ข้อใดเป็นหน่วยมูลฐานของแรง

เพื่อน ๆ จะตะลุยอ่านบทความนี้ หรือจะคลิกแบนเนอร์ด้านล่าง ไปเรียนกับคุณครูของเราในแอปพลิเคชัน StartDee ได้เลย

 

ในประเทศไทยมีมาตราวัดความยาวเป็นของตัวเอง เช่น คืบ ศอก วา เส้น โยชน์ บางหน่วยก็ยังมีการใช้อยู่ในปัจจุบัน แต่บางหน่วยก็ไม่นิยมใช้แล้ว นอกจากประเทศไทยแล้วประเทศอื่น ๆ ก็สร้างหน่วยวัดของตัวเองขึ้นมาเหมือนกัน ทำให้เกิดความยุ่งยากขึ้นเมื่อต้องมีการแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศ จนในปี พ.ศ. 2503 ได้มีการประชุมของนักวิทยาศาสตร์นานาชาติเพื่อตกลงให้มี ‘หน่วยระหว่างชาติ (International system of unit)’ หรือเรียกง่าย ๆ ว่าหน่วย SI (SI Unit) เป็นระบบวัดมาตรฐานระหว่างชาติขึ้นมา

 

หน่วย SI มีอะไรบ้าง

 

หน่วย SI จะประกอบไปด้วย 4 หน่วยย่อย ได้แก่หน่วยฐาน หน่วยเสริม หน่วยอนุพันธ์ และคำอุปสรรค อ่านแค่ชื่อเฉย ๆ อาจจะยังไม่เข้าใจ ถ้าอย่างนั้นเราไปดูรายละเอียดของหน่วย SI แต่ละแบบกันเลยดีกว่า!

  1. หน่วยฐาน (Based units) ซึ่งจะเป็นหน่วยหลักของหน่วย SI มีทั้งหมด 7 หน่วย คือ



  2. หน่วยเสริม (Supplementary units)  ประกอบด้วย 2 หน่วย คือ เรเดียนและสเตอเรเดียน
    2.1 หน่วยเรเดียน คือหน่วยของมุมบนระนาบของวงกลม เป็นมุม 2 มิติ
    2.2 หน่วยสเตอเรเดียน คือหน่วยวัดมุมตันของทรงกลม โดยเป็นมุม 3 มิติ

  3. หน่วยอนุพันธ์ (Derived unit) เป็นหน่วยที่เกิดจากหน่วยฐานมาผสมกัน เช่น หน่วยของความเร็ว เป็น เมตรต่อวินาที หน่วยของแรง ที่มาจาก kg. m/s2 หรือนิวตัน หรือแม้กระทั่งหน่วยของความถี่ที่เราจะมักคุ้นเคยกับหน่วยเฮิรตซ์ แต่จริง ๆ แล้วมาจากหน่วย ต่อวินาที หรือวินาทีกำลังลบหนึ่ง (s-1) เป็นต้น

  4. คำอุปสรรค (Prefixes) คือการลดรูปตัวเลขที่อยู่ในหน่วยฐาน หรือหน่วยอนุพันธ์ โดยอยู่ในรูปของเลข 10 ยกกำลังตัวเลขค่าหนึ่งที่เราเรียกว่าตัวพหุคูณ ซึ่งเราจะเปลี่ยนตัวพหุคูณนี้เป็นชื่อเฉพาะที่เราเรียกว่าคำอุปสรรคนั่นเอง เพื่อน ๆ อาจรู้สึกว่าคำอุปสรรคนี่เป็นอุปสรรคสมชื่อจริง ๆ แต่ถ้าเรียนออนไลน์กับเราแล้ว เชื่อเราเถอะว่าไม่ยาก ยกตัวอย่างง่าย ๆ เช่น จาก 2,000 เมตร กลายเป็น 2x103 เมตร จาก 0.0013 จะได้เป็น 1.3x10-3 ซึ่งตัวเลข 103 และ 10-3 ของทั้งสองตัวอย่างคือตัวพหุคูณ เราจะแปลงตัวพหุคูณนี้เป็นคำอุปสรรคเพื่อให้ง่ายต่อการเรียกมากขึ้น เช่น 10-2  มีศัพท์บัญญัติคือ เซนติ และใช้สัญลักษณ์ c และจากตัวอย่างที่เราพูดถึงก่อนหน้านี้ คือ 103 มีศัพท์บัญญัติคือ กิโล และ 10-3 คือ มิลลิ เป็นต้นเยอะขนาดนี้จำไม่หมดแน่ๆ แต่ไม่ต้องเครียดไปเพราะเรามีวิธีท่องจำตารางคำอุปสรรคง่าย ๆ มาฝากเพื่อน ๆ โดยเราจะเริ่มท่องที่เลขยกกำลัง 1 และไป -1 จากนั้นเป็น 2, -2, 3 -3 ไปเรื่อย ๆ สังเกตว่า หลังจากเลข ±3 จะเป็น 6, 9, 12 ไปเรื่อย ๆ หรือพูดง่าย ๆ ว่า หลังจากเลข 3 ปุ๊บ จะบวก 3 ไปเรื่อย ๆ

เป็นอย่างไรบ้างกับกับการเรียนออนไลน์เรื่องหน่วยวัดต่าง ๆ อาจจะดูเยอะมาก แต่ถ้าเราท่องบ่อย ๆ ใช้บ่อย ๆ ก็จะคุ้นเคยกับหน่วยวัดและคำอุปสรรคเหล่านี้ไปเอง อย่าลืมใช้เทคนิคการจำที่เรานำมาฝาก รับรองว่าไม่ยากเกินความสามารถแน่นอน และถ้าเพื่อน ๆ อยากเรียนรู้และทำข้อสอบเพิ่มเติมก็สามารถไปดูเพิ่มเติมที่ StartDee ได้เลย หรือจะเข้าไปทำโจทย์กันได้ที่บทความนี้ (คลิกลิงก์นี้เลย) ในครั้งหน้าเราจะมีบทเรียนสนุก ๆ มาฝากเพื่อน ๆ อีกแน่นอน แต่จะเป็นเรื่องไหนนั้นต้องรอติดตามนะ หรือจะดูวิดีโอใน Youtube ของ StartDee ก็ได้เช่นกัน

การบวก และลบเลขนัยสำคัญ  ในการคิดคำนวณนั้นใช้หลักการบวกและลบทศนิยมโดยปกติ แต่ต้องให้ผลลัพธ์จากการบวกลบนี้มีตำแหน่งของตัวเลขหลังจุดทศนิยมเท่ากับตำแหน่งของตัวเลขหลังจุดทศนิยมที่น้อยที่สุด เมื่อเทียบกับเลขนัยสำคัญทั้งสองค่า

หมายเหตุ: ธนาคารจะดำเนินการส่งข้อมูลให้กรมสรรพากร ทุกรายการบริจาคผ่านช่องทาง Mobile Banking ของทุกธนาคารที่รองรับการบริจาค e-Donation ในกรณีที่ผู้บริจาคเลือกติ๊กในช่อง Checkbox เพื่อยินยอมการส่งข้อมูลการบริจาคไปยังกรมสรรพากร ก่อนยืนยันการทำรายการเท่านั้น

 หนังสือพิมพ์ สถานีโทรทัศน์ สถานีวิทยุ กระทรวงต่างๆ 77จังหวัดทั่วไทย ส่วนราชการที่สำคัญ เว็บบริการข้อมูล
แบบสำรวจความคิดเห็น
ท่านต้องการให้ สำนักงานท้องถิ่นพัฒนาในส่วนใดมากที่สุดไฟฟ้าถนนน้ำประปาบริการประชาชนแหล่งน้ำเพื่อการเกษตรการศึกษา 
 

สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดน่าน

ศูนย์ราชการจังหวัดน่าน ชั้น 5 ตำบลไชยสถาน อำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน รหัสไปรษณีย์ 55000
( โทร / โทรสาร 054-716383-5 ) อีเมล์ : nanlocalnetwork@gmail.comสงวนลิขสิทธิ์ © โดย MediaCreativeCenter 08-7776-6615

หน่วยมูลฐานของระบบหน่วย SI มีอะไรบ้าง

หน่วยฐานเอสไอ (อังกฤษ: SI base unit) เป็นหน่วยที่ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศกำหนดไว้เป็นพื้นฐาน โดยหน่วย เอสไออื่น ๆ ที่เรียกว่าหน่วยอนุพันธ์เอสไอ จะเกิดจากการนำหน่วยฐานเอสไอมาประกอบกันทั้งหมด หน่วยฐานเอสไอมีทั้งหมด 7 หน่วยได้แก่ เมตรสำหรับวัดความสั้น กิโลกรัมสำหรับวัดมวล วินาทีสำหรับวัดเวลา

ข้อใดจัดเป็นหน่วยฐาน

หน่วยกำกับทั้ง 7 ในหน่วยฐานในระบบอนุพัทธ์เอสไอ : เมตร ในการวัด ความยาว, มวลสาร หรือน้ำหนัก คือ กิโลกรัม วินาที ในการวัด เวลา, ส่วน แอมแปร์ และ แคนเดลา ทั้งคู่สัมพันธ์กับหน่วยพลังงาน อันประกอบด้วย กระแสไฟฟ้า และ ความเข้มของการส่องสว่าง และ สุดท้ายคือ โมล สำหรับ ปริมาณมวลสาร.

หน่วยฐานมีทั้งหมดกี่ตัว

หน่วยมูลฐาน (Base Unit) คำนิยามที่ได้แปลไว้ต่อไปนี้เป็นคำนิยามหน่วยมูลฐาน 7 หน่วยของ International System of Units (SI) ซึ่งได้กำหนดไว้ใน General Conference on Weights and Measures (Conference Generale des Poids at Mesures, CGPM) ในรูปของภาษาอังกฤษในเอกสาร The International System of Units, HMSO, 1993.

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง