคตอน (Punctuation) มาใช้ร่วมได้

4. ไม่สามารถนำคำสงวนมาไช้เพื่อตั้งชื่อตัวแปร

5. ชื่อตัวแปรไม่สามารถคั่นด้วยช่องว่างได้

6. ชื่อตัวแปรสามารถใช้ตัวเลขตามหลังได้

7. สามารถใช้เครื่องหมาย _ (Under Score) เชื่อมคำ เพื่อสื่อความหมายในตัวแปรได้

8. สามารถใช้ตัวอักษรตัวพิมพ์ใหญ่หรือตัวพิมพ์เล็ก ในการกำหนดชื่อตัวแปรร่วมกันได้

คำสงวน

           คำสงวน หมายถึง คำที่สงวนไว้สำหรับเรียกใช้ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนโดยเฉพาะ เช่น คำที่ใช้ในคำสั่งควบคุม และชนิดของข้อมูล เป็นต้น คำสงวนของภาษาซีมีดังนี้

ภาษาซีเป็นอีกภาษาหนึ่งที่มีชนิดของข้อมูลให้ใช้งานหลายอย่างด้วยกัน ซึ่งชนิดของข้อมูลแต่ละอย่างมีขนาดเนื้อที่ที่ใช้ในหน่วยความจำที่แตกต่างกัน และเนื่องจากการที่มีขนาดที่แตกต่างกันไป ดังนั้นในการเลือกใช้งานประเภทข้อมูลก็ควรจะคำนึงถึงความจำเป็นในการใช้งานด้วย สำหรับประเภทของข้อมูลมีดังนี้คือ

รูปแบบในการประกาศตัวแปรในภาษา C

การสร้างตัวแปรขึ้นมาใช้งานจะเรียกว่า การประกาศตัวแปร (Variable Declaration) โดยเขียนคำสั่งให้ถูกต้องตามแบบการประกาศตัวแปร แสดงดังนี้

int num; //สร้างตัวแปรชื่อ num เพื่อเก็บข้อมูลชนิดจำนวนเต็ม

float h; //สร้างตัวแปรชื่อ h เพื่อเก็บข้อมูลชนิดเลขทศนิยม

printf("Enter number : ");

printf("Enter height : ");

printf("Number = %d  and  Height = %f\n",num,h);

ในภาษา C ไม่มีการกำหนดชนิดของตัวแปรสำหรับข้อความโดยตรง แต่จะใช้การกำหนดชนิดของตัวแปรอักขระ (char) ร่วมกับการกำหนดขนาดแทน และจะเรียกตัวแปรสำหรับเก็บข้อความว่า ตัวแปรสตริง (string) รูปแบบการประกาศตัวแปรสตริงแสดงได้ดังนี้

n     ขนาดของข้อความ หรือจำนวนอักขระในข้อความ

str     ข้อความเริ่มต้นที่จะกำหนดให้กับตัวแปรซึ่งต้องเขียนไว้ภายในเครื่องหมาย " "

ตัวอย่างการประกาศตัวแปรสำหรับเก็บข้อความ แสดงได้ดังนี้

char name[5] = "kwan" ; สร้างตัวแปร name สำหรับเก็บ ข้อความ kwan ซึ่งมี 4 ตัวอักษร           ดังนั้น name ต้องมีขนาด 5

char year[5] = "2549"; สร้างตัวแปร year สำหรับเก็บ ข้อความ 2549 ซึ่งมี 4 ตัวอักษร           ดังนั้น year ต้องมีขนาด 5

char product_id[4] = "A01"; สร้างตัวแปร product_id สำหรับเก็บ ข้อความ A01 ซึ่งมี 3 ตัวอักษร ดังนั้น product_id ต้องมีขนาด 4 ด้วย

การตั้งชื่อตัวแปรข้อใดถูกต้อง

1. ตัวแปรจะต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษร A-Z, a-z หรือเครื่องหมาย _ (Underscore) เท่านั้น 2. ตัวอักษรที่ตามมาของชื่อตัวแปรนั้นจะต้องเป็น A-Z, a-z และเครื่องหมาย _ (Underscore) หรือตัวเลข 3. ห้ามเว้นช่องว่างภายในชื่อตัวแปร และห้ามใช้สัญลักษณ์พิเศษอื่น ๆ

ข้อใดตั้งชื่อถูกตามกฎการตั้งชื่อของโปรแกรมภาษาซี

กฏในการตั้งชื่อให้กับตัวแปรภาษาซี โดยใช้เขียนโปรแกรมจะต้องตั้งชื่อให้ตรงตามกฎของการตั้งชื่อดังนี้ ต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษร A ถึง Z หรือ a ถึง z หรือเครื่องหมาย _ ภายในชื่อตัวแปรให้ใช้ตัวอักษร A ถึง Z หรือ a ถึง z ตัวเลข 0 ถึง 9 หรือเครื่องหมาย _ ภายในชื่อตัวแปรห้ามมีช่องว่าง หรือใช้ตัวอักษรที่ไม่ตรงตามหลักข้องข้อ (2)

ตัวแปรของโปรแกรมภาษาซีคืออะไร

Untitled Document. ตัวแปร (Variable) ในภาษาซี ตัวแปร หมายถึง ชื่อเรียกแทนพื้นที่เก็บข้อมูลในหน่วยความจำ มี ชนิด ของข้อมูล หรือแบบของตัวแปรคือ char, int, long, float, double, unsigned int, unsigned long int.

ข้อใดตั้งชื่อในภาษา C# ไม่ถูกต้อง

หลักการตั้งชื่อตัวแปรใน C# ห้ามนำคำสงวน (reserved word) ชื่อที่ C# ได้นำไปใช้แล้ว เช่น if, for มาตั้งเป็นชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรจะต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษ อักขระพิเศษ @ หรือ _ (underscore) เท่านั้น ตัวแปรจะต้องไม่ขึ้นต้นด้วยตัวเลข เช่น 10number ถือว่าเป็นชื่อตัวแปรที่ไม่ถูกต้อง

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง