เพราะเหตุใดจึงต้องมีการบรรเลงเพลงโหมโรง

1. �����ٴ������ ���� ���֡�֧����Ҩ���� ෾´� ����ѡ����Է��������� �ѭ�ԭ�һ���ͧ������ͧ����ú���ŧ���Ф��駻��ʺ���������

2. ���������������ͧ�ѡ����� ���͹ѡ������Դ�ѡ��㹡�ú���ŧ ����ͺ���ŧ�ŧ���仨к���ŧ���Һ��蹢��

3. ��С����Ң�й���էҹ���� ����ͺ���ŧ�ŧ����ç ���������㹺���dz�����§�з�Һ�ѡɳЧҹ �ҡ���§����շ�����Թ

4. ��餹��ͧ�Թ�Ѻ���§����� ����ö�����§ŧ���ͧ����ç���е�ͧ�Ѵ ŧ�����ŧ “��” ��й�����º���§㹡�â����ͧ�ŧ������

5. ���������ͧ���������������к���ŧ�ŧ���� �� �ó����§���¹ ���鵡�� ������ ������§������¹

�ŧ����ç�������ѡɳ� �ժ������¡੾�� �� ����ç��� ����ç��� ����ç��� ����ç⢹�Ф� ����ç���� ����ç����� �ŧ����ç����դ���ᵡ��ҧ㹡�����ŧ����ç���¡ѹ�����ŧ�ش����ç ��� �ش����ç��� ������ŧ�����ŧ� 1 �ش

������ҧ�ŧ�ش����ç������ŧ��ҧ � �ѧ���
1. �Ҹء��
2. �������ç (˭�һҡ�͡)
3. ��������
4. �������ҹ
5. �����ҹ
6. ���
7. ���»��
8. ��
9. ����
10. ���������
11. �Դ��ͧ
12. ���
13. �ӹҭ
14. �����

������ҧ�ѡɳ��ŧ����ç ��Դ��ҧ �

1. ����ç��� �����ŧ㹧ҹ���žԸյ�ҧ � ��觨��բ��㹵͹��� �� �ҹ������ѡ�ѹ�����ѭ��� �ҹ�Ǵ������繩ѹ��� ��÷Ӻح����§��� �ŧ������ŧ �� 5 �ŧ ���� �Ҹء�� ���� ��� ��� �ӹҭ

2. ����ç��ҧ�ѹ ������ç����Դ��鹨ҡ���ླա���ʴ� ���ʾ�������ҳ ����繡���ʴ���ҧ�ѹ �����������ʴ��������������� ����Ͷ֧�������§�е�ͧ��ش�ѡ��ҧ�ѹ ����������Ф���м�����ŧ����� ��ʹ����������ҹ����ʴ���� ����ش�ѡ����Ѻ��зҹ����á�ҧ�ѹ ����ç��ҧ�ѹ ��Сͺ�����ŧ ����� �Դ �غ �� ��кͧ�ѹ ���͢�����ط� �Դ�ҹ ��١ ����� ������� �ء�� ��� ���� ��� ��

3. ����ç��� ���ŧ �ش��������ŧ㹵͹��繢ͧ�ҹ ��ù����������Ǵ��� 㹡��������ҹ���ŵ�ҧ � ��Сͺ�����ŧ�ش����� 12 �ŧ �Ҹء�� �������ç �������� �鹪غ �����ҹ ��� �� ���� ��� �Դ ��� �ӹҭ ����� �鹪غ

4. ����ç���� �Դ��鹤����á� �����Ѫ��ŷ�� � ��觡�ا�ѵ���Թ��� ����ա�ù���һ��ҷ���Һ���ŧ��Сͺ��âѺ���� �������ç�������ѡɳ����ǡѹ�Ѻ����ç ��͹����ʴ��Ф� ��� ���ҷ��к���ŧ˹�Ҿҷ��ش��ҧ� ����з�觶֧�ŧ�����Ǩ֧���������ʴ� ������������������������ҡ �����ŧ �ŧ�� �ŧ���� �ҡ��鹡�����¹�����ŧ��ѵ���ͧ�����������鹵���������� ����ѧ�ִ��͡ѹ��� ��ͧ�����·ӹͧ�͹���¢ͧ�ŧ�� �͡�ҡ��� �ѧ��˹�������ŧ �ŧ��� ������¡�ѹ�����ѭ��� ��ǻ���ͧ���� ���Ǩ֧����ŧ�ŧ����ç

�ŧ����ç���Ҫش����� 2 �ŧ���

1) �ŧ��ǻ���ͧ���� ���ŧ��� � �����������ͧ�ͧ�ѡ�����������͵�Ǩ�������º���¢ͧ����ͧ����� �͡�ҡ����������ѧ���������� ��͹���пѧ�ŧ����ç��ҹ � ��ŧ����

2) ����ŧ����ç���� ���ŧ����� � �� �ŧ������ �кѴ�к�� �������á��� ���ͨ���� 2 - 3 �ŧ�Һ���ŧ�Դ��͡ѹ�繪ش��� � ���� ����Ӥѭ�ŧ����ç����ҹ��е�ͧŧ���´����ŧ������

�ѡ���¹�����������ŧ�·ء�ŧ����觢���ըش�����������Ƿҧ ����ŧ���ᵡ��ҧ�ѹ� �Ҩ�����ͤ���ʹءʹҹ ���������ʴ���������ö�ͧ������ŧ �������ͻ�Сͺ㹡Ԩ������� � �������͵�ͧ��ÿѧ�������ó�Ẻ ��д����˵ع�����оѹ���ŧ�֧��������оѹ�캷�ŧ����շ�ǧ�ӹͧ��� ���Ңͧ�ŧ仵���ش������¹�� � ����

ครั้งหนึ่งสมัยเมื่อยังเป็นเด็กประมาณอายุได้ 10 ขวบ จำได้ว่าพอตกถึงเวลาโพล้เพล้ใกล้ค่ำทุกยามเย็น จะได้ยินเสียงกลองตีดังแว่วมาให้ได้ยินเป็นประจำ

เป็นเสียงกลองที่ตีดังบ้าง ค่อยบ้าง บางทีก็เร็ว บางทีก็ช้า คล้ายกับเหมือนจะเตือนให้คนที่ได้ยินได้นึกถึงอะไรบางอย่าง

เสียงกลองดังกล่าวดังแว่วมาจากเชิง “สะพานพลอย” ที่อยู่ใกล้ชิดติดกับ “ตลาดนกกระจอก” ใกล้กับหมู่บ้าน “กุฎีจีน” เชิงสะพานพระพุทธยอดฟ้าฝั่งธนฯ

ไม่ทราบแน่ชัดว่าสะพานกับตลาดดังกล่าวยังดำรงสถานภาพที่ใช้ได้อยู่หรือไม่ในปัจจุบัน

แต่ที่ยังไม่ลืมคือเสียงกลองตุ้มทุ้มที่ยังแว่วอยู่เสมอทุกครั้งที่ความคิดพาให้นึกไปถึง ด้วยว่าเป็นเสียงกลองจากโรงลิเกเอกชนที่เปิดการแสดงทุกหัวค่ำในยามเย็น

ผู้ใหญ่ในละแวกนั้นเคยบอกว่า “เขาตีกลอง โหมโรง”

จนกระทั่งเดี๋ยวนี้แล้ว แม้จะไม่ได้ยินเสียงกลองดังกล่าวนั้นมานานหลายสิบปี

แต่คำที่ผู้ใหญ่บอกว่า “โหมโรง” นั้นยังได้ยินติดหูอยู่ในความจำมิรู้เลือน

โหมโรง กับ เบิกโรง สองคำนี้มีความคล้ายคลึงกันทั้งตัวสะกดและความหมาย

เบิกโรง คือการแสดงก่อนดำเนินเรื่อง ดังที่เคยเรียกการรำไทยชนิดหนึ่งว่า “รำเบิกโรง” เป็นนัยว่าหลังจากการรำเบิกโรงนี้แล้ว จะเป็นการแสดงละครหลัก ละครเรื่องที่ผู้ชมกล่าวถึงและตั้งใจมาชมกันจริงๆ แม้จะมีเสียงดนตรีประกอบเป็นจังหวะสอดแทรก ก็เป็นเพียงการคลอกำกับการรำเท่านั้น

โหมโรง เป็นการประโคมดนตรีช่วงต้นของการแสดง เพื่อเป็นการซักซ้อมและเชิญชวน (ดังเช่นเสียงกลองที่เคยได้ยินตอนเด็กที่เอ่ยถึง) เป็นเพลงเริ่มต้นของการแสดงหรือเป็นลักษณะของเพลงเพื่อบรรเลงช่วงต้นของการแสดง เพื่อบอกให้ทราบว่า พิธีหรืองานการแสดงนั้นได้เริ่มต้นขึ้นแล้ว

หรืออีกนัยหนึ่ง โหมโรง ต้องมีการแสดงดนตรี

ทว่า เบิกโรง ไม่ต้องมีดนตรีเป็นสาระ ถือว่าเรื่องรำสำคัญกว่าเรื่องเพลง

ในวัฒนธรรมตะวันตก มีละครร้องชั้นสูงที่ถือเป็นยอดของงานศิลปะ ที่รวมศิลปะแขนงต่างๆ ไว้ด้วยกัน นอกจากเนื้อหาที่เข้มข้นทางดนตรีและความสามารถในการขับร้อง ที่ต้องมีการแสดง การแต่งเวที การออกแบบเสื้อผ้าและเทคนิคพิเศษอื่นๆ มีวงดุริยางค์กับผู้อำนวยเพลงบรรเลงไปพร้อมกับนักร้องบนเวที

ละครร้องดังกล่าวคือ อุปรากร (opera) ที่ไม่ใช่ละครร้องธรรมดา แต่เป็นแบบคลาสสิค ที่โลกตะวันตกทั่วไปถือกันว่าเป็นศิลปะชั้นสูง

โดยเฉพาะอย่างยิ่งอิตาลีซึ่งเป็นถิ่นกำเนิด ที่เมืองเวนิสของอิตาลีมีโรงละครเวทีขนาดใหญ่ มีที่นั่งบรรจุผู้ชมนับพัน เรียกว่าหอแสดงอุปรากร (Opera House) ชื่อ เตอาโตร ซัน คัสซีอาโน (Teatro San Cassiano) สร้างเมื่อ ค.ศ.1637 หรือ พ.ศ.2180

ที่เอ่ยถึงอุปรากรขึ้นมา ก็เป็นเพราะว่า ถ้าไม่มีอุปรากรก็จะไม่มีโหมโรงดังที่จั่วหัวเรื่องเอาไว้

อุปรากรเรื่องที่มีคนดูผู้ชมมากก็ต้องมีการซื้อบัตรผ่านประตู บ่อยๆ ครั้งมีการเบียดเสียดแย่งที่นั่งกันเป็นที่วุ่นวายพร้อมทั้งมีเสียงพูดคุยสนทนากันอย่างไม่จบสิ้น

ดังนั้น ก่อนจะเริ่มการแสดงจริงบนเวที จึงต้องมีการบรรเลงดนตรีก่อนที่ละครจะลงโรง เพื่อเป็นการฆ่าเวลาให้ผู้ชมที่ยังพูดคุยกันและยังเข้าที่นั่งไม่เรียบร้อย ได้จัดการที่นั่งของตนและหยุดการสนทนาที่ไม่จำเป็น

ดนตรีที่บรรเลงดังกล่าวเรียกได้ว่าเป็นการบรรเลงก่อนเวลา เป็นดนตรีโหมโรงแบบสั้นๆ ซึ่งไม่ใช่ดนตรีเพลงสำหรับฟังและคนก็ไม่ค่อยจะฟัง

ดังนั้น ดนตรีประเภทโหมโรงจึงมีกำเนิดเป็นดนตรีก่อนเวลา ตัวอย่างเช่น ดนตรีก่อนอุปรากรของ จูเซปเป แวร์ดี (Giuseppe Verdi) ค.ศ.1813-1901 คีตกวีผู้ใหญ่อิตาเลียนซึ่งอยู่ในช่วงระยะเวลาเดียวกับรัชสมัยของรัชกาลที่ 2-5 ของกรุงรัตนโกสินทร์

ดนตรีบรรเลงดังกล่าวในสมัยนั้นเรียกว่า ดนตรีแบบ (toccata) หรืออินตราดา (intrada) หรือโซนาตา (sonata) ที่มีความหมายว่า “เรียกความสนใจ” หรือ “ท่อนนำ” หรือการแสดงเสียงดนตรีพร้อมกันที่เรียกอีกอย่างหนึ่งได้ว่าเป็น ซินโฟเนีย (sinfonia) เป็นกลุ่มเครื่องเป่าทรัมเป็ต ได้ยินดังพร้อมๆ กันสั้นๆ เพียงสองสามวินาที ก่อนจะค่อยๆ เข้าสู่แบบแผนทีละน้อย

ผู้ชมค่อยๆ เงียบเสียงลงแล้วออเคสตราบรรเลงเบาๆ ก่อนเพื่อเรียกความสนใจโดยใช้ประโยคสั้นๆ ก่อนจบ

ซึ่งต่อมาภายหลังจึงเรียกเป็นศัพท์เทคนิคว่า โอเวิร์ตเชอร์ (Overture) หรือดนตรีโหมโรง

ดนตรีหรือเพลงโหมโรงมีมาแต่โบราณนับได้หลายร้อยปี ก่อนที่จะมาเป็นโหมโรงในปัจจุบันนั้น ที่สำคัญมีสองประเภทคือ โหมโรงฝรั่งเศส (French Overture) กับโหมโรงอิตาลี (Italian Overture)

แม้จะมีในรูปแบบ 3 ท่อน (movements) เหมือนกันก็ตาม แต่ลักษณะความเร็วของแต่ละท่อนนั้นไม่เหมือนกัน

แบบของโหมโรงฝรั่งเศสใช้ลีลาแบบ ช้า-เร็ว-ช้า

สำหรับแบบของอิตาเลียนคือ เร็ว-ช้า-เร็ว

โดยที่ทั้งสองประเภทต่างก็มีพัฒนาการมายาวนานหลายร้อยปีด้วยกัน

สำหรับไทยเรามีดนตรีที่บรรเลงเกี่ยวกับชีวิตของชาวไทย อันเป็นประเพณีที่ปฏิบัติในพิธีต่างๆ ตั้งแต่เกิดจนตาย มีพิธีต่างๆ เกี่ยวข้องกับดนตรีโดยมาก พิธีที่ต้องบรรเลงดนตรีอันเกี่ยวกับชีวิตนี้ สามารถแยกออกเป็นพระราชพิธีในส่วนของหลวงของพระเจ้าแผ่นดินและพิธีของประชาชนข้าแผ่นดินทั่วไป

สำหรับการบรรเลงเกี่ยวกับการแสดงต่างๆ อาจารย์มนตรี ตราโมท ได้กล่าวถึงการบรรเลงประกอบการแสดงว่า มหรสพของไทยภาคกลางมีอยู่มากมายหลายอย่าง

แต่ที่ถือว่าเป็นการแสดงที่เป็นแบบแผนเป็นหลักของนาฏศิลป์จริงๆ ก็คือ โขน ละคร ซึ่งดนตรีที่บรรเลงประกอบต้องใช้วงปี่พาทย์ทั้งสิ้น โดยจะต้องเริ่มต้นด้วยการโหมโรงก่อนทั้งนั้น

การโหมโรงถือว่าเป็นสิ่งสำคัญอย่างหนึ่งของการแสดง เพราะโหมโรงจะทำให้รู้ว่าการแสดงนั้นๆ จะได้มีการแสดงขึ้นแล้ว ณ บัดนี้ กับได้ประกาศให้ผู้ที่อยู่ไกลได้ทราบด้วยว่า ที่นี่มีการแสดงและกำลังจะเริ่มขึ้นแล้ว เพราะว่าเพลงโหมโรงนั้นประกอบด้วยกลองทัดซึ่งทำให้ได้ยินไปได้ในระยะไกล

ทวีสิทธิ์ ไทรวิจิตร บอกไว้ในเรื่องสังคีตนิยมดังนี้ว่า เพลงโหมโรงหมายถึงเพลงที่ใช้ประโคมเบิกโรงหรือเพลงที่เราเล่นนำก่อนการแสดงจริง เพื่อบอกให้ชาวบ้านทราบว่าที่นี่เขามีอะไรกัน

นอกจากนั้น เป็นการอัญเชิญเทพยดาและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายมาชุมนุมกัน เพื่อเป็นสิริมงคลแก่งานนั้น นอกเหนือไปจากการรำลึกถึงครูบาอาจารย์ที่ได้ประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้ให้

และ จารุวรรณ ไวยเจตน์ ได้บอกแถมไว้ในพื้นฐานอารยธรรมไทยว่า การโหมโรงยังเป็นการตรวจความเรียบร้อยของเครื่องดนตรีก่อนแสดงอีกด้วย

นอกจากโหมโรงโขน ละคร แล้ว เพลงโหมโรงของไทยยังมีชนิดต่างๆ อีกหลายชนิด เช่น โหมโรงปี่พาทย์ โหมโรงเสภา ฯลฯ เป็นต้น

ทั้งหมดที่กล่าวมาตั้งแต่ต้นจนกระทั่งถึงบรรทัดหนังสือนี้ คงจะได้รำลึกถึงความแตกต่างของโหมโรงตะวันตก (Overtrue) กับโหมโรงตะวันออก โดยเฉพาะอย่างยิ่งของประเทศไทย ซึ่งจะยังคงดำรงไว้ให้อยู่คู่กับนาฏศิลป์ไทยอีกต่อไปนานเท่านาน

จุดประสงค์ของการบรรเลงเพลงโหมโรงคือข้อใด

เพลงโหมโรงหมายถึงเพลงที่ใช้เบิกโรง เพื่อเป็นการประกาศให้ผู้คนทราบว่าที่นี่มีงานอะไร และเพื่ออัญเชิญเหล่าสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายทั้งปวงให้มาชุมนุมในงานเพื่อความเป็นสิริมงคลในงานนั้นอีกด้วย

เมื่อมีงานกิจกรรมต่าง ๆ เหตุใดจึงต้องบรรเลงเพลงโหมโรงเป็นอันดับแรก

เพลงโหมโรงพิธีกรรมหรือโหมโรงชุดที่ใช้บรรเลงในงานมงคลหรือใช้บรรเลงก่อนการแสดง ต่างๆ นั้น เพื่อเป็นการอัญเชิญสิ่งศักดิ์สิทธิ์ บรมครู และเทพยดาทั้งปวง ให้ลงมาประชุมสโมสร ประสิทธิ์ประสาทพร เกิดสิริมงคลในพิธีนั้น ปรากฏดังตัวอย่างเพลงชุดโหมโรงเย็น ซึ่งในแต่ละ เพลง มีความหมายดังต่อไปนี้

การบรรเลงเพลงโหมโรงจะใช้เพลงใด

โหมโรงโขนเย็น ใช้เพลงดังนี้ ตระสันนิบาต เข้าม่าน ลา กราวใน เชิดและกราวรำ โหมโรงเสภา ใช้ประกอบการขับเสภา โดยบรรเลงสลับกับการขับเสภา โหมโรงชุดนี้มี 2 เพลง คือ รัวประลองเสภา ใช้เพืออุ่นเครื่องนักดนตรี ก่อนที่จะขับเสภาในลำดับต่อไป เพลงโหมโรงเสภา เป็นเพลงเดี่ยวนำมาบรรเลงเป็นชุดสั้น ๆ เช่น อัฐมบาท จุฬามณี แขกมอญ พม่าวัด ฯลฯ

เพลงโหมโรงมีเครื่องดนตรีอะไรบ้าง

รวมเครื่องดนตรีไทยที่ใช้ในการบรรเลงในวงมโหรี 9 ชนิดเครื่องมือด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นฆ้องวงใหญ่ ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ฆ้องวงเล็ก ซอด้วง ซออู้ จะเข้ ขลุ่ยเพียงออ และระนาดทุ้มเหล็ก ในเล่มได้ให้เนื้อหาของเครื่องดนตรีแต่ละชนิดชัดเจน ทั้งลักษณะ ภาพแสดงการเล่นแต่ละประเภท รวมถึงโน้ตเพลงให้ได้ฝึกปฏิบัติ ซึ่งได้คัดสรรมาอย่างดีแล้วว่า ...

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง