ใครเป็นผู้สร้างวัดอรุณราชวราราม

ภูเขาจำลอง  ตั้งอยู่หน้าวัดทางด้านเหนือ บริเวณหลังศาลารูปเก๋งจีน 3 หลัง เดิมเป็นภูเขาที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่  1 อยู่ในพระบรมมหาราชวัง ต่อมารัชกาลที่  3 โปรดให้นำมาไว้ที่นี่ ภูเขาจำลองมีรั้วล้อมไว้เป็นสัดส่วน  มีตุ๊กตาจีน 2 ตัว นั่งอยู่บนแท่นนอกรั้ว ประตูทางเข้าทำเป็นรูปทหารเรือยืนเฝ้าอยู่  2 คน

�Ѵ��Ш��Ѫ��ŷ�� � ��кҷ���稾�оط��������ҹ�����  ��� “�Ѵ��س�Ҫ������ �Ҫ����������” ���� “�Ѵ��”  ����ͤ��駷����ͧ���ҹ��ç���˹����ѧ˹����Ѫ��ŷ�� �  ����зѺ�ͧ��ҹ�����������Ҫ�ѧ��� ��觸����� ����Ѵ����������Ѻ ����Ҫ�ѧ�������ش�����Ѵ��س�Ҫ������ ���ͧ���ҹ�֧���ô�����  ����ա�ú�ó����ѧ�ó��Ѵ��س� ����ѧ��çŧ��ͻ����蹾�оѡ��� ‘��оط����������Ҫ�š�ҵش�š’  ��л�иҹ㹾�����ʶ ���½վ���ѵ��ͧ���ͧ���ͧ�ա����  �������;��ͧ���ҹ�ç�ʴ����ä� ��к���ѰԢͧ���ͧ�� ��١���һ�д�ɰҹ����������ʶ�Ѵ��س�Ҫ��������觹��

�Ѵ��س�Ҫ������ �Ҫ���������� �繾���������ǧ����͡ ��Դ�Ҫ���������� ���Ѵ��ҳ��������ҧ�ҵ�������¡�ا�����ظ��  �������ҧ��ҹ��ȵ��ѹ���ͧ����������Ҿ����  ��辺��ѡ�ҹ������繼�����ҧ�Ѵ�������ҳ  �����ѡ�ҹ��ҷ���ҡ�����§��� ���Ѵ������ҧ�������¡�ا�����ظ��  ���ҡ�͹�Ѫ������稾�й���³�����Ҫ (�ط��ѡ�Ҫ ����-����)  ������Ἱ������ͧ�����ի�������͡ �� ����ѧ (Claude de Forbin)  �Ѻ��ª�ҧ �� ������ (de Lamare) ��ǽ������ �Ӣ���������ѡ�ҹ��Ѫ�������稾�й���³�����Ҫ  �ա����Ѵ��觹���ѧ�վ�����ʶ��о������âͧ��ҷ�������� �  ����dz˹�Ҿ�л�ҧ�� ����ѹ��ɰҹ����繽���ͪ�ҧ���¡�ا�����ظ��

����˵ط�����¡�����Ѵ����������� “�Ѵ�С͡” ��� ����ҧ�ѹ��ɰҹ������� �������¡����µ�����͵Ӻŷ�����Ѵ ������¹���ժ������ ‘�Ӻźҧ�С͡’  (����͹������¡����Ѻ����� ‘�Ѵ’ 㹵͹�á� �����¡��� ‘�Ѵ�ҧ�С͡’ �����ѧ���§˴ŧ�����¡���� ��� ‘�Ѵ�С͡’) ���������¡�����Ѵ�ͧ��������ҳ  ���Ъ����Ѵ������ԧ�ѡ������� �֧���¡�����Ѵ������͵Ӻŷ����  �������������ա�����ҧ�Ѵ��������ա�Ѵ˹��㹵Ӻ����ǡѹ���  �������֡����㹤�ͧ�ҧ�͡�˭� ��Ǻ�ҹ���¡�����Ѵ������ҧ���� ��� “�Ѵ�С͡�” (㹻Ѩ�غѹ��� �Ѵ��Źô���������)  ����������¡ ‘�Ѵ�С͡’ ����������͹�ҡ��ͧ�ҧ�͡�˭� ��� “�Ѵ�С͡�͡” ��������Һ����繤����Ѵ

�����㹻վط��ѡ�Ҫ ���� ����� ���稾����ҵҡ�Թ����Ҫ  �������稾����ҡ�ا������ �ç�վ���Ҫ���ʧ��������Ҫ�ҹ� �ҵ�� � ��ا������ �֧�ʴ稡�ձҷѾ��ͧŧ�ҷҧ����ä�֧˹��  ‘�Ѵ�С͡�͡’ ��觹����������������س�ʹ� �֧�ç����¹�����Ѵ�С͡�͡  �� ‘�Ѵ��’ ������͹��ó�֧������ʴ��Ҷ֧�Ѵ��������������س���

����;����ҵҡ�Թ����Ҫ�ô��������Ҫ�ҹըҡ��ا�����ظ�� �ҵ�� � ��ا������ 㹻� �.�.���� �����ç���ҧ����Ҫ�ѧ����  �ա�â���ࢵ����Ҫ�ҹ ���˵�����Ѵ�駵�����������ҧ����Ҫ�ѧ �֧�ô�������վ��ʧ������Ӿ����  ��÷������Ѵ�����Ѵ���㹾���Ҫ�ѧ���  ���зç���Ẻ���ҧ����Ҫ�ѧ����¡�ا�����ظ�� ������Ѵ���������ྪ������㹾���Ҫ�ѧ  ��û���ѧ�ó��Ѵ��ҷ���ҡ���������ѡ�ҹ㹾���Ҫ����Ǵ�� ���� ����ѧ�ó������ʶ ��о���������ѧ��ҷ������˹�Ҿ�л�ҧ�� �Ѻ�ô������ҧ��ᾧ����Ҫ�ѧ�ͺ�����Ѵ  ����������Ѻ������Ѵ���㹾���Ҫ�ѧ ������ҡ���¡�����  ��ç��ó����ѧ�ó����͡�����ҧ���㴢�鹺�ҧ

  • Facebook iconFacebook
  • Twitter iconTwitter
  • LINE iconLine

หน้าแรก »» Featured »» อรุณรุ่ง ที่วัดแจ้ง ตอนที่ ๑ หมุดหมายเมืองสำคัญ ของประเทศไทย

   

        หากนึกถึง สถานที่สำคัญ ในประเทศไทย นอกเหนือจากพระบรมมหาราชวัง และวัดพระศรีรัตนศาสดารามแล้ว ภาพของ วัดอรุณราชวราราม ย่อมปรากฎอยู่ในความนึกคิดของทุกคนเมื่อนึกถึง ประเทศไทย เสมอ วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร เป็นวัดสำคัญยิ่งที่มีมาตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยาแล้ว อีกทั้งยังเป็นวัดประจำรัชกาล พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ อีกด้วย

 

วัดอรุณราชวราราม

       หากกล่าวถึงวัดอรุณราชวราราม หลายๆคน มักนึกถึงตำนาน ยักษ์วัดอรุณ และยักษ์วัดโพธิ์ (วัดพระเชตุพนฯ) ตีกัน จนพื้นที่บริเวณวัดพระเชตุพนฯ หรือวัดโพธิ์ บริเวณนั้นราบเรียบเป็นหน้ากลอง จึงทำให้หลายคนเชื่อว่า เป็นที่มาของชื่อ ท่าเตียน ในปัจจุบัน แต่หากไม่ลงในเรื่องตำนานดังกล่าว พื้นที่บริเวณนี้ในสมัยก่อน เคยถูกเพลิงไหม้จนเหี้ยนเตียนไม่เหลือสิ่งใด ซึ่งเหตุการณ์หลังนี้มีความเป็นไปได้กว่ามากสำหรับชื่อท่าเตียนที่เรารู้จักกันดี

 

        วัดอรุณราชวราราม เดิมมีชื่อว่า วัดมะกอก ตามชื่อตำบลที่ตั้ง และเปลี่ยนมาเป็น วัดแจ้ง เนื่องจากครั้งที่  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ได้ถือเอามงคลอุดมฤกษ์ ครั้งเสด็จกอบกู้อิสรภาพคืนกลับมาเป็นของไทย และทรงเสด็จทางชลมารค ล่องมาตามแม่น้ำเจ้าพระยา จนถึงวัดมะกอกในเวลารุ่งแจ้งพอดี …. และอีกมูลเหตุที่มาเกี่ยวกับชื่อวัดแจ้ง ยังมีกล่าวไว้ว่า เป็นวัดที่มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายแล้ว และยังมีชื่อ “แจ้ง” ปรากฎอยู่ในนิราศเมืองเพชรบุรี ซึงแต่งโดยหม่อมภิมเสน กวีราชสำนึกอยุธยา ช่วงรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ โดยกล่าวถึงการล่องเรือจากกรุงศรีอยุธยาไปยังเมืองเพชรบุรี และเมื่อล่องผ่านมายังบริเวณเมืองกรุงธนบุรี ได้แวะค้างคืนที่เมืองกรุงธนบุรีอีกด้วย โดยมีปรากฎชื่อวัดแจ้งเป็นหลักฐานดังนิราศเมืองเพชรบุรีที่เล่าไว้ว่า

แนะนำหนังสือน่าอ่าน ค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม

หนังสือ”ตามรอยสมเด็จพระเจ้าตากสินและขุนนางคู่พระทัย ใครเป็นใครในวันยึดกรุงธนบุรี” เล่มนี้ ได้ถูกรังสรรค์ขึ้นโดยศึกษาวิเคราะห์จากพระราชพงศาวดาร เอกสารทางประวัติศาสตร์ เรื่องเล่าและตำนาน จากลูกหลานของบุคคลผู้เคยสนองพระเดชพระคุณ และมีความใกล้ชิดกับสมเด็จพระเจ้าตากสินในรัชสมัยกรุงธนบุรี เพื่อเป็นการร่วมเฉลิมฉลอง 250 ปี แห่งการประกาศเอกราชของสมเด็จพระเจ้าตากสิน

<< สั่งซื้อหนังสือ ทางออนไลน์ >>

 

 

บอกลารองเท้าเปียก ไปได้เลย !!! ถุงคลุมรองเท้ากันน้ำ ลุยน้ำ ลุยโคลน ตลุยฝน

SHOE COVER :  ผลิตจาก พลาสติกpvc คุณภาพดี กันน้ำ พื้นถุงคลุมเป็นยาง ไม่ลื่น เกาะพื้นแน่น ขอบด้านบนมีสายรูดแบบลอค กันน้ำเข้า ช่วงซิปมีพลาสติกอีกชั้นด้านในกันน้ำไหลเข้าช่วงซิป

ดูรายละเอียดเพิ่ม

“.. ถึงตัวไกลใจน้องยังผูกพัน จนไก่ขันกระชั้นเร่งรวีวร

เขาแจวเรือมาจอดหน้าวัดแจ้ง แรงี้อนข้อนคิดขุ่นสมร

ประทับร้อนระทมอารมณ์ร้อน แต่ถอดทอนใจหาทุกนาที ..”

 

     ลักษณะทางด้านสถาปัตยกรรมของพระปรางค์แต่เดิมนั้น ไม่ได้สูงใหญ่ หรือมีขนาดพระปรางค์ใหญ่โตเช่นปัจจุบัน แต่วัดแจ้ง ก็นับได้ว่าเป็นวัดหลวงที่สำคัญ เนื่องด้วยใน สมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงสร้างอาณาจักรกรุงธนบุรีขึ้น มีพระราชวังเดิม และวัดแจ้งอยู่เคียงข้างกัน เป็นวัดหลวงประจำอาณาจักรกรุงธนบุรีที่สำคัญ อีกทั้งยังเคยเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร หรือ พระแก้วมรกต และพระบาง ซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ ๑ ในขณะนั้น ทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ได้ไปสู้รบกับนครเวียงจันทน์ และได้ชัยชนะกลับมา พร้อมได้อัญเชิญพระแก้วมรกต กลับคืนสู่แผ่นดินสยาม รวมถึง พระบาง พระคู่บ้านคู่เมืองของทางอาณาจักรล้านช้างมาประดิษฐานด้วย วัดอรุณราชวราราม จึงเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปสำคัญถึง ๒ องค์

 

     เดิมทีในสมัยรัชกาลที่ ๒ วัดนั้น มีนามตามปรากฎว่า วัดอรุณราชธาราม ตามนามพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ เมื่อครั้งทรงโปรดให้บูรณะ ปฏิสังขรณ์วัดใหม่ แต่ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ ทรงโปรดให้เรียกขานใหม่ เป็น วัดอรุณราชวราราม จนถึงปัจจุบัน

 

 

       งานสถาปัตยกรรม วัดอรุณราชวราราม นับได้ว่ามีความโดดเด่น เป็นศรีและความสง่างามแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ที่ควรค่าแก่การเรียนรู้ ด้วยการก่อสร้างงานสถาปัตยกรรมชิ้นเอกอุ ดังเช่น พระปรางค์ และพระเจดีย์บริวาร มีนัยสอดคล้องกับเรื่องของไตรภูมิกถา คือ เป็นงานสถาปัตยกรรมที่สื่อถึง เขาพระสุเมรุ ทวีปทั้ง ๔ และเขาสัตตบริภัณฑ์

 

 

      ความหมายอันลึกซึ้งนี้ มีความสำคัญมากกว่า แค่ความสวยสง่างามเท่านั้น แต่ยังมีความเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาได้อย่างแยบยล อีกด้วย หากแค่ไปวัดเพียงเพื่อทำบุญ ปล่อยนกปล่อยปลา ย่อมอาจจะไม่เข้าใจลึกซึ้งถึงนัยของภูมิสถาปัตย์ของที่นี่อย่างแน่นอน และน้อยคนนักจะทราบถึงรูปแบบ ที่มา การก่อสร้าง และสิ่งสำคัญที่ประดิษฐานอยู่ในวัด รวมถึงภูมิปัญญาเชิงช่างไทยที่ผสมผสานรูปแบบศิลปะไทยและจีนเข้าด้วยกันอย่างกลมกลืน

 

พระปรางค์เจดีย์ขนาดใหญ่ความสูง

๘๑.๘๕ เมตร

           เมื่อเราก้าวเท้าเข้าไปในเขตพุทธาวาส ของวัดอรุณราชวราราม สิ่งที่โดดเด่นตระการตาที่สุด คือ พระปรางค์เจดีย์ขนาดใหญ่ความสูง ๘๑.๘๕ เมตร นับจากฐานจนถึงยอดพระปรางค์ นับเป็นความสูงของพระปรางค์ที่สูงที่สุดในประเทศไทยและในโลก พระปรางค์วัดอรุณราชวราราม มีรูปแบบที่เรียกว่า พระปรางค์ทรงจอมแห ที่มีความสมส่วน แม้จะมีขนาดใหญ่โต แต่งดงามและได้สัดส่วนสมมาตรอย่างลงตัว ที่ได้ชื่อว่าทรงจอมแหนั้น เพราะขอบนอกของโครงสร้างพระปรางค์ตั้งแต่บริเวณฐานขึ้นไป มีลักษณะคล้ายกับการทิ้งแหนั่นเอง ทำให้ความงดงามเมื่อเราเดินชมพระปรางค์โดยรอบจะเห็นได้ชัดถึงความสมส่วนอย่างไร้ที่ติ คงมีหลายๆ คนน้้นสงสัยว่าพระปรางค์ขนาดสูงใหญ่เช่นนี้ มีฐานรากหรือโครงสร้างอย่างไรในการรับน้ำหนัก

อ้างถึงข้อเขียน และคำบอกเล่าจาก ขุนวิจิตร มาตรา หรือ สง่า กาญจนนาคพันธุ์ ผู้เขียน เด็กคลองบางหลวง ได้เล่าไว้ว่า …..

 

” ในการสร้างฐานรากของพระปรางค์นั้นใช้ท่อนซุงมากกว่า ๒๐ ต้น ในการวางซ้อนกันไปมา โดยในเริ่มแรก คือ การขุดดินให้ลึกลงไปแล้วนำต้นซุงขนาดใหญ่นับ ๒๐ ต้น วางเรียงซ้อนกันเป็นชั้นสลับขวางไปมา ราว ๔-๕ ชั้น เพื่อสร้างความมั่นคงและแข็งแรงให้ฐานราก การสร้างฐานรากเช่นนี้นับเป็นภูมิปัญญาไทยโบราณในงานสถาปัตยกรรมโดยแท้ ซึ่งไม่ได้มีเพียงโครงสร้างฐานรากของพระปรางค์วัดอรุณราชวรารามตามคำบอกเล่าที่คุณสง่าได้เล่าไว้ในหนังสือที่ท่านเขียนมาเท่านั้น แต่ยังมีรูปแบบโครงสร้างเช่นนี้ที่ได้ขุดพบเจอครั้งบูรณะซ่อมแซมในสถานที่สำคัญอื่นๆ เช่นกัน อาทิ เช่น พระวิหารวัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหาร ริมแม่น้ำเจ้าพระยา บรมบรรพตภูเขาทอง วัดสระเกศฯ หรือ แม้แต่คุ้มเจ้าหลวง อายุกว่า ๑๐๐ปี ที่จังหวัดแพร่”

 

 

      ลักษณะทางสถาปัตยกรรมที่โดดเด่นของพระปรางค์ ที่เกี่ยวข้องกับคติ ความเชื่อในการสร้างเป็น Landmark หรือ จุดหมายตา สอดคล้องกับคติความเชื่อในการสร้างบ้านสร้างเมืองครั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีอีกด้วย นั่น คือ การสร้างริมแม่น้ำเจ้าพระยา เฉกเช่นเดียวกับ การสร้างวัดไชยวัฒนาราม ที่มีขนาดใหญ่โต และมีทำเลที่ตั้งริมแม่น้ำเจ้าพระยาเช่นกัน ทำให้การเดินเรือ การส่งสินค้า การค้าการขายซึ่งส่วนใหญ่มาทางเรือนั้น ได้เห็นพระปรางค์ขนาดใหญ่เป็นสำคัญ และเป็นหลักเป็นหมายตาที่ชัดเจนว่าเดินทางถึงจุดหมายแล้ว

       พระปรางค์ประธานของวัดอรุณราชวราราม ยังมีความโดดเด่น มีลักษณะเป็นพระปรางค์เก้ายอด คือ มีเรือนยอดบนสันหลังคามุขทั้งสี่ทิศ และมีปรางค์บริวารหรือปรางค์มุมอีกทั้งสี่มุม ซึ่งยังสอดคล้องกับคติความเชื่อในการสร้างพระปรางค์ขนาดใหญ่เหมือนที่จ.พระนครศรีอยุธยา อีกด้วย นั่นคือ พระปรางค์วัดพระมหาธาตุ หากแต่ปัจจุบันความยิ่งใหญ่ของพระปรางค์วัดมหาธาตุ จ.พระนครศรียุธยา ได้สูญสิ้นเสียแล้ว เพราะพังทลายมาเสียก่อน หากไม่แล้ว เราจะได้เห็นความยิ่งใหญ่ของสถาปัตยกรรมงานศิลป์อยุธยา และภูมิปัญญาเชิงช่างที่น่าสนใจไม่แพ้กัน

  จากที่กล่าวมาก่อนหน้า ถึงนัยในการสร้างพระปรางค์วัดอรุณราชวรารามนั้นมีความเชื่อในเรื่องพุทธศาสนา ด้วย พระปรางค์ประธาน สื่อถึง เขาพระสุเมรุ ฐานโดยรอบอยู่ในกลุ่มเขาสัตตบริภัณฑ์ และรายล้อมไปด้วยทวีปทั้งสี่ ในทีนี้คือ พระปรางค์ทั้งสี่มุม ซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยของทั้งมนุษย์ สัตว์ป่าหิมพานต์ เทวดา ฯลฯ ความยิ่งใหญ่ในการสร้างพระปรางค์ประธานนั้น มีทีมาจากพระราชศรัทธาในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ ที่ทรงเห็นว่าเมื่อย้ายมาตั้งกรุงใหม่เป็นกรุงรัตนโกสินทร์ พระนครนั้นยังหาได้มีพระมหาธาตุขนาดใหญ่ จึงทรงมีพระราชดำริให้สร้าง/ ต่อเติม พระปรางค์วัดอรุณราชวรารามจากเดิมที่สูงเพียงแค่ ๘ วา ให้ยิ่งใหญ่ขึ้น สมกับเป็นพระมหาธาตุสำหรับพระนคร มีคำปรากฎอยู่ในหนังสือตำนานวัตถุสถานต่างๆ ที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ ทรงสถาปนาว่า

“….. พระปรางค์วัดอรุณ เปนของโบราณ ของเดิมสูง ๘ วา ในรัชกาลที่ ๒ เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยโปรดฯ ให้ปฏิสังขรณ์วัดอรุณ ทรงพรนะราชดำริว่าพระปรางค์เดิมยังย่อมอยู่ กรุงรัตนโกสินทร์ได้ตั้งขึ้นเปนราชธานี ยังหามีพระมหาธาตุไม่ ควรจะเสริมพระปรางค์วัดอรุณให้ใหญ่เปนพระมหาธาตุสำหรับพระนคร ”

 

พระปรางค์วัดอรุณฯ ได้รับการบูรณะ เรื่อยมา

 

     ถึงแม้ว่ารูปแบบในการบูรณะในช่วงสมัยรัชกาลที่ ๒-๔ ไม่ได้มีกล่าวไว้ แต่ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ซึ่งเป็นการบูรณะครั้งใหญ่อีกครั้งก็ทำให้เราสามารถเข้าใจและเข้าถึงลักษณะทางสถาปัตยกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเปรียบปรางค์ประธานเป็นเขาพระสุเมรุ ได้พอสังเขปดังนี้

 

 

   พระปรางค์ประธาน: เป็นสัญลักษณ์ตัวแทนแห่งเขาพระสุเมรุ ดังมีองค์ประกอบทางศิลปกรรมที่น่าสนใจ คือ ประติมากรรมรูปพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ บริเวณซุ้มจระนำที่เรือนธาตุขององค์พระปรางค์ทั้ง ๔ ทิศ ซึ่งประติมากรรมดังกล่าวนี้ คือ สัญลักษณ์ของสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ที่ประทับของพระอินทร์ และยอดพระปรางค์ซึ่งประดับด้วยนภศูล ที่มีลักษณะเป็นอาวุธของพระอินทร์ ซึ่งก็มีความหมายสื่อถึงพระอินทร์ได้เช่นกัน   

  ฐานพระปรางค์: คือ บริเวณเชิงเขาพระสุเมรุ โดยปรากฎองค์ประกอบทางศิลปกรรม ได้แก่ เทวดาแบก ยักษ์แบก ฯลฯ เรียงรายกันขึ้นไปตามชั้นราวๆ ๔ ชั้น

  • พระปรางค์ทั้ง ๔ ทิศ: คือ บริเวณเขาสัตตบริภัณฑ์ ตัวแทนทวีปทั้งสี่ ได้แก้ ชมพูทวีป อุตตรกุรุทวีป บุพวิเทหะทวีป และอมรโคยานทวีป
  • มณฑปทิศ: คือ จตุโลกบาลทั้ง ๔ บนสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกา โดยในอาคารทั้ง ๔ องค์ เป็นที่ประดิษฐานของพระพุทธรูปแสดงพุทธประวัติ ตั้งแต่ ประสูติ ตรัสรู้ ปฐมเทศนา และปรินิพพาน
  • ลานรอบพระปรางค์: คือ มหานทีสีทันดร

 

   เห็นได้ชัดว่าการมาเที่ยว วัดอรุณราชวราราม นอกจากจะได้ร่วมกิจกรรมงานบุญแล้ว ยังมีความหมายที่ลึกซึ้งเกี่ยวพันกับหลักพุทธศาสนา ตามไตรภูมิกถาอีกด้วย และหากต้องการทำความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในลักษณะสถาปัตยกรรมเชิงหลักพระพุทธศาสนาดังนี้แล้ว วรรณกรรมศาสนาพุทธที่สำคัญมากเล่มหนึ่ง เช่น ไตรภูมิกถา, ไตรภูมิพระร่วง หรืออีกชื่อว่าไตรภูมิโลกวินิจฉัย วรรณกรรมครั้งสมัยกรุงสุโขทัย และต่อเนื่องมาถึงการชำระครั้งสำคัญในสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี คือ สิ่งที่ควรทำความเข้าใจและศึกษาเป็นอย่างมาก หากเข้าใจลึกซึ้ง ภาพงานสถาปัตยกรรมของพระปรางค์วัดอรุณราชวรารามแห่งนี้ จะเป็นสิ่งที่ง่ายต่อการรับรู้และและภาพคติธรรมทั้งหมดจะแจ่มแจ้งและชัดเจนขึ้นในสามัญสานึกของผู้เรียนรู้อย่างประมาณการมิได้เลย

ผู้สนับสนุน

กระเป๋าเป้เดินทาง รุ่น BXL4 หน้าสายหนัง ความจุที่ไม่ธรรมดา 50 L

เดินทาง 4-5 วัน #ฟังก์ชันครบเครื่อง #สายคุมโทน

 

 

นอกจากจะต้องทำความเข้าใจในเรื่องดังกล่าวแล้ว สิ่งประกอบอันน่าสนใจภายในวัดก็มีความน่าชมและน่าเรียนรู้เช่นกัน

 

ในครั้งหน้าฉันจะพาทุกท่านไปเที่ยวและเรียนรู้วัดอรุณราชวรารามให้มากกว่าการแค่มาเยี่ยมชมพระปรางค์ประธาน ความสวยงามเชิงช่างสมัยกรุงศรีอยุธยาและต้นกรุงรัตนโกสินท์ อีกทั้งเรื่องราว น่าสนใจมีให้ติดตามอ่านในตอนหน้าค่ะ

ใครเป็นคนสร้างวัดอรุณ

1. วัดอรุณฯ เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร หมายถึงพระอารามที่พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระราชินี สมเด็จพระยุพราช ทรงสร้างหรือปฏิสังขรณ์เป็นการส่วนพระองค์ ตั้งอยู่แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ

วัดอรุณสร้างยังไง

วัดอรุณราชวราราม เป็นวัดโบราณสร้างตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา เดิมเรียกว่า ” วัดมะกอก ” แล้วเปลี่ยนมาเป็น “ วัดแจ้ง ” ในสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ต่อมาสมัยรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระพุทธ-เลิศหล้านภาลัย ได้ทรงบูรณะปฏิสังขรณ์ใหม่แล้วพระราชทานชื่อใหม่ว่า “ วัดอรุณราชธาราม ” ถึงรัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่ ...

ใครบูรณะวัดอรุณ

พลเรือเรือตรี พระยาราชสงคราม (กร หงสกุล) ผู้ทำงานถวายในการบูรณะพระปรางค์วัดอรุณราชวรารามเป็นบุตรพระยาราชสงคราม (ทัด หงสกุล) เกิดเมื่อวันจันทร์ที่ ๑๖ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๐๖ ขึ้น ๖ ค่ำเดือน ๑๒ ปีกุน ในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔

วัดอรุณราชวรารามสร้างขึ้นในปีอะไร

พระปรางค์วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร
สถาปัตยกรรม
สถาปัตยกรรมไทย
เมือง
แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร
ประเทศ
ประเทศไทย
เริ่มสร้าง
ปรางค์เดิม: ไม่ทราบปีสร้างแน่ชัด แต่คาดว่าราวสมัยกรุงศรีอยุธยา ปรางค์ปัจจุบัน: 2 กันยายน พ.ศ. 2385
พระปรางค์วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร - วิกิพีเดียth.wikipedia.org › wiki › พระปรางค์วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารnull

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง